You are on page 1of 16

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เรียนรู้สุภาษิต เรื่อง การ


ตีความยาก
วิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๓
เวลา ๑ ชั่วโมง
ผู้สอน นางสาวจิราภรณ์ ทลิกรรณ์

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อ
นำไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการ
ดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชีว
้ ัด
ท ๑.๑ ม.๑/๕ ตีความคำยากในเอกสารวิชาการโดยพิจารณาจาก
บริบท

2. สาระสำคัญ(ความคิดรวบยอด)
การอ่านจะมีประสิทธิภาพได้นน
ั ้ ผู้อ่านจะต้องมีการแปลความ
ตีความ และขยายความจากเรื่องที่อ่านได้อย่างถูกต้อง จะทำให้เข้าใจ
เรื่องที่อ่านได้ดียิ่งขึน
้ และสามารถช่วยให้อ่านสารต่างๆ ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

3. สาระการเรียนรู้
๓.๑ สาระการเรียนรู้
- จำแนกความหมายของคำยาก
- หาความหมายคำยากจากพจนานุกรมได้
- ตีความคำยากจากบริบทได้
๓.๒ คุณลักษณะอังพึงประสงค์
- ซื่อสัตย์สุจริต
- มีวินัย
- ใฝ่ เรียนรู้
- มุ่งมั่นในการทำงาน
๓.๓ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
๔. ภาระงาน(สะท้อนการจัดกิจกรรม)
- นักเรียนค้นคว้าคำยากจากบทความทางวิชาการ

๕. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ขัน
้ นำ
๑. ครูสนทนากับนักเรียนเรื่องการอ่าน ในสถานการณ์ ที่นักเรียน
อ่านคำที่นักเรียนไม่ทราบความหมาย นักเรียนทำอย่างไรจึงทราบความ
หมายของคำนัน

ขัน
้ สอน
๑. ครูยกตัวอย่างข้อความ
“สตางค์หนูก็มีคะ
่ ” เด็กหญิงตบกระเป๋า
กระโปรงให้ดูประกอบ “แต่ว่าหนูคอยให้น้ำลายไหล
เสียก่อนถึงจะซื้อ”
(รอให้น้ำลายไหลเสียก่อน : ศุทธินี)
“นิทานเรื่องสังข์ทองมีความเก่าแก่ และ แพร่หลายมานานแล้ว ทัง้
ในรูปนิทานมุขปาฐะ ที่ถ่ายทอดกันปากต่อปาก และที่เป็ นลายลักษณ์
อักษร” ให้นักเรียนอธิบายความหมายคำที่ขีดเส้นใต้ตามที่ นักเรียนเข้าใจ
๒. นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาใบความรู้เรื่องการอ่าน ตีความ ทำความ
เข้าใจและส่งตัวแทนนำเสนอหน้าชัน
้ เรียน
๓. ครูแจกใบงานเรื่อง การตีความคำยากและให้ นักเรียนตีความ
หมายคำยาก พร้องส่งตัวแทนนำเสนอผลงานหน้าชัน
้ เรียน
๔. ครูมอบหมายนักเรียนค้นคว้าคำศัพท์ยาก บทความทางวิชาการ
จากสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ
ขัน
้ สรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปคำยากที่ปรากฏในข้อความต่าง ๆ ซึ่ง
บางคำต้องใช้พจนานุกรมในการ บอกความหมายบางคำบางคำต้องอาศัย
การอ่านทำความเข้าใจตามบริบท หรือข้อความแวดล้อม รวมทัง้ แง่คิดใน
การนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

๖.การวัดและประเมินผล
สิ่งที่ต้องกรวัด/ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์
ประเมิน
ด้านความรู้ นำเสนอผลงาน แบบนำเสนอ ผ่านเกณฑ์การ
-อธิบายความหมาย ผลงาน ประเมินร้อยละ
การตีความ ๘๐ ขึน
้ ไป
-อธิบายหลักเกณฑ์
การอ่านตีความ
ด้านทักษะ/ ๑. ตรวจใบงาน ๑.ใบงานเรื่อง ผ่านเกณฑ์การ
กระบวนการ เรื่องการ การตีความคำ ประเมินร้อยละ
๑. จำแนกความ ตีความคำยาก ยาก ๘๐ ขึน
้ ไป
หมายของคำยาก ๒.สังเกต ๒. แบบ
๒. หาความหมาย พฤติกรรมการ สังเกต
คำยากจาก ทำงานกลุ่ม พฤติกรรม
พจนานุกรม ของนักเรียน การทำงาน
๓. ตีความคำยาก กลุ่มของ
จากบริบท นักเรียน
ด้านคุณลักษณะ ประเมิน แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
๑.ซื่อสัตย์สุจริต คุณลักษณะ คุณลักษณะ คุณภาพระดับ๒
๑.มีวินัย
๒.ใฝ่ เรียนรู้
๓.มุ่งมั่นในการ
ทำงาน

