You are on page 1of 21

้ ี่ 2

แผนการจัดการเรียนรูท

การพิจารณาเนื อหาและค าศ ัพท ์
เวลา 1-2 ชั่วโมง
1. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
ไตรภู มิ พ ระร่ว ง เป็ นวรรณคดี ที่มี คุ ณ ค่า ทั้ง ด้า นเนื้ อ หา ด้า นวรรณศิล ป์
แ ล ะ ด้ า น สั ง ค ม ก า ร ที่ จ ะ เ ข้ า ใ จ เ นื้ อ ห า ข อ ง เ รื่ อ ง ไ ด้ นั้ น
เร า จ า เป็ น ที่ จ ะ ต้ อ ง รู ้ แ ล ะ เข้ า ใ จ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ค า ศั พ ท์ ต่ า ง ๆ
ที่ ป ร า ก ฏ อ ยู่ ใ น เ รื่ อ ง
จึงสามารถถอดความบทประพันธ์และเข้าใจเนื้อหาของเรือ ่ งได้อย่างถูกต้องชัด
เจน
2. ตัวชี้วดั /จุดประสงค์การเรียนรู ้
2.1 ตัวชี้วดั
ท 5.1 ม.4-6/1
วิเคราะห์และวิจารณ์ วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์ เบือ
้ งต้น
2.2 จุดประสงค์การเรียนรู ้
1) วิเคราะห์เนื้อหาของเรือ
่ ง ไตรภูมพ
ิ ระร่วง ตอนมนุสสภูมิได้
2) อธิบายความหมายของคาศัพท์ตา่ งๆ ทีป ่ รากฏในเรือ
่ ง
ไตรภูมพิ ระร่วง ตอนมนุสสภูมไิ ด้
3) ถอดความคาประพันธ์เรือ ่ ง ไตรภูมพ
ิ ระร่วง ตอนมนุสสภูมไิ ด้
3. สาระการเรียนรู ้
3.1 สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
 หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์ วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้น
- การพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
3.2 สาระการเรียนรูท
้ อ้ งถิน

- เนื้อหาและคาศัพท์จากเรือ
่ ง ไตรภูมพ
ิ ระร่วง ตอนมนุสสภูมิ

4. สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน
4.1 ความสามารถในการสือ่ สาร
4.2 ความสามารถในการคิด
1) ทักษะการตีความ 2)
ทักษะการวิเคราะห์
3) ทักษะการสังเคราะห์ 4)
ทักษะการนาความรูไ้ ปใช้
4.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวต

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวน ิ ยั 2. ใฝ่ เรียนรู ้
3. มุง่ มั่นในการทางาน 4. รักความเป็ นไทย

6. กิจกรรมการเรียนรู ้
 วิธีสอนแบบกระบวนการกลุม
่ สัมพันธ์

ขัน
้ ที่ 1 นาเข้าสูบ
่ ทเรียน
สือ่ การเรียนรู้ : คลิปแอนิเมชั่น
ครูให้นกั เรียนดูคลิปแอนิเมชั่นกาเนิดมนุษย์
ตามเนื้อหาตอนมนุสสภูมิ
แล้วให้นกั เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับคลิปที่
ได้ดู

ขัน
้ ที่ 2 จัดการเรียนรู ้
สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ : 1. หนังสือเรียน คาถามกระตุน
้ ความคิด
วรรณคดีฯ ม.6 2. หนังสือค้นคว้าเพิม ่ เติม 1. การแปลความหมายของคาศัพท์ตา่ งๆ
3. แผนภูมต ิ วั อย่างบทประพันธ์ 4. ใบงานที่ ทีป
่ รากฏในบทประพันธ์
2.1
หากไม่มพี จนานุกรม
5. ห้องสมุด 6.
แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
เราสามารถสันนิษฐานความหมายของ
1. ครูตด ิ แผนภูมต ิ วั อย่างบทประพันธ์จากเรือ ่ ง คา
ไตรภูมพ ิ ระร่วง ตอน มนุสสภูมิ ดังกล่าวจากเนื้อความโดยรวมของบท
ให้นกั เรียนดูบนกระดาน ประพันธ์นน้ ั ได้หรือไม่ อธิบายเหตุผล
แล้วครูให้นกั เรียนช่วยกันถอดความบทประพันธ์ดงั (พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน
กล่าว จากนัน ้ ครูอธิบายเพิม ่ เติมเพือ
่ ให้นกั เรียน โดยให้อยูใ่ นดุลยพินิจของครูผสู้ อน)
มีความรูค ้ วามเข้าใจมากยิง่ ขึน ้ 2. คาศัพท์ใดบ้างในเรือ ่ ง
2. ครูให้นกั เรียนแต่ละกลุม ่ ร่วมกันอ่านเรือ ่ ง ไตรภูมพ ิ ระร่วง
ทีม
่ ก
ี ารเปลีย่ นไปใช้คาอืน
่ แทนในปั
ไตรภูมพ ิ ระร่วง ตอน มนุสสภูมิ จากหนังสือเรียน จจุบน ั และคาทีใ่ ช้แทน
หนังสือค้นคว้าเพิม ่ เติม ห้องสมุด คือคาว่าอะไร
และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ (มีหลายคา เช่น - ไส้ดอื
3. ครูสมุ่ นักเรียนแต่ละกลุม ่ ออกมาอธิบายความบทประ ปัจจุบนั ใช้คาว่า สะดือ
พันธ์ - ทุกวาร ปัจจุบนั ใช้คาว่า ทุกวัน
พร้อมบอกความหมายของคาศัพท์ในตอนทีก ่ าหนด - คารบ ปัจจุบนั ใช้คาว่า ครบ
โดยครูและเพือ ่ นกลุม ่ อืน
่ ร่วมกันตรวจสอบความถูก เป็ นต้น
ต้อง หรือนักเรียนอาจตอบเป็ นอย่างอืน ่
โดยให้อยูใ่ นดุลยพินิจของครูผสู้ อน)
4. นักเรียนแต่ละกลุม ่ ช่วยกันทาใบงานที่ 2.1 เรือ ่ ง
เนื้อหาและคาศัพท์ ตอนมนุสสภูมิ
เสร็จแล้วช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง
5. นักเรียนตอบคาถามกระตุน ้ ความคิด ข้อ 1-2
ขัน
้ ที่ 3 สรุปและนาหลักการไปประยุกต์ใช้
สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ : — คาถามกระตุน
้ ความคิด
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาและคาศัพท์จากเรื่  เรือ
่ ง ไตรภูมพ
ิ ระร่วง
อง ไตรภูมิ พระร่วง ตอนมนุสสภูมิ ตอนมนุสสภูมิ
มีเนื้อหาสาคัญเกีย่ วกับอะไร
และนาความรูท ้ ไี่ ด้ไปประยุกต์ใช้ในการศึกษาความ
(พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน
รูเ้ รือ
่ ง ไตรภูมพิ ระร่วง ตอนมนุสสภูมิ ในด้านต่างๆ
โดยให้อยูใ่ นดุลยพินิจของครูผสู้ อน)
ต่อไป
2. นักเรียนตอบคาถามกระตุน ้ ความคิด

