You are on page 1of 11

แผนบริหารการสอนประจารายวิชา

รหัสวิชา 8309101
รายวิชา คณิ ตศาสตร์พ้ืนฐาน 3(3-0-6) หน่วยกิต
Fundamental Mathematics

คาอธิบายรายวิชา
ค่าสัมบู รณ์ ฟั งก์ชันพหุ นาม การแก้สมการและอสมการ ฟั งก์ชันตรรกยะ เศษส่ วนย่อย
ฟังก์ชนั อดิศยั เรขาคณิตวิเคราะห์วา่ ด้วยเส้นตรงและภาคตัดกรวย ลาดับและอนุกรม

วัตถุประสงค์ทั่วไป
1. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ความเข้าใจในความหมายและหลักการของจานวนจริ ง
2. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ความเข้าใจในการแก้สมการและอสมการ
3. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ความเข้าใจฟังก์ชนั และความสัมพันธ์
4. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ความเข้าใจกับฟังก์ชนั ชนิดต่าง ๆ
5. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ความเข้าใจในเรื่ องเศษส่วนย่อย
5. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ความเข้าใจในเรื่ องเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
6. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ความเข้าใจในเรื่ องลาดับและอนุกรม

เนื้อหาวิชา
สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด เวลา กิจกรรมการเรี ยนการสอน /สื่ อ/ชุดการสื่ อสาร ผูส้ อน
ที่
1-2 จ านวนจริ งเบื้ อ งต้ น สมบั ติ 3 1. ชี้แจงข้อตกลงเบื้องต้นเกี่ยวกับการเรี ยนการ อ.อนุวตั ร
พื้นฐานของระบบจานวนจริ ง คาบ สอน การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ การทากิจกรรม จิรวัฒนพาณิช
เส้นจานวน การวัดผลประเมินผล
ตลอดทั้งภาคเรี ยน
2. ผูส้ อนบรรยาย อภิปราย ถาม-ตอบ ความคิด
รวบยอดและสาระตามจุดประสงค์
2

สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด เวลา กิจกรรมการเรี ยนการสอน /สื่ อ/ชุดการสื่ อสาร ผูส้ อน


ที่
3. มอบหมายกลุ่มย่อยให้ทากิจกรรมนอกชั้น
เรี ยน ประชุมแลกเปลี่ยนความรู ้ซ่ ึงกันและกัน
แบบเพื่อนช่วยเพื่อน ฝึ กทักษะร่ วมกัน
เสนอแนะ แก้ไขข้อบกพร่ อง ร่ วมกันเขียน
ปรับปรุ งการใช้ภาษา กรณีการเขียนรายงาน
เตรี ยมการสอบย่อยตามจุดประสงค์ให้ทุกคนมี
ความรู ้เท่าเทียมกัน สมาชิกในกลุ่มจะได้รับการ
สุ่มเพื่อเป็ นตัวแทนสอบย่อย
4. ถาม – ตอบ เพื่อตรวจสอบว่านักศึกษาเข้าใจ
แนวคิดของแต่ละหัวข้อ
5. กาหนดโจทย์ให้นกั ศึกษาทาเป็ นกลุ่มย่อย
แล้วมาช่วยกันเฉลยหน้าชั้นเรี ยน
6. ให้นกั ศึกษาทาแบบฝึ กหัดท้ายบท
3 – 4 สมบัติอนั ดับของจานวนจริ ง 6 เหมือนกับกิจกรรมการเรี ยนการสอน /สื่ อ/ชุด อ.อนุวตั ร
ช่วงและอสมการ การ คาบ การสื่ อสารในสัปดาห์ที่ 1-2 จิรวัฒนพาณิ ช
ดาเนินการบนช่วง ค่า
สัมบูรณ์ สมบัติค่าสัมบูรณ์
5 – 7 คู่อนั ดับ ผลคูณคาร์ทีเซียน 9 1. บรรยายโดยอาจารย์ผสู ้ อน อ.อนุวตั ร
เซตที่มีสมบัติเป็ น คาบ 2. ถาม – ตอบ เพื่อตรวจสอบว่านักศึกษาเข้าใจ จิรวัฒนพาณิช
ความสัมพันธ์ โดยเมน แนวคิดของแต่ละหัวข้อ
และเรจน์ของความสัมพันธ์ 3. กาหนดโจทย์ให้นกั ศึกษาทาเป็ นกลุ่มย่อย
ความสัมพันธ์สมมูล แล้วมาช่วยกันเฉลยหน้าชั้นเรี ยน
ความสัมพันธ์เอกลักษณ์ 4. ให้นกั ศึกษาเขียนโจทย์ตามเงื่อนไงที่
ผกผันของความสัมพันธ์ กาหนดให้แล้วเฉลย
กราฟของความสัมพันธ์ 5. ให้นกั ศึกษาช่วยกันพิสูจน์บางทฤษฎีบท
6. ให้นกั ศึกษาทาแบบฝึ กหัดท้ายบท
3

สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด เวลา กิจกรรมการเรี ยนการสอน /สื่ อ/ชุดการสื่ อสาร ผูส้ อน


ที่
8 – 10 ความสัมพันธ์ที่มีสมบัติเป็ น 9 1. บรรยายโดยอาจารย์ผสู ้ อน อ.อนุวตั ร
ฟังก์ชนั ฟังก์ชนั จาก A ไป คาบ 2. ถาม – ตอบ เพื่อตรวจสอบว่านักศึกษาเข้าใจ จิรวัฒนพาณิช
B ค่าของฟังก์ชนั แบบของ แนวคิดของแต่ละหัวข้อ
ฟังก์ชนั การเขียนแผนภาพ 3. กาหนดโจทย์ให้นกั ศึกษาทาเป็ นกลุ่มย่อย
แทนความสัมพันธ์หรื อ แล้วมาช่วยกันเฉลยหน้าชั้นเรี ยน
ฟังก์ชนั ชนิดและกราฟของ 4. ให้นกั ศึกษาทาแบบฝึ กหัดท้ายบท
ฟังก์ชนั การเท่ากันของ
ฟังก์ชนั ฟังก์ชนั ผกผัน
ฟังก์ชนั ประกอบ
11 เศษส่วนย่อย 3 1. บรรยายโดยอาจารย์ผสู ้ อน อ.อนุวตั ร
คาบ 2. ถาม – ตอบ เพื่อตรวจสอบว่านักศึกษาเข้าใจ จิรวัฒนพาณิ ช
แนวคิดของแต่ละหัวข้อ
3. กาหนดโจทย์ให้นกั ศึกษาทาเป็ นกลุ่มย่อย
แล้วมาช่วยกันเฉลยหน้าชั้นเรี ยน
4. ให้นกั ศึกษาทาแบบฝึ กหัดท้ายบท
12 โปรเจกชันระบบแกนพิกดั 3 1. บรรยายโดยอาจารย์ผสู ้ อน อ.อนุวตั ร
ฉากระยะห่างระหว่างจุดสอง คาบ 2. ถาม – ตอบ เพื่อตรวจสอบว่านักศึกษาเข้าใจ จิรวัฒนพาณิ ช
จุดการหาจุดแบ่งของส่วน แนวคิดของแต่ละหัวข้อ
ของเส้นตรงการหาจุด 3. กาหนดโจทย์ให้นกั ศึกษาทาเป็ นกลุ่มย่อย
กึ่งกลางของส่วนของเส้นตรง แล้วมาช่วยกันเฉลยหน้าชั้นเรี ยน
ความเอียงของเส้นตรง 4. ให้นกั ศึกษาทาแบบฝึ กหัดท้ายบท
13 สมการของเส้นตรง ลักษณะ 3 1. บรรยายโดยอาจารย์ผสู ้ อน อ.อนุวตั ร
พิเศษสมการของเส้นตรงสอง คาบ 2. ถาม – ตอบ เพื่อตรวจสอบว่านักศึกษาเข้าใจ จิรวัฒนพาณิ ช
เส้นมุมที่เส้นตรงตัดกัน แนวคิดของปริ ภูมิชนิดต่าง ๆ
ระยะทางระหว่างจุดกับ 3. ยกตัวอย่างโจทย์ให้นกั ศึกษาช่วยกันพิจารณา
เส้นตรงและระยะทาง ว่าเป็ นปริ ภูมิกระชับหรื อไม่
ระหว่างเส้นตรงคู่ขนาน 4. ให้นกั ศึกษาช่วยกันพิสูจน์บางทฤษฎีบท
4

สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด เวลา กิจกรรมการเรี ยนการสอน /สื่ อ/ชุดการสื่ อสาร ผูส้ อน


ที่
5. ให้นกั ศึกษาทาแบบฝึ กหัดท้ายบท
14 วงกลม พาราโบลา วงรี 3 1. บรรยายโดยอาจารย์ผสู ้ อน อ.อนุวตั ร
และไฮเพอร์โบลา คาบ 2. ถาม – ตอบ เพื่อตรวจสอบว่านักศึกษาเข้าใจ จิรวัฒนพาณิ ช
แนวคิดและสมบัติของความเชื่อมโยง
3. ให้นกั ศึกษาทาเป็ นกลุ่มย่อยแล้วมาช่วยกัน
พิสูจน์บางทฤษฎีบท
4. ให้นกั ศึกษาทาแบบฝึ กหัดท้ายบท
15-16 ลาดับและอนุกรม 6 1. บรรยายโดยอาจารย์ผสู ้ อน อ.อนุวตั ร
คาบ 2. ถาม – ตอบ เพื่อตรวจสอบว่านักศึกษาเข้าใจ จิรวัฒนพาณิ ช
แนวคิดและสมบัติของความเชื่อมโยง
3. ให้นกั ศึกษาทาเป็ นกลุ่มย่อยแล้วมาช่วยกัน
ประมวลความรู ้
4. ให้นกั ศึกษาทาแบบฝึ กหัดท้ายบท

วิธีสอนและกิจกรรม
1. ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
1.1 ด้ านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1. มีความรู ้ความเข้าใจในมโนทัศน์เกี่ยวกับคุณธรรม จริ ยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
ครู สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมิน และจัดการปัญหาคุณธรรม จริ ยธรรมและจรรยาบรรณ
วิชาชีพครู โดยใช้ดุลยพินิจที่เหมาะสม และมีพฤติกรรมทางด้านคุณธรรม จริ ยธรรมที่เป็ นแบบอย่าง
ที่ดี
2. มีคุณธรรม จริ ยธรรม สาหรับการดารงชีวิตและการประกอบวิชาชีพครู เช่น
กัลยาณมิตรธรรม 7 ฯลฯ มีความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และมีจิตอาสา
3. มีจิตสานึกและตระหนักในการปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
4. เคารพสิ ทธิและความคิดเห็นของผูอ้ ื่น
1.2 วิธีสอน
1. ผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลางและศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
5

2. กาหนดให้นกั ศึกษาทางานเป็ นรายกลุ่มหรื อรายบุคคล


3. มีการให้ความรู ้โดยอาจารย์ผสู ้ อนและเรี ยนทฤษฎีในชั้นเรี ยน
1.3 วิธีการประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมการแสดงออกในชั้นเรี ยน
2. สังเกตพฤติกรรมการเข้าเรี ยน
3. ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4. ประเมินส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา

2. ด้ านความรู้
2.1 ความรู้ ที่ได้ รับ
1. มีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการศึกษา ปรัชญาการศึกษา วิชาชีพครู ความเป็ น
ครู จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิท ยาการศึกษา การออกแบบและพัฒนาหลักสู ตร การออกแบบและ
จัดการเรี ยนรู ้ การจัดการชั้นเรี ยนและสิ่ งแวดล้อมเพื่อการเรี ยนรู ้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่ อสารสาหรับครู การสร้างนวัตกรรมทางการศึกษา การวัดและประเมินผลการศึกษา การศึกษา
พิเศษ การวิจยั ทางการศึกษา และการบริ หารการศึกษาและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
2. สามารถบูรณาการความรู ้เกี่ยวกับจิตวิทยาครู การพัฒนาหลักสู ตรวิชาเฉพาะ การ
จัดการเรี ยนรู ้วิชาเฉพาะ การจัดการชั้นเรี ยน นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารทาง
การศึกษา และการวัดและประเมินผลการศึกษาวิชาเฉพาะ สาหรับการจัดการเรี ยนรู ้แต่ละระดับ
การศึกษาและวิชาเอก
3. มี ความรู ้ในทฤษฎี เนื้ อหา และมโนทัศน์ ทางคณิ ตศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับแคลคูลสั
จานวนและการดาเนินการ การวัด เรขาคณิต พีชคณิต และสถิติและความน่าจะเป็ น
4. มีความสัมพันธ์และสามารถเชื่ อมโยงเนื้ อหาคณิ ตศาสตร์ ในรู ปแบบต่างๆ เช่นการ
จัด
ค่ายคณิตศาสตร์ การประกวดนวัตกรรม และโครงงานทางคณิตศาสตร์
5. มีการเชื่อมโยงเนื้ อหาคณิ ตศาสตร์กบั คอมพิวเตอร์
2.2 วิธีสอน
บรรยายอภิปรายกาหนดให้นกั ศึกษาทางานรายบุคคลโดยฝึ กการค้นคว้า การแก้ปัญหา
โจทย์ของแคลคูลสั วิเคราะห์ปัญหา การศึกษาโดยใช้ปัญหา และเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง
6

2.3 วิธีการประเมินผล
1. ทดสอบย่อยสอบกลางภาค สอบปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและ
ทฤษฎี
2. สังเกตความเข้าใจจากการตอบคาถามที่สัมพันธ์กบั เนื้อหาของรายวิชา
3. ตรวจผลงาน
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ได้รับ
1. สามารถคิ ดค้น หาข้อเท็จจริ ง ท าความเข้าใจและประเมิ นข้อมูล สารสนเทศ และ
แนวคิดจากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลายเพื่อนามาใช้ในการปฏิ บตั ิ งานสอนและงานครู รวมทั้งการ
วินิจฉัยผูเ้ รี ยน และการวิจยั เพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยน
2. สามารถคิดแก้ปัญหาในการจัดการเรี ยนรู ้ที่มีความสลับซับซ้อน เสนอทางออก และ
นาไปสู่การแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
3. มีความเป็ นผูน้ าทางปัญญาในการคิดพัฒนาการจัดการเรี ยนรู ้อย่างสร้างสรรค์และมี
วิสัยทัศน์
4. สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็ นระบบ มีเหตุมีผลตามหลักการและวิธีการทาง
คณิตศาสตร์
5. มีความมัน่ ใจ กล้าแสดงออกและมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
6. มี ค วามใฝ่ รู ้ สามารถวิ เคราะห์ แ ละสั ง เคราะห์ ค วามรู ้ จ ากแหล่ ง ข้อ มู ล ต่ า งๆที่
หลากหลายได้อย่างถูกต้องและเพื่อนาไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม

3.2 วิธีสอน
1. มอบหมายให้ นั ก ศึ ก ษาท าค้น คว้าหาความรู ้ เกี่ ย วกับ ปั ญ หาโจทย์แ คลคู ล ัส 1ที่
สามารถนามาไปประยุกต์ใช้ในวิชาอื่นๆหรื อชีวิตประจาวัน
2. มอบหมายงานให้ศึกษาด้วยตนเองจากหนังสื อ เว็บไซต์และสื่ อการสอน E-learning

3.3 วิธีการประเมินผล
1. สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้น ข้อ สอบที่ มี ก ารวิ เคราะห์ แ นวคิ ด ในการ
ประยุกต์ใช้ความรู ้ความสามารถทางด้านแคลคูลสั 1
7

2. วัดจากการประเมินงานที่นาส่งรายกลุ่มหรื อรายบุคคล
3. สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4. ด้ านทักษะความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ด้ านทักษะความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรับผิดชอบ
1. มีความไวในการรับความรู ้สึกของผูเ้ รี ยนด้วยความเข้าใจ และความรู ้สึกเชิงบวก มี
วุฒิภาวะทางอารมณ์และสังคม
2. มีความเอาใจใส่ มีส่วนช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ปัญหาความสัมพันธ์ในกลุ่มและ
ระหว่างกลุ่มผูเ้ รี ยนอย่างสร้างสรรค์
3. มีความสัมพันธ์ที่ดีกบั ผูเ้ รี ยน เป็ นผูน้ าและผูต้ ามที่มี่ความรับผิดชอบต่อส่ วนรวมทั้ง
ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่ งแวดล้อม

4.2 วิธีสอน
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2. มอบหมายงานทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม

4.3 วิธีการประเมินผล
1. ประเมินตนเองและเพื่อน ด้วยประเด็นกาหนด
2. นาเสนอผลการทางานกรณีศึกษาและตอบข้อซักถามของอาจารย์
3. ตรวจผลงาน รายงานการศึกษาค้นคว้า

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่ อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ


5.1 ด้านทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่ อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
1. มีความไวในการวิเคราะห์และเข้าใจข้อมูลสารสนเทศที่ได้รับจากผูเ้ รี ยนอย่าง
รวดเร็ว ทั้งที่เป็ นตัวเลขเชิงสถิติหรื อคณิ ตศาสตร์ ภาษาพูดหรื อภาษาเขียน
2. มีความสามารถในการใช้ดุลยพินิจที่ดีในการประมวลผล แปลความหมายและ
เลือกใช้ขอ้ มูลสารสนเทศเกี่ยวกับวิชาที่สอนและงานครู ที่รับผิดชอบโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ได้ดี
3. มีความสามารถในการสื่ อสารกับผูเ้ รี ยนอย่างมีประสิ ทธิภาพ ทั้งการพูด การเขียน
และการนาเสนอด้วยรู ปแบบที่เหมาะสมกับกลุ่มผูเ้ รี ยน
8

5.2 วิธีสอน
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากแหล่งความรู ้ต่างๆ เช่น หนังสื อ
เว็บไซต์ และสื่ อการสอน e – Learning
2. นาเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม

5.3 วิธีการประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมในการสื่ อสาร
2. ตรวจสอบความเหมาะสมในการเลือกใช้สื่อเทคโนโลยี
3. ตรวจผลงาน

6. ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้
6.1 ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้
1. มีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรี ยนรู ้ที่มีรูปแบบหลากหลาย ทั้งรู ปแบบที่เป็ น
ทางการ (Formal) รู ปแบบกึ่งทางการ (Non-formal) และรู ปแบบไม่เป็ นทางการ (Informal) อย่าง
สร้างสรรค์
2. มีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรี ยนรู ้สาหรับผูเ้ รี ยนที่หลากหลาย ทั้งผูเ้ รี ยนที่มี
ความสามารถพิเศษ ผูเ้ รี ยนที่มีความสามารถปานกลาง และผูเ้ รี ยนที่มีความต้องการพิเศษอย่างมี
นวัตกรรม
3. มีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรี ยนรู ้ในวิชาเอกที่จะสอนอย่างบูรณาการ

6.2 วิธีสอน
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2. มอบหมายงานทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม

6.3 วิธีการประเมินผล
1. ประเมินตนเองและเพื่อน ด้วยประเด็นกาหนด
2. นาเสนอผลการทางานกรณีศึกษาและตอบข้อซักถามของอาจารย์
3. ตรวจผลงาน รายงานการศึกษาค้นคว้า
9

สื่ อการเรียนการสอน
1. ตาราและเอกสารหลัก
อนุวตั ร จิรวัฒนพาณิช. (2558). คณิตศาสตร์ พื้นฐาน. ภูเก็ต: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.

2. เอกสารและข้ อมูลแนะนา
จักริ นทร์ วรรณโพธิ์กลาง. (2548). คู่มือเตรียมสอบ A-NET กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ .
กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา.
พัศนีย ์ นันตาและคณะ. (2546). คณิตศาสตร์ ประยุกต์ 1 . กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์เอมพันธ์.
สมัย เหล่าวานิชย์. (มมป). คณิตศาสตร์ 6 พื้นฐานและเพิ่มเติม . กรุ งเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง.
กรรณิการ กวักเพฑูรย์. (2541). หลักคณิตศาสตร์ . กรุ งเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ประสาท สอ้านวงค์. (2515). คณิตศาสตร์ 1. กรุ งเทพมหานคร : กระทรวงศึกษาธิการ.
วัลลภ เฉลิมสุวิวฒั นาการ. (2544). ทฤษฎีและตัวอย่ างโจทย์ แคลคูลสั . กรุ งเทพมหานคร :
แมคกรอ–ฮิล.
สุเทพ จันทร์สมศักดิ์ , สุวรกาญจนมยูร และ สังวาลย์ สุนทรสัจ. (2520). แบบเรียนคณิตศาสตร์
ค411 คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. กรุ งเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.
Haeussler, Ernetst F. (1998). Introductory Mathematical Analysis 9ths. United States of
America: Prentice-Hall.
Carroll, J.D., P.E. Green, and A. Chaturvedi. (1997). Mathematical Tools for Applied

Multivariate Analysis. Academic Press, Boston.

Christensen, R. (1996). Plane Answers to Complex Questions : The Theory of Linear

Models. Second Edition. Springer-Verlag Inc., New York.

Raymond, H.M. and J.S. Milton. (1991). A First Course in the Theory of Linear Statistical

Models. PWS-KENT Publishing Company, Boston.


10

3. แหล่ งเรียนรู้
1. E-learning ของสถาบันการศึกษาต่างๆ
2. Website ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาแคลคูลสั

การวัดผลและการประเมินผล
1. กลยุทธ์ การประเมินประสิ ทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมิ นประสิ ท ธิ ผ ลรายวิ ชานี้ ที่ จดั ท าโดยนักศึ ก ษา จากการจัดกิ จกรรมในการน า
แนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดงั นี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผูส้ อนและผูเ้ รี ยน
1.2 ตอบแบบสอบถามเพื่อประเมินผูส้ อน และประเมินรายวิชา
1.3 ให้ขอ้ เสนอแนะผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ ตามที่ผสู ้ อนทาเป็ นช่องทางสื่ อสารกับนักศึกษา

2. กลยุทธ์ การประเมินการสอน
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดงั นี้
2.1 การแลกเปลี่ยนสังเกตการณ์สอนของอาจารย์ประจาวิชานี้
2.2 ระดับผลการเรี ยนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรี ยนรู ้

3. การปรับปรุงการสอน
เมื่อได้ผลประเมินการสอน นาข้อมูลมาวิเคราะห์หาแนวทางพัฒนาปรับปรุ งการเรี ยนการ
สอนให้ดีข้ นึ โดยการสัมมนาการจัดการเรี ยนการสอน การวิจยั ชั้นเรี ยน

4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
4.1 ในระหว่างกระบวนการเรี ยนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในผลการเรี ยนรู ้ที่วดั
และประเมินผลผ่านแล้ว
4.2 ในการสอบปลายภาคให้มีการวัดและประเมินผลผลการเรี ยนรู ้ที่สาคัญๆ อีกครั้ง
4.3 การสอบสัมภาษณ์เพื่อประมวลผลการเรี ยนรู ้ในรายวิชา
4.4 การตรวจผลงานให้มีการสุ่มสัมภาษณ์เพื่อประเมินผลงาน
11

5. การดาเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิ ทธิผลของรายวิชา
จากการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิ ทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนปรับปรุ ง
การสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
5.1 ปรับปรุ งรายวิชาอย่างน้อยทุก 1 ปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์
5.2 เปลี่ยนหรื อจัดการเรี ยนการสอนเป็ นทีมหรื อแบ่งหัวข้อ/ผลการเรี ยนรู ้ในการสอนของ
อาจารย์ประจาวิชานี้

6. การวัดผล
1.1 คะแนนระหว่างภาค 40 คะแนน ร้อยละ 40
1.1.1 คะแนนจิตพิสัย 20 คะแนน ร้อยละ 20
1.1.2 คะแนนสอบครั้งที่ 1 10 คะแนน ร้อยละ 10
1.1.3 คะแนนสอบครั้งที่ 2 10 คะแนน ร้อยละ 10
1.2 คะแนนสอบกลางภาคภาค 30 คะแนน ร้อยละ 30
1.3 คะแนนสอบปลายภาค 30 คะแนน ร้อยละ 30

7. การประเมินผล
แบบอิงเกณฑ์
ระดับคะแนน ค่าร้ อยละ ค่าระดับคะแนน
A 80-100 4.00
B+ 75-79 3.50
B 70-74 3.00
C+ 65-69 2.50
C 60-64 2.00
D+ 55-59 1.50
D 50-54 1.00
E 0-49 0.00
*******************************

You might also like