๗.สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
๗.๑ ใบความรู้เรื่อง การอ่านตีความ
๗.๒ ใบงานเรื่อง การตีความคำยาก
๗.๓ บทความทางวิชาการ
บันทึกหลังการสอน
1. ผลการสอน
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
........................................................
2. ปั ญหาและอุปสรรค
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
........................................................๓. ข้อเสนอแนะ
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
........................................................
ลงชื่อ............................................................
.ผู้สอน
(นางสาวจิราภรณ์ ทลิกรรณ์)
ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...

ลงชื่อ.............................................................ผู้สอน
(นางสาวอัญชรีย์ มีแสง)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ความคิดเห็นหัวหน้าฝ่ ายบริหารงานวิชาการ
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...
ลงชื่อ............................................................
.ผู้สอน
(นายจงรักษ์ บำรุงวงศ์)

หัวหน้าฝ่ ายบริหารงานวิชาการ
ใบความรู้ เรื่อง การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
หน่วยที่ ๑ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่

การอ่านออกเสียง
๑. ความหมายของการอ่านออกเสียง
การอ่านออกเสียง คือ การเปล่งเสียงตามตัวอักษร ถ้อยคํา และ
เครื่องหมายต่าง ๆ ที่กําหนดไว้ให้ ถูกต้อง ชัดเจน แก่ผู้ฟัง การอ่านออก
เสียงถือเป็ นการสื่อความหมายที่ก่อให้เกิด “ทักษะ” (วาสนา บุญสม,
๒๕๔๑ : ๒๒) ดังต่อไปนี ้
๑.๑ เกิดทักษะการเปล่งเสียงให้ชัดเจน
๑.๒ เกิดทักษะการใช้อวัยวะที่ออกเสียงได้ถูกต้อง
๑.๓ เกิดทักษะการออกเสียงควบกล้ํ าได้ถูกต้อง ชัดเจนยิ่งขึน

๑.๔ เกิดทักษะการวิเคราะห์คําที่อ่านมากขึน

๑.๕ เกิดทักษะการเปล่งเสียงตามรูปตัวอักษรควบกล้ํ าได้
คล่องแคล่ว
๒. หลักเกณฑ์ในการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
หลักเกณฑ์ทั่วไปในการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว (ฟองจันทร์ สุขยิ่ง
และคณะ, ๒๕๕๔ : ๓ – ๔) มีดังนี ้
๒.๑ ก่อนอ่านควรศึกษาเรื่องที่อ่านให้เข้าใจโดยศึกษาสา
ระสําคัญของเรื่องและข้อความ
ทุกข้อความเพื่อจะแบ่งวรรคตอนในการอ่านได้อย่างเหมาะสม
๒.๒ อ่านออกเสียงดังพอเหมาะกับสถานที่และจํานวนผู้ฟัง ให้
ผูฟ
้ ั งได้ยินทั่วถึงกัน ไม่ดังหรือ
ค่อยจนเกินไป
๒.๓ อ่านให้คล่อง ฟั งรื่นหูและออกเสียงให้ถูกต้องตาม
อักขรวิธี ชัดถ้อยชัดคํา โดยเฉพาะตัว ร
ล หรือคําควบกล้ํา ต้องออกเสียงให้ชัดเจน
๒.๔ อ่านออกเสียงให้เป็ นเสียงพูดอย่างธรรมชาติที่สุด
การเตรียมตัวก่อนการอ่านออกเสียง
การเตรียมตัวก่อนการอ่านออกเสียง (จุไรรัตน์ ลักษณะศิริและบา
หยัน อิ่มสําราญ, ๒๕๔๗ : ๒๖)
มีดังนี ้
๑. อ่านบทให้เข้าใจ การอ่านให้ผู้อ่ น
ื ฟั ง มีวัตถุประสงค์สําคัญเพื่อให้
ผูฟ
้ ั งรับรู้และเข้าใจตรงตาม เนื้อหาสาระที่อ่าน ฉะนัน
้ ผู้อ่านจึงต้องเข้าใจ
ข้อความนัน
้ เสียก่อนเพื่อความมั่นใจ และเพื่อความเข้าใจที่ตรงกัน
ระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร ข้อความใดที่อ่านไม่เข้าใจหรือสงสัยว่าจะ
ผิดพลาด ต้องตรวจสอบเสียก่อน
๒. ทําเครื่องหมายแสดงจังหวะการอ่าน ในการอ่านเราควรทํา
เครื่องหมายลงในบทว่าตอนใด ควรหยุด คําใดควรเน้น และคําใดควร
ทอดจังหวะ การทําเครื่องหมายในบทมีกฏเกณฑ์ตายตัว แต่โดยทางที่
นิยมปฏิบัติกัน มักทําเครื่องหมายง่าย ๆ ดังนี ้
ก. เครื่องหมายขีดเฉียงขีดเดียว (/) ขีดระหว่างคํา แสดงการ
หยุดเว้นนิดหนึ่งเพราะมีคําหรือ
ข้อความอื่นต่อไปอีก การอ่านตรงคําที่มีเครื่องหมายนีจ
้ ึงไม่ควรลงเสียง
หนักเพราะยังไม่จบประโยค
ข. เครื่องหมายขีดเฉียงสองขีด (VI) ขีดหลังประโยคหรือระ
หว่างคําเพื่อแสดงให้ร้ว
ู ่าให้หยุด
เว้นนานหน่อย
ค. เครื่องหมายวงกลมล้อมคํา เพื่อบอกว่าเป็ นคําที่สงสัยหรือ
ไม่แน่ใจว่าอ่านอย่างไร
ง. คําที่ต้องการเน้นให้ขีดเส้นใต้ที่คํานัน

จ. คําใดที่ทอดจังหวะ ให้ทําเส้นโค้งที่ส่วนบนของคํานัน
้ (0)
ฉ. เครื่องหมายมุมคว่ำหรือหมวกเจ๊กคว่ำ ( * ) แสดงว่า
ข้อความนัน
้ จะเน้นเสียงขึน
้ สูง และ
มุมหงายหรือหมวกเจ๊กหงาย (V) แสดงการเน้นเสียงลงต่ำ
๓. ซ้อมอ่านให้คล่อง หลังอ่านบทจนเข้าใจและทําเครื่องหมายแสดง
จังหวะการอ่านแล้ว ควรซ้อม อ่านให้คล่องโดยใช้ไมโครโฟนเพื่อให้ผู้อ่ น

ช่วยสังเกต หรือบันทึกเสียงไว้เพื่อฟั งและแก้ไขข้อบกพร่องของตัวเอง
อาจต้องซ้อมหลายครัง้ จนกว่าจะแก้ไขได้เป็ นที่น่าพอใจ
การปรับปรุงตนเองเกี่ยวกับการอ่าน
๑. อ่านหนังสือทุกวัน
๒. การอ่านเป็ นสิ่งจําเป็ น แม้จะมีกิจกรรมยุ่งยากเพียงใด ต้องหา
เวลาอ่านหนังสือให้ได้
๓. จดบันทึกว่าก่อนจะปฏิบัติ การอ่านเป็ นอย่างไรเมื่อดําเนินการ
ไปแล้วมีอะไรเปลี่ยนแปลงอย่างไร ๔. ต้องหาทางฝึ กอ่านมาก ๆ
จงจําไว้ว่ายิ่งได้ฝึกมากเท่าใดก็ส่งผลมากขึน
้ เท่านัน

๕. พยายามอ่านด้วยความตัง้ ใจและตัง้ ใจอ่านให้ดีขน
ึ ้ กว่าเดิมทุกวัน
ใบงาน เรื่อง การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง การอ่านออกเสียง
ร้อยแก้ว
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่

คําชีแ
้ จง : ให้นักเรียนตอบคําถามต่อไปนีใ้ ห้ถูกต้อง

1. ความหมายของการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว

...............................................................................................................

...............................................................................................................

...............................................................................................................

...............................................................................................................

...............................................................................................................

...............................................................................................................

...............................................................................................................

...............................................................................................................

...............................................................................................................

...............................................................................................................

...........................................................
2. หลักการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว
...............................................................................................................

...............................................................................................................

...............................................................................................................

...............................................................................................................

...............................................................................................................

...............................................................................................................

...............................................................................................................

...............................................................................................................

...............................................................................................................

...............................................................................................................

...........................................................

You might also like