ขัน
้ ที่ 4 วัดและประเมินผล
สือ่ การเรียนรู้ : ใบงานที่ 2.1 คาถามกระตุน
้ ความคิด
1. นักเรียนแต่ละกลุม
่ ออกมานาเสนอผลงานในใบงาน 1.
ที่ 2.1 นักเรียนประทับใจเนื้อหาตอนใดใน
โดยครูและเพือ่ นกลุม
่ อืน
่ ช่วยกันตรวจสอบความถูก เรือ
่ ง ไตรภูมพ
ิ ระร่วง
ต้อง และให้ขอ
้ เสนอแนะ ตอนมนุสสภูมิ มากทีส ่ ด

2. นักเรียนตอบคาถามกระตุน ้ ความคิด ข้อ 1-2 อธิบายเหตุผล
(พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน
โดยให้อยูใ่ นดุลยพินิจของครูผสู้ อน)
2. เรือ
่ ง ไตรภูมพิ ระร่วง
ตอนมนุสสภูมิ
มีคณ ุ ค่าในด้านเนื้อหาอย่างไรบ้าง
(พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน
โดยให้อยูใ่ นดุลยพินิจของครูผสู้ อน)

7. การวัดและประเมินผล
วิธีการ เครือ
่ งมือ เกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 2.1 ใบงานที่ 2.1 ร้อยละ 60
ผ่านเกณฑ์
ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุม
่ แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุม
่ ระดับคุณภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
สังเกตความมีวน ิ ยั ใฝ่ เรียนรู ้ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2
มุง่ มั่นในการทางาน ผ่านเกณฑ์
และรักความเป็ นไทย

8. สือ
่ /แหล่งการเรียนรู ้
8.1 สือ่ การเรียนรู ้
1) หนังสือเรียน ภาษาไทย : วรรณคดีและวรรณกรรม ม.6
2) หนังสือค้นคว้าเพิม ่ เติม
(1) ราชบัณฑิตยสถาน. (2546).
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุค ๊ ส์
พับลิเคชั่นส์.
(2) สมพงษ์ เชาว์แหลม. (มปป.). ไตรภูมก ิ ถาฉบับค่อยยังชั่ว.
กรุงเทพฯ : รุง่ เรืองสาส์น.
(3) เสถียรโกเศศ. (2542). เล่าเรือ ่ งในไตรภูม.ิ กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช.
3) คลิปแอนิเมชั่นกาเนิดมนุษย์ ตามเนื้อหาตอนมนุสสภูมิ
4) แผนภูมต ิ วั อย่างบทประพันธ์
5) ใบงานที่ 2.1 เรือ ่ ง เนื้อหาและคาศัพท์ ตอนมนุสสภูมิ
8.2 แหล่งการเรียนรู ้ 1) ห้องสมุด
2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- http://th.wikipedia.org/wiki/ไตรภูมพ ิ ระร่วง -
http://www.youtube.com/watch?v=ao0d3iv1i54
เอกสารประกอบการสอน

แผนภูมต
ิ วั อย่างบทประพันธ์จากเรือ
่ ง ไตรภูมพ
ิ ระร่วง ตอนมนุสสภูมิ
ผิรูปอันจะเกิดเป็ นชายก็ดเี ป็ นหญิงก็ดี
เกิดมีอาทิแต่เกิดเป็ นกลละนัน ้ โดยใหญ่แต่ละวันแลน้อย ครัง้ ถึง 7
วันเป็ นดั่งน้าล้างเนื้อนัน ้ เรียกว่าอัมพุทะ
อัมพุทะนัน ้ โดยใหญ่ไปทุกวารไสร้ ครัน ้ ได้ถงึ 7 วาร
ข้นเป็ นดั่งตะกั่วอันเชือ ่ มอยูใ่ นหม้อเรียกว่าเปสิ
เปสินน ้ ั ค่อยใหญ่ไปทุกวัน ครัง้ ถึง 7 วันแข็งเป็ นก้อนดั่งไข่ไก่
เรียกว่าฆนะ ฆนะนัน ้ ค่อยใหญ่ไปทุกวัน ครัน ้ ถึง 7 วันเป็ นตุม
่ ออกได้ 5
แห่งดั่งหูดนัน ้ เรียกว่าเบญจสาขาหูด เบญจสาขาหูดนัน ้ เป็ นมือ 2 อัน
เป็ นตีน 2 อัน หูดเป็ นหัวนัน ้ อีกหนึ่ง แลแต่นน ้ ั ค่อยไปเบื้องหน้าทุกวัน
ครัน้ 7 วันเป็ นฝ่ ามือ เป็ นนิ้วมือแต่นน ้ ั ไปถึง 7 วัน คารบ 42 จึงเป็ นขน
เป็ นเล็บตีน เล็บมือ เป็ นเครือ ่ งสาหรับเป็ นมนุษย์ถว้ นทุกอันแล
แต่รูปอันมีกลางคนไสร้ 50 แต่รูปอันมีหวั ได้ 84 แต่รูปอันมีเบื้องต่าได้
50 ผสมรูปทัง้ หลายอันเกิดเป็ นสัตว์อน ั อยูใ่ นท้องแม่ได้ 184
แลกุมารนัน ้ นั่งกลางท้องแม่ แลเอาหลังมาต่อหนังท้องแม่
อาหารอันแม่กน ิ เข้าไปแต่กอ ่ นนัน ้ อยูใ่ ต้กุมารนัน ้
อาหารอันแม่กน ิ เข้าไปใหม่นน ้ ั อยูเ่ หนือกุมารนัน ้
่ เนื อหาและค
ใบงานที่ 2.1 เรือง ้ าศ ัพท ์
ตอนมนุ สสภู ม ิ
ตอนที่ 1
คาชี้แจง ให้นกั เรียนบอกความหมายของคาทีข
่ ด
ี เส้นใต้ให้ถูกต้อง

1. ผิรูปอันจะเกิดเป็ นชายก็ดเี ป็ นหญิงก็ดี


เกิดมีอาทิแต่เกิดเป็ นกลละนัน
้ โดยใหญ่แต่ละวันแลน้อย
กลละ หมายถึง

2. เมือ
่ กุมารอยูใ่ นท้องแม่นน
้ ั ลาบากนักหนา
พึงเกลียดพึงหน่ ายพ้นประมาณนัก ก็ชื้นแลเหม็นกลิน
่ ตืดและเอือนอันได้
80 ครอก
ตืด หมายถึง

เอือน หมายถึง

3.
จะงอยไส้ดอ ื นัน ้ ไปเบื้องบนติดหลังท้องแม่แลข้าวน้าอาหารอันใดแ
้ กลวงขึน
ม่กน
ิ ไสร้ แลโอชารสนัน ้ ก็เป็ นน้าชุม
่ เข้าไปในไส้ดอ
ื นัน

จะงอยไส้ดอ ื หมายถึง

ไส้ดอ
ื หมายถึง
4. ผิแลว่าเมือ
่ แม่เดินไปก็ดี นอนก็ดี ฟื้ นตนก็ดี
กุมารอยูใ่ นท้องแม่นน ้ ั ให้เจ็บเพียงจะตายแลดุจดั่งลูกทรายอันพึง่ ออกแล
อยูธ่ รห้อยผิบม
่ ด
ิ จุ ดั่งคนอันเมาเหล้า
อยูธ่ รห้อย หมายถึง

5. คนผูใ้ ดจากแต่นรกมาเกิดจัน ้ เมือ่ คลอดออกตนกุมารนัน


้ ร้อน
เมือ
่ มันอยูใ่ นท้องแม่นน
้ ั ย่อมเดือดเนื้อร้อนใจแล
กระหนกระหาย
กระหนกระหาย หมายถึง

6. แลคับตัวออกยากลาบากนัน ้ ผิบม
่ ด
ิ ่งั นัน
้ ดั่งคนผูอ ้ ยูใ่ นนรกแล
แลภูเขาอันชือ
่ คังไคยบรรพตหีบแลเหงแลบดบี้นน ้ ั แล
บรรพต หมายถึง

หีบ หมายถึง

เหง หมายถึง

7. ฝูงอันมาเกิดเป็ นพระปัจเจกโพธิเจ้าก็ดี
แลเป็ นพระอรหันตาขีณาสพเจ้าก็ดี แลมาเป็ นพระองค์อคั รสาวกเจ้าก็ดี
พระปัจเจกโพธิเจ้า หมายถึง

8. เมือ
่ จะออกจากท้องแม่วน ั นัน
้ ไสร้
จึงลมกรรมชวาตก็พดั ให้หวั ผูน
้ ้อยนัน
้ ลงมาสูท
่ จี่ ะออกแลคับแคบแอ่นยันนักหน

ลมกรรมชวาต หมายถึง
แอ่นยัน หมายถึง

9. เมือ ่ กุมารอยูใ่ นท้องแม่นน


้ ั ลาบากนักหนา
พึงเกลียดพึงหน่ ายพ้นประมาณนัก ก็ชื้นแลเหม็นกลิน ่ ตืดและเอือนอันได้
80 ครอก ซึง่ อยูใ่ นท้องแม่อน ั เป็ นทีเ่ หม็นแลทีอ
่ อกลูกออกเต้า ทีเ่ ถ้า
ทีต ่ ายทีเ่ ร่ว
ทีเ่ ร่ว หมายถึง

10. ฆนะนัน ้ ค่อยใหญ่ไปทุกวัน ครัน


้ ถึง 7 วัน เป็ นตุม
่ ออกได้ 5
แห่งดั่งหูดนัน
้ เรียกว่าเบญจสาขาหูด
เบญจสาขาหูด หมายถึง

ตอนที่ 2
คาชี้แจง ให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปนี้

1.
ลาดับพัฒนาการการเกิดเป็ นทารกในครรภ์มารดาสามารถเรียงลาดับได้อย่างไ

2. จงยกตัวอย่างบทประพันธ์ทก
ี่ ล่าวถึง
สายสะดือของทารกในครรภ์มารดาและการรับอาหารจากมารดาผ่านทาง
สายสะดือ
3.
จงยกตัวอย่างบทประพันธ์ทพ
ี่ รรณนาท่าทางของทารกตอนอยูใ่ นครรภ์มารดา

4. จากเรือ
่ ง ไตรภูมพ
ิ ระร่วง ตอนมนุสสภูมิ
ความตอนหนึ่งกล่าวถึงในครรภ์มารดาว่ามีสภาพ “ร้อนนักหนาดุจดั่งเรา
เอาใบตองเข้าจ่อตน แลต้มในหม้อนัน ้ ไสร้”
แต่เพราะเหตุใดทารกในครรภ์จงึ ไม่ตายเพราะความร้อนนัน

5. ตามความเชือ ่ ทีป
่ รากฏในตอน มนุสสภูมิ ทารกทีม
่ าจากนรกและสวรรค์
เมือ
่ อยูใ่ นครรภ์มารดามีลกั ษณะแตกต่างกันอย่างไร
6. ตามความเชือ่ ทีป
่ รากฏในตอน มนุสสภูมิ ทารกทีม
่ าจากนรกและสวรรค์
เมือ
่ คลอดออกมาจากครรภ์มารดาแล้ว
จะแสดงลักษณะต่างกันอย่างไร

7. ช่วงทีท
่ ารกกาลังจะคลอดออกจากครรภ์มารดา
แต่ไม่สามารถคลอดออกมาได้ ทารกมีความรูส้ ก
ึ อย่างไร

8. ทารกทีม
่ าเกิดเป็ นพระปัจเจกพุทธเจ้า
พระอรหันต์หรือพระอัครสาวกของพระพุทธเจ้า มีลกั ษณะพิเศษอย่างไรบ้าง

9. ทารกทีอ่ ยูใ่ นครรภ์มารดาเพียง 7 เดือน แล้วก็คลอดออกมา


จะมีลกั ษณะอย่างไร

10. จากเรือ่ ง ไตรภูมพ ิ ระร่วง ตอนมนุสสภูมิ ความตอนหนึ่งว่า


“บ่เริม
่ ดั่งท่านผูจ้ ะออกมาเป็ นพระปัจเจกโพธิเจ้าก็ดี
ผูจ้ ะมาเกิดเป็ นลูกพระพุทธเจ้าก็ดี คานึงรูส้ ก ึ ตนแลบ่มหิ ลงแต่สองสิง่ นี้คอ

เมือ ่ จะเอาปฏิสนธิแลอยูใ่ นท้องแม่นน ้ ั ได้แล
เมือ ่ จะออกจากท้องแม่นน ้ ั ย่อมหลงดุจคนทัง้ หลายนี้แล
ส่วนว่าคนทัง้ หลายนี้ไสร้ยอ ่ มหลงทัง้ 3 เมือ ่ ควรอิม่ สงสารแล”
คาว่า “ทัง้ 3 เมือ
่ ” ในข้อความข้างต้น หมายถึงเมือ ่ ใดบ้าง

่ เนื อหาและค
ใบงานที่ 2.1 เรือง ้ าศ ัพท ์
ตอนมนุ สสภู ม ิ เฉลย
ตอนที1

คาชี้แจง ให้นกั เรียนบอกความหมายของคาทีข
่ ด
ี เส้นใต้ให้ถูกต้อง
1. ผิรูปอันจะเกิดเป็ นชายก็ดเี ป็ นหญิงก็ดี
เกิดมีอาทิแต่เกิดเป็ นกลละนัน
้ โดยใหญ่แต่ละวันแลน้อย
กลละ หมายถึง รูปแรกเริม่ ทีป่ ฏิสนธิในครรภ์มารดาในช่วงสัปดาห์แรก
เปรียบได้กบั
นาผมของคนมาผ่า 8 ครัง้ แล้วจุม ่ ลงในน้ามันงาทีใ่ สมากและสลัด 7 ครัง้ แล้วถือไว้
น้ามันทีเ่ หลือติดอยูท
่ ป
ี่ ลายผมนัน
้ ยังมี
ขนาดใหญ่กว่ากลละ

2. เมือ
่ กุมารอยูใ่ นท้องแม่นน
้ ั ลาบากนักหนา
พึงเกลียดพึงหน่ ายพ้นประมาณนัก ก็ชื้นแลเหม็นกลิน
่ ตืดและเอือนอันได้
80 ครอก
ตืด หมายถึง พยาธิ

เอือน หมายถึง พยาธิในท้องชนิดหนึ่ง (ภาษาถิน


่ ใต้ เอือน แปลว่า ตืด)
3.
จะงอยไส้ดอ ื นัน ้ ไปเบื้องบนติดหลังท้องแม่แลข้าวน้าอาหารอันใดแ
้ กลวงขึน
ม่กน
ิ ไสร้ แลโอชารสนัน ้ ก็เป็ นน้าชุม
่ เข้าไปในไส้ดอ
ื นัน

จะงอยไส้ดอ ื หมายถึง ปลายสายสะดือ

ไส้ดอ
ื หมายถึง สะดือ

4. ผิแลว่าเมือ
่ แม่เดินไปก็ดี นอนก็ดี ฟื้ นตนก็ดี
กุมารอยูใ่ นท้องแม่นน ้ ั ให้เจ็บเพียงจะตายแลดุจดั่งลูกทรายอันพึง่ ออกแล
อยูธ่ รห้อยผิบม
่ ด
ิ จุ ดั่งคนอันเมาเหล้า
อยูธ่ รห้อย หมายถึง โคลงเคลงไปมา ทรงตัวไม่ได้

5. คนผูใ้ ดจากแต่นรกมาเกิดจัน ้ เมือ่ คลอดออกตนกุมารนัน


้ ร้อน
เมือ
่ มันอยูใ่ นท้องแม่นน
้ ั ย่อมเดือดเนื้อร้อนใจแล
กระหนกระหาย
กระหนกระหาย หมายถึง ทุรนทุราย กระสับกระส่าย

6. แลคับตัวออกยากลาบากนัน ้ ผิบม
่ ด
ิ ่งั นัน
้ ดั่งคนผูอ ้ ยูใ่ นนรกแล
แลภูเขาอันชือ
่ คังไคยบรรพตหีบแลเหงแลบดบี้นน ้ ั แล
บรรพต หมายถึง ภูเขา

หีบ หมายถึง หนีบ


เหง หมายถึง บด บี้ ทับ

7. ฝูงอันมาเกิดเป็ นพระปัจเจกโพธิเจ้าก็ดี
แลเป็ นพระอรหันตาขีณาสพเจ้าก็ดี แลมาเป็ นพระองค์อคั รสาวกเจ้าก็ดี
พระปัจเจกโพธิเจ้า หมายถึง
พระพุทธเจ้าทีต
่ รัสรูแ
้ ล้วมิได้ส่งั สอนเวไนยสัตว์

8. เมือ
่ จะออกจากท้องแม่วน ั นัน
้ ไสร้
จึงลมกรรมชวาตก็พดั ให้หวั ผูน
้ ้อยนัน
้ ลงมาสูท
่ จี่ ะออกแลคับแคบแอ่นยันนักหน

ลมกรรมชวาต หมายถึง ลมเกิดแต่กรรม หมายถึง
ลมทีเ่ กิดในเวลาทีม
่ ารดาจะคลอดบุตร
แอ่นยัน หมายถึง คดเพราะตัวถูกกดดันด้วยลมกรรมชวาต

9. เมือ ่ กุมารอยูใ่ นท้องแม่นน ้ ั ลาบากนักหนา


พึงเกลียดพึงหน่ ายพ้นประมาณนัก ก็ชื้นแลเหม็นกลิน ่ ตืดและเอือนอันได้
80 ครอก ซึง่ อยูใ่ นท้องแม่อน ั เป็ นทีเ่ หม็นแลทีอ
่ อกลูกออกเต้า ทีเ่ ถ้า
ทีต ่ ายทีเ่ ร่ว
ทีเ่ ร่ว หมายถึง ป่ าช้า ทีฝ่ งั ศพ ทีเ่ ผาศพ

10. ฆนะนัน ้ ค่อยใหญ่ไปทุกวัน ครัน ้ ถึง 7 วัน เป็ นตุม่ ออกได้ 5


แห่งดั่งหูดนัน
้ เรียกว่าเบญจสาขาหูด
เบญจสาขาหูด หมายถึง ปุ่ มทีเ่ ป็ น 5 กิง่ ในทีน
่ ี้หมายถึงก้อนเนื้อทีม
่ ป
ี มเกิ
ุ่ ด 5 ปุ่ ม
คือ หัว 1 ปุ่ ม แขน 2 ปุ่ ม และขา 2 ปุ่ ม

ตอนที่ 2
คาชี้แจง ให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปนี้
1.
ลาดับพัฒนาการการเกิดเป็ นทารกในครรภ์มารดาสามารถเรียงลาดับได้อย่างไ

กลละ – อัมพุทะ – เปสิ – ฆนะ – เบญจสาขาหูด – เกิดเป็ นร่างกายมนุษย์

2. จงยกตัวอย่างบทประพันธ์ทก
ี่ ล่าวถึง
สายสะดือของทารกในครรภ์มารดาและการรับอาหารจากมารดาผ่านทาง
สายสะดือ
อันว่าสายสะดือแห่งกุมารนัน ้ กลวงดั่งสายก้านบัวอันมีชือ่ ว่าอุบล
จะงอยไส้ดือนัน ้ กลวงขึน ้ ไปเบือ้ งบนติดหลังท้องแม่แลข้าวน้าอาหารอันใดแม่กน ิ ไสร้
แลโอชารสนัน ้ ก็เป็ นน้าชุม่ เข้าไปในไส้ดือนัน ้ แลเข้าไปในท้องกุมารนัน ้ แล
สะหน่ อยๆ แลผูน ้ ้อยนัน
้ ก็ได้
กินทุกคา่ เช้าทุกวัน

3.
จงยกตัวอย่างบทประพันธ์ทพ
ี่ รรณนาท่าทางของทารกตอนอยูใ่ นครรภ์มารดา
บทประพันธ์ทพ ี่ รรณนาท่าทางของทารกตอนอยูใ่ นครรภ์มารดาปรากฏตัวอย่างหล
ายตอน เช่น
- “แลกุมารนัน
้ นั่งกลางท้องแม่ แลเอาหลังมาต่อหนังท้องแม่”

- “เบือ้ งหลังกุมารนัน ้ ต่อหลังท้องแม่ แลนั่งยองอยูใ่ นท้องแม่


แลกามือทัง้ สองคูค ้ อต่อหัวเข่าทัง้ สอง เอาหัวไว้เหนือหัวเข่า
เมือ่ นั่งอยูน
่ น
้ั ”

- “บ่หอ่ นได้เหยียดตีนมือออกดั่งเราท่านทัง้ หลายนี้สกั คาบหนึ่งเลย”

4. จากเรือ
่ ง ไตรภูมพ
ิ ระร่วง ตอนมนุสสภูมิ
ความตอนหนึ่งกล่าวถึงในครรภ์มารดาว่ามีสภาพ “ร้อนนักหนาดุจดั่งเรา
เอาใบตองเข้าจ่อตน แลต้มในหม้อนัน ้ ไสร้”
แต่เพราะเหตุใดทารกในครรภ์จงึ ไม่ตายเพราะความร้อนนัน

ทารกไม่ตายจากความร้อนในท้องมารดา
เพราะว่าทารกนัน้ มีบญ
ุ ทีจ่ ะได้เกิดเป็ นมนุษย์ ดังทีบ
่ ทประพันธ์กล่าวว่า
“ด้วยอานาจแห่งไฟธาตุอนั ร้อนนัน ้ ส่วนตัวกุมารนัน ้ บ่มไิ หม้
เพราะว่าเป็ นธรรมดาด้วยบุญกุมารนัน ้ จะเป็ นคนแล จึงให้บมิไหม้บมิตายเพือ่
ดั่งนัน
้ แลแต่กุมารนัน
้ อยูใ่ นท้องแม่”

5. ตามความเชือ ่ ทีป
่ รากฏในตอน มนุสสภูมิ ทารกทีม
่ าจากนรกและสวรรค์
เมือ
่ อยูใ่ นครรภ์มารดามีลกั ษณะแตกต่างกันอย่างไร
ทารกทีม ่ าจากนรก ตอนทีอ่ ยูใ่ นครรภ์มารดา จะรูส้ กึ ทุรนทุรายเดือดเนื้อร้อนใจ
และตัวของมารดาก็รสู ้ กึ ร้อนตามไปด้วย
ดังทีบ ่ ทประพันธ์กล่าวว่า
“เมือ่ มันอยูใ่ นท้องแม่นน ้ ั ย่อมเดือดเนื้อร้อนใจแลกระหนกระหาย
อีกเนื้อแม่นน ้ ั ก็พลอยร้อนด้วยโสด” ส่วนทารกทีม่ าจากสวรรค์
ตอนทีอ่ ยูใ่ นครรภ์มารดา จะอยูเ่ ย็นเป็ นสุข และตัวของมารดาก็เย็นไปด้วย
ดังทีบ ่ ทประพันธ์ กล่าวว่า “เมือ่ ยังอยูใ่ นท้องแม่นน้ั
อยูเ่ ย็นเป็ นสุขสาราญบานใจ แลเนื้อแม่นน ้ ั ก็เย็นด้วยโสด”

6. ตามความเชือ่ ทีป
่ รากฏในตอน มนุสสภูมิ ทารกทีม
่ าจากนรกและสวรรค์
เมือ
่ คลอดออกมาจากครรภ์มารดาแล้ว
จะแสดงลักษณะต่างกันอย่างไร
ทารกทีม่ าจากนรก เมือ่ คลอดออกมา ตัวของทารกจะร้อน
ดังทีบ
่ ทประพันธ์กล่าวว่า “คนผูใ้ ดจากแต่นรกมาเกิดจัน
้ เมือ่ คลอด
ออกตนกุมารนัน ้ ร้อน”

ทารกทีม่ าจากสวรรค์ เมือ่ คลอดออกมา ตัวของทารกจะเย็น


ดังทีบ
่ ทประพันธ์กล่าวว่า “คนผูจ้ ากแต่สวรรค์ลงมาเกิดนัน
้ เมือ่ จะคลอดออก
ตนกุมารนัน้ เย็น เย็นเนื้อเย็นใจ”

7. ช่วงทีท
่ ารกกาลังจะคลอดออกจากครรภ์มารดา
แต่ไม่สามารถคลอดออกมาได้ ทารกมีความรูส้ ก
ึ อย่างไร
เจ็บปวดทรมาน ดังทีบ
่ ทประพันธ์กล่าวว่า “เมือ่ กุมารนัน
้ คลอดออกจากท้องแม่
ออกแลไปบ่มพ ิ น
้ ตน ตนเย็นนัน
้ แลเจ็บเนื้อ
เจ็บตนนักหนา”

8. ทารกทีม
่ าเกิดเป็ นพระปัจเจกพุทธเจ้า
พระอรหันต์หรือพระอัครสาวกของพระพุทธเจ้า มีลกั ษณะพิเศษอย่างไรบ้าง
มีลกั ษณะพิเศษคือ ขณะทีป ่ ฏิสนธิและอยูใ่ นครรภ์มารดา
จะมีสติรต ู ้ วั อยูต
่ ลอดและไม่เกิดความหลง ดังทีบ ่ ทประพันธ์กล่าวว่า
“เมือ่ ธ แรกมาเอาปฏิสนธินน ้ ั ก็ดี เมือ่ ธ อยูใ่ นท้องแม่นน้ ั ก็ดี
แลสองสิง่ นี้เมือ่ อยูใ่ นท้องแม่นน ้ ั บ่หอ่ นจะรูห
้ ลงแลยังคานึงรูอ้ ยูท
่ ก
ุ อัน”

9. ทารกทีอ่ ยูใ่ นครรภ์มารดาเพียง 7 เดือน แล้วก็คลอดออกมา


จะมีลกั ษณะอย่างไร
อ่อนแอ ไม่แข็งแรง ดังทีบ ่ ทประพันธ์กล่าวว่า “คนผูใ้ ดอยูใ่ นท้องแม่ 7
เดือนแลคลอดนัน ้ แม้เลีย้ งเป็ นคนก็ดี บ่มไิ ด้กล้าแข็ง
บ่มทิ นแดดทนฝนได้แล”

10. จากเรือ ่ ง ไตรภูมพ ิ ระร่วง ตอนมนุสสภูมิ ความตอนหนึ่งว่า


“บ่เริม ่ ดั่งท่านผูจ้ ะออกมาเป็ นพระปัจเจกโพธิเจ้าก็ดี
ผูจ้ ะมาเกิดเป็ นลูกพระพุทธเจ้าก็ดี คานึงรูส้ ก ึ ตนแลบ่มหิ ลงแต่สองสิง่ นี้คอ

เมือ ่ จะเอาปฏิสนธิแลอยูใ่ นท้องแม่นน ้ ั ได้แล
เมือ ่ จะออกจากท้องแม่นน ้ ั ย่อมหลงดุจคนทัง้ หลายนี้แล
ส่วนว่าคนทัง้ หลายนี้ไสร้ยอ ่ มหลงทัง้ 3 เมือ ่ ควรอิม
่ สงสารแล”
คาว่า “ทัง้ 3 เมือ ่ ” ในข้อความข้างต้น หมายถึงเมือ ่ ใดบ้าง
คาว่า “ทัง้ 3 เมือ่ ” หมายถึง เมือ่ ปฏิสนธิ เมือ่ อยูใ่ นท้องแม่
และเมือ่ คลอดออกจากท้องแม่

แบบประเมิน การนาเสนอผลงาน
คาชี้แจง : ให้ ผูส
้ อน
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน
แล้วขีด  ลงในช่องทีต
่ รงกับระดับคะแนน
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 นาเสนอเนื้อหาในผลงานได้ถูกต้อง
2 การลาดับขัน
้ ตอนของเนื้อเรือ
่ ง
3 การนาเสนอมีความน่ าสนใจ
4 การมีสว่ นร่วมของสมาชิกในกลุม

5 การตรงต่อเวลา

รวม

ลงชือ
่ ...................................................ผูป
้ ระเมิน

............../.................../................

เกณฑ์การให้คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ ชดั เจน ให้ 4 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอ
้ บกพร่องบางส่วน ให้ 3 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอ้ บกพร่องเป็ นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอ ้ บกพร่องมาก ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
18 - 20 ดีมาก
14 - 17 ดี
10 - 13 พอใช้
ต่ากว่า 10 ปรับปรุง

แบบสังเกตพฤติกรรม การทางานกลุม

คาชี้แจง : ให้ ผูส
้ อน
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด 
ลงในช่องทีต่ รงกับ
ระดับคะแนน
ชือ
่ -สกุล ความร่วมมือกันทากิจกรรม การแสดงความคิดเห็น การรับฟังความคิดเห็น
ลาดับที่ ของผูร้ บั การ 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1
ประเมิน
ลงชือ
่ ...................................................ผูป
้ ระเมิน

............../.................../................
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบตั ห
ิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ 4 คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบตั ห ิ รือแสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 2 คะแนน
ปฏิบตั ห ิ รือแสดงพฤติกรรมน้อยครัง้ ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
18 - 20 ดีมาก
14 - 17 ดี
10 - 13 พอใช้
ต่ากว่า 10 ปรับปรุง

แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คาชี้แจง : ให้ ผูส
้ อน
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด 
ลงในช่องทีต
่ รงกับ
ระดับคะแนน
คุณลักษณะ ระดับคะแน
อันพึงประสงค์ รายการประเมิน น
ด้าน 4 3 2 1
1. รักชาติ 1.1 ยืนตรงเมือ่ ได้ยน
ิ เพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้
ศาสน์ และอธิบายความหมาย
กษัตริย์ ของเพลงชาติ
1.2
ปฏิบตั ต
ิ นและชักชวนผูอ้ น
ื่ ปฏิบตั ต
ิ ามสิทธิและหน้าที่
ของพลเมือง
1.3 ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ
ในการทากิจกรรมกับสมาชิกในโรงเรียน ชุมชน
และสังคม
1.4
เป็ นผูน ้ าหรือเป็ นแบบอย่างในการจัดกิจกรรมทีส่ ร้าง
ความสามัคคี
ปรองดอง และเป็ นประโยชน์ ตอ ่ โรงเรียน ชุมชน
และสังคม ชืน ่ ชม ปกป้ อง
ความเป็ นชาติไทย
1.5 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาทีต ่ นนับถือ
ปฏิบตั ต ิ นตามหลักของศาสนา
และเป็ นตัวอย่างทีด ่ ข
ี องศาสนิกชน
1.6
เข้าร่วมกิจกรรมและมีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมทีเ่
กีย่ วข้องกับสถาบัน
พระมหากษัตริย์ตามทีโ่ รงเรียนและชุมชนจัดขึน ้
ชืน ่ ชมในพระราชกรณียกิจ
พระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย์และพระราชว
งศ์
2. ซือ
่ สัตย์ 2.1 ให้ขอ ้ มูลทีถ ่ ูกต้อง และเป็ นจริง
สุจริต 2.2 ปฏิบตั ใิ นสิง่ ทีถ ่ ก ู ต้อง ละอาย
และเกรงกลัวทีจ่ ะกระทาความผิด ทาตาม
สัญญาทีต ่ นให้ไว้กบั เพือ ่ น พ่อแม่ หรือผูป ้ กครอง
และครู เป็ นแบบอย่าง
ทีด่ ีดา้ นความซือ ่ สัตย์
2.3 ปฏิบตั ต ิ นต่อผูอ ้ น ื่ ด้วยความซือ ่ ตรง
ไม่หาประโยชน์ ในทางทีไ่ ม่ถูกต้อง
และเป็ นแบบอย่างทีด ่ แี ก่เพือ
่ นด้านความซือ ่ สัตย์
3. มีวน
ิ ยั 3.1 ปฏิบตั ต ิ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ
รับผิดชอบ ข้อบังคับของครอบครัว
โรงเรียน และสังคม ไม่ละเมิดสิทธิของผูอ ้ น
ื่
ตรงต่อเวลาในการปฏิบ ัติ
กิจกรรมต่างๆ ในชีวต ิ ประจาวัน
และรับผิดชอบในการทางาน ปฏิบตั ิ
เป็ นปกติวส ิ ัยและเป็ นแบบอย่างทีด ่ ี
4. ใฝ่ เรียนรู ้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรูต ้ า่ งๆ
4.2 มีการจดบันทึกความรูอ้ ย่างเป็ นระบบ
4.3 สรุปความรูไ้ ด้อย่างมีเหตุผล
5. 5.1 ใช้ทรัพย์สน ิ ของตนเอง เช่น สิง่ ของ เครือ ่ งใช้ ฯลฯ
อยูอ
่ ย่างพอเพี อย่างประหยัด
ยง คุม
้ ค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี
และใช้เวลาอย่างเหมาะสม
5.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุม ้ ค่า
และเก็บรักษาดูแลอย่างดี
5.3 ปฏิบตั ต ิ นและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล
5.4 ไม่เอาเปรียบผูอ ้ น ื่ และไม่ทาให้ผูอ ้ นื่ เดือดร้อน
พร้อมให้อภัยเมือ่ ผูอ ้ น ื่
กระทาผิดพลาด
แบบประเมิน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ต่อ)
คาชี้แจง : ให้ ผูส
้ อน
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด 
ลงในช่องทีต
่ รงกับ
ระดับคะแนน
คุณลักษณะ ระดับคะแน
อันพึงประสงค์ด้ รายการประเมิน น
าน 4 3 2 1
5.5 วางแผนการเรียน
การทางานและการใช้ชีวต ิ ประจาวันบนพืน ้ ฐาน
ของความรู ้ ข้อมูล ข่าวสาร
5.6 รูเ้ ท่าทันการเปลีย่ นแปลง ทางสังคม
และสภาพแวดล้อม ยอมรับ
และปรับตัว อยูร่ ว่ มกับผูอ้ น ื่ ได้อย่างมีความสุข
6. 6.1 เอาใจใส่ตอ ่ การปฏิบตั ห ิ น้าทีท ่ ไี่ ด้รบั มอบหมาย
มุง่ มั่นในการทา 6.2 ตัง้ ใจและรับผิดชอบในการทางานให้สาเร็จ
งาน 6.3 ปรับปรุงและพัฒนาการทางานอย่างรอบคอบ
6.4 ทุม ่ เท ทางาน อดทน ไม่ทอ้ ต่อปัญหาและอุปสรรค
6.5
พยายามแก้ปญ ั หาและอุปสรรคในการทางานให้สา
เร็จ
6.6 ชืน ่ ชมผลงานความสาเร็จด้วยความภาคภูมใิ จ
7. 7.1
รักความเป็ นไท มีจต ิ สานึกในการอนุรกั ษ์ วฒ ั นธรรมและภูมป ิ ญ
ั ญา
ย ไทย
7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบตั ต ิ นตามวัฒนธรรมไทย
8. 8.1 รูจ้ กั ช่วยพ่อแม่ ผูป ้ กครอง และครูทางาน
มีจต ิ สาธารณะ 8.2 อาสาทางาน ช่วยคิด ช่วยทา แบ่งปันสิง่ ของ
ทรัพย์สน ิ และอืน ่ ๆ
พร้อมช่วยแก้ปญ ั หา
8.3 ดูแล รักษาทรัพย์สน ิ ของห้องเรียน โรงเรียน
ชุมชน
8.4
เข้าร่วมกิจกรรมเพือ ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ข
องโรงเรียน ชุมชน
เพือ ่ แก้ปญั หาหรือร่วมสร้างสิง่ ทีด ่ ีงามตามสถานกา
รณ์ ทเี่ กิดขึน ้

ลงชือ
่ ...................................................ผูป
้ ระเมิน

............../.................../................
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบตั ห
ิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 4 คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบตั ห ิ รือแสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 2 คะแนน
ปฏิบตั ห ิ รือแสดงพฤติกรรมน้อยครัง้ ให้ 1 คะแนน

บันทึกหลังแผนการสอน
 ด้านความรู ้

 ด้านสมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน

 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

 ด้านอืน
่ ๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมทีม่ ปี ญ
ั หาของนