You are on page 1of 6

แผนการจัดการเรียนรู้เพือ่ เสริมสร้ างคุณลักษณะอยู่อย่ างพอเพียง

กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓


หน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๕ เรื่ อง บทละครพูดเรื่ องเห็นแก่ลูก เวลา ๗ ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ ๕ เรื่ อง การใช้พจนานุกรม เวลา ๑ ชั ว่ โมง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วดั
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตดั สิ นใจ แก้ปัญหาใน
การดำเนินชีวิตและมีนิสยั รักการอ่าน
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลังของ
ภาษาภูมิปัญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ

ตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ม ๓/๕ วิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินเรื่ องที่อ่านโดยใช้กลวิธีการเปรี ยบเทียบ
เพื่อให้
ผูอ้ ่านเข้าใจได้ดีข้ ึน
ท ๔.๑ ม ๓/๕ อธิบายความหมายคำศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ

๒. จุดประสงค์ การเรียนรู้ สู่ ตัวชี้วดั


๑. บอกประโยชน์และวิธีใช้พจนานุกรมได้ถูกต้อง (K)
๒. อ่านและเขียนคำพร้อมความหมายของคำตามที่กำหนดให้ (P)
๓. สามารถใช้พจนานุกรมในการหาความหมายของคำที่กำหนดให้ได้ถูกต้องและรวดเร็ ว (A)

๓. สาระสำคั
พจนานุญกรม เป็ นหนังสื อที่ช่วยการอ่าน การเขียน และการค้นหาความหมายให้ถูกต้องและ
รวดเร็ ว พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน บอกการเขียนสะกดการันต์ เสี ยงอ่าน ความหมายของคำ
ประวัติที่มาของคำ

๔. สาระการเรียนรู้
๑. ความรู้ ( K)
หลักการวิเคราะห์คำจากพจนานุกรม
๒. ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด (P)
ทักษะการคิดวิเคราะห์ และกระบวนการกลุ่ม โดยการใช้กระบวนการ Think-pair-share

๓. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
ซื่อสัตย์สุจริ ต มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ มุ่งมัน่ ในการทำงาน มีความพอเพียง
๔. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการสื่ อสาร
ความสามารถในการคิด
๕. ความเข้ าใจที่คงทน (Enduring Understanding)
การอ่าน การเขียน สะกดคำ ได้ถูกต้องตรงตามพจนานุกรม
๖. ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่ องรอยแสดงความ
รู้ )ร่ องรอยแสดงความรู ้ ) นพฤติกรรม
ใบงาน, แบบประเมิ
๗. คำถามท้ าทาย
หนังสื อพจนานุกรมมีประโยชน์อย่างไร

๘. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำเข้ าสู่ บทเรียน (กิจกรรมจิตสมาธิ ๓ นาที)
๑. ครู สนทนาทบทวนบทเรี ยนที่ผา่ นมา จากนั้นครู นำพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ. ๒๕๔๒ กับฉบับอื่น ๆ มาให้นกั เรี ยนดูแล้วสนทนากับนักเรี ยนเรื่ องการใช้และประโยชน์ของ
พจนานุกรม (หนังสือที่ครูนำมาให้ ดูคอื หนังสือประเภทใด - หนังสือเหล่ านี้ใช้ ทำอะไรได้ บ้าง (บอกอะไรให้
กับผู้อ่าน ถ้ าใช้ พจนานุกรมไม่ เป็ นจะเกิดปัญหาอะไรกับนักเรี ยน , และถ้ าเรี ยนรู้การใช้ พจนานุกรมให้ เก่ง
นักเรี ยนจะได้ ประโยชน์ อะไรบ้ างและสำคัญหรื อไม่ อย่ างไร ) (ฝึ กผู้เรี ยนให้ พฒั นาทักษะกระบวนการคิด
อย่ างมีเหตุผล) (๑๐ นาที)
ขั้นสอน
๒. ครู แบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน (หรื อตามความเหมาะสม) แล้วแจกใบ
ความรู ้ เรื่ อง “ การใช้พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ” พร้อมพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ. ๒๕๔๒ หรื อฉบับอื่น ๆ ที่สามารถค้นคว้าความรู ้ได้ตามความสนใจ (ครู เตรี ยมอุปกรณ์ คือ ใบความรู ้
และหนังสื อพจนานุกรมหลาย ๆ เล่ม (ครูมีภูมคิ ้ มุ กันที่ด)ี ให้แต่ละกลุ่มศึกษาถึงเรื่ องการใช้ให้เข้าใจ โดย
กำหนดเวลาในการอ่าน ๑๐ นาที (ผู้เรียนฝึ กกระบวนการกลุ่ม การช่ วยเหลือซึ่งกันและกัน, ผู้เรี ยนฝึ กความ
ตรงต่ อเวลา) “คุณธรรมการอยู่ร่วมกัน” (ครู สงั เกตพฤติกรรมในการอยูร่ ่ วมกัน)
๓. ทุกกลุ่มเข้าใจถึงการใช้พจนานุกรมดีแล้ว (มีความรู้) ให้นกั เรี ยนทดลองเปิ ดดูความหมายของ
ชื่อหรื อนามสกุลของตนเองและเพื่อนในกลุ่มเพื่อเป็ นการทดสอบความเข้าใจ ในการหาความหมายของคำ
ครู อาจตรวจสอบดู ความเข้าใจของนักเรี ยนแต่ละกลุ่มได้ดว้ ยการซักถาม (การเรี ยนรู้สิ่งใกล้ ตัวของผู้เรี ยน
จะทำให้ เกิดทักษะความรู้ที่ฝังแน่ น เป็ นการสร้ างภูมิค้ มุ กันทีด่ )ี (๕นาที)
๔. ครู แจกบัตรคำให้แต่ละกลุ่ม กลุ่มละ ๘ บัตร (ตามเวลาที่เหมาะสม “ความพอประมาณ”)
แล้วให้สมาชิกในกลุ่มช่วยกันหาชนิดของคำ ความหมาย คำอ่าน และที่มา (Think) จากนั้นให้นำคำมา
เรี ยงลำดับให้ถูกต้องตามหลักการเรี ยงคำในพจนานุกรม (pair) ( ๑๐ นาที)
๕. แต่ละกลุ่มนำคำศัพท์มาเรี ยงให้เพื่อนกลุ่มอื่น ๆ ดูที่หน้าชั้น ( share) เพื่อให้เพื่อน ๆ ช่วยกัน
ตรวจสอบความถูกต้องแล้วคัดคำเหล่านั้นลงสมุดมาส่ งครู ตรวจอีกครั้งหนึ่ง (มีเหตุผล มีความรู้ และ
คุณธรรม) (๑๕ นาที)
๖. ให้นกั เรี ยนทำใบงาน (ใช้ ความรู้) (๕นาที)
ขั้นสรุ ป
๗. ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปบทเรี ยน (การมีเหตุผล บนพืน้ ฐานความรู้) (๒ นาที)
(ใช้คำถามในขั้นนำเข้าสู่ บทเรี ยน เพื่อหาคำตอบที่ถูกต้องตรงประเด็นที่สุด)

๙. สื่ อการเรียนรู้
๑.บัตรคำ จำนวน ๕๐ บัตร
๒.ใบความรู้ เรื่ อง “ การใช้พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ”
๓.ใบงาน
๔. หนังสื อพจนานุกรม จำนวน ๒๐ เล่ม
๕. แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม
๑๐. การวัดและประเมินผลการ
เรียนรู้ ๑. วิธีการวัดและประเมินผล
๑) สังเกตพฤติกรรมของนักเรี ยนในการเข้าร่ วมกิจกรรม
๒) สังเกตพฤติกรรมของนักเรี ยนในการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
๓) ตรวจผลงานของนักเรี ยน
๒. เครื่องมือ
๑) แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรม
๒) แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
๓. เกณฑ์ การประเมิน
๑) การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ ๒ รายการ ถือว่า ผ่ าน
ผ่าน ๑ รายการ ถือว่า ไม่ ผ่าน
๒) การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
คะแนน ๙-๑๐ ระดับ ดีมาก
คะแนน ๗-๘ ระดับ ดี
คะแนน ๕-๖ ระดับ พอใช้
คะแนน ๐-๔ ระดับ ควรปรับปรุ ง

๑๑. กิจกรรมเสนอแนะ
ให้นกั เรี ยนช่วยกันทำหนังสื อรวบรวมคำที่มีความหมายเหมือนกัน โดยรวบรวมให้ได้มากที่สุด
และให้นกั เรี ยนออกแบบหนังสื อได้อย่างอิสระ (ภูมคิ ุ้มกัน : การนำความรู้ ไปประยุกต์ ใช้ ให้ เกิดประโยชน์ ใน
ชีวติ ประจำวัน)

ลงชื่อ..........................................ผูบ้ นั ทึก
( )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครู ชำนาญการพิเศษ

บันทึกหลังการสอน

๑๒. บันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
๑๒.๑ ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ทีกำ
่ หนดในแผนการจัดการเรียนรู้ )
๑๒.๑.๑ จุดประสงค์การเรียนรู้
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
๑๒.๑.๒ สมรรถนะสำคัญ
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
๑๒.๑.๓ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

๑๒.๒ ปัญหา/อุปสรรค
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
๑๒.๓ แนวทางแก้ไข
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

ลงชื่อ__________________ ผูบ้ นั ทึก


(........................................)
ตำแหน่งครู วิทยฐานะครู ชำนาญการพิเศษ
๑๕. ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา

______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

ลงชื่อ__________________
(......................................................)
ผูอำ
้ นวยการโรงเรี ยน......................................................
เอกสารประกอบ
แนวทางการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการเรี ยนรู ้
1. ผูส้ อนนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการเรี ยนรู ้
ประเด็น
หลักพอเพียง
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กันในตัวที่ดี
เนื้อหา ครู จดั กิจกรรมการเรี ยนรู้การ เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้นำความรู ้ใน - ครู เตรี ยมใบความรู ้ และ
ค้นหาความหมายของคำจาก การอ่านคำ การเขียนคำ และ พจนานุกรม
พจนานุกรม หาความหมายของคำศัพท์ทาง
วิชาการ เรี ยงลำดับคำ ตาม
พจนานุกรมได้และ สามารถนำ
ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำ
วันได้
เวลา ใช้เวลา ๑ชัว่ โมงในการจัด การหาความหมายของคำ การ ครู ใช้เวลาคุม้ ค่าเหมาะสม
กิจกรรมให้บรรลุตามจุด อ่าน การเขียนคำศัพท์ทาง กับการจัดกิจกรรมตามเวลา
ประสงค์ ๓ ข้อ ในการจัด วิชาการให้ถูกต้องจำเป็ นต้องมี ไม่ส่งผลกระทบกระเทือน
กลุ่มและนำเสนอผลงาน ความรู ้พ้ืนฐานในการเปิ ด ต่อครู และผูเ้ รี ยน
พจนานุกรม
วิธีการจัด ใช้ทกั ษะกระบวนการจำแนก ผูเ้ รี ยนระดับชั้น ม.3 เป็ นวัยที่ ครู จดั กิจกรรมการเรี ยนรู ้ได้
กิจกรรม การแก้ปัญหา กระบวนการคิด ชอบอยูก่ บั เพื่อน กล้าคิด กล้า ตรงตามมาตรฐานและตัวชี้
และ Think-pair-share – พูดและทำงานกลุ่มได้ดี วัดของหลักสู ตร
และ share
แหล่งเรี ยนรู ้ - -
สื่ อ / อุปกรณ์ ครู เตรี ยมพจนานุกรมและ ครู สามารถประเมินผลตรงตาม ครู จดั การเรี ยนรู ้ได้ครบตาม
ออกแบบใบงานให้สามารถวัด หลักสู ตร หลักสู ตร
และประเมินผลตามตัวชี้วดั
ของหลักสูตร
ความรู ้ที่ครู ครู มีความรู้ แนวทางในการจัดการเรี ยนรู ้ตามหลักสู ตรแกนกลาง พ.ศ. ๒๕๕๑ สาระการเรี ยนรู ้
จำเป็ นต้องมี ภาษาไทย รู้หลักจิตวิทยา รู้เทคนิควิธีสอนที่หลากหลาย มีความรู ้เกี่ยวกับเนื้อหาที่สอน
คุณธรรมของ มีความเสี ยสละ ความขยัน
ครู ความรับผิดชอบ มีความรัก
เมตตาศิษย์
2. ผลที่เกิดกับผูเ้ รี ยนสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้
๑.๑ ผูเ้ รี ยนได้เรี ยนรู้หลักคิด และฝึ กปฏิบตั ิ ตามหลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ดังนี้

หลักพอเพียง ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กันในตัวที่ดี


(เนื้อหา -ผูเ้ รี ยนได้เรี ยนรู้วิธีการเปิ ด -ผูเ้ รี ยนได้รับความรู ้ตรงตาม - การเปิ ดพจนานุกรมและ
กิจกรรมที่ครู พจนานุกรม หลักสู ตร เรื่ องประโยชน์และ เรี ยงคำตามพจนานุกรมจะ
ออกแบบ) - ผูเ้ รี ยนได้หาความหมายของ วิธีใช้พจนานุกรมให้ถูกต้อง ทำให้ได้แนวทางในการ
คำศัพท์ที่หลากหลาย และหาความหมายของคำศัพท์ อ่านออกเขียนได้เข้าใจ
-ผูเ้ รี ยนได้เขียนคำศัพท์ทาง ทางวิชาการมากขึ้น ความหมายจะเป็ นสื่ อ
วิชาการ -การเข้าใจความหมายของคำ สำหรับการเรี ยนรู ้รายสาระ
-ผูเ้ รี ยนได้เห็นความสำคัญของ ศัพท์จะทำให้การอ่านออกเสี ยง อื่นได้ดียงิ่ ขึ้น สามารถนำ
การมีพจนานุกรม ได้ถูกต้อง ความรู ้ไปประยุกต์ใช้กบั
-ผูเ้ รี ยนฝึ กทำงานกลุ่ม -ทำให้เข้าใจเรื่ องที่อ่าน รายวิชาอื่น ๆ ได้อย่างถูก
ต้องและเหมาะสม
ความรู ้ การเขียนคำ การอ่านคำ สะกดการันต์ให้ถูกต้อง และการหาความหมายของคำตามพจนานุกรม
คุณธรรม ความซื่อสัตย์ ความมีวินยั มีมารยาทในการฟัง การพูด การตอบคำถาม มีความรับผิดชอบ
ความมุ่งมัน่ ในการทำงาน ใฝ่ รู ้ใฝ่ เรี ยน
๑.๒ ผูเ้ รี ยนได้เรี ยนรู้การใช้ชีวิตที่สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงใน 4 มิติ ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ
วัตถุ (เศรษฐกิจ) สังคม สิ่ งแวดล้อม วัฒนธรรม
ความรู ้ -คำศัพท์ สัมพันธภาพระหว่างผู ้ - -
-ความหมายของคำศัพท์ เรี ยนในกลุ่มและ
- พจนานุกรม ระหว่างผูส้ อนกับผูเ้ รี ยน
ทักษะ -การอ่านคำศัพท์ ทักษะการทำงานกลุ่ม - ยอมรับความคิด
- รู้ความหมายของคำ เห็นของผูอ้ ื่น
ศัพท์
-การเรี ยงคำตาม
พจนานุกรม
ค่านิยม -รู้ประโยชน์และคุณค่า ร่ วมชื่นชมผลงานของ - เห็นคุณค่าของ
ของการใช้พจนานุกรม ตนเองและผูอ้ ื่น วัฒนธรรมของ
ภาษาไทย

You might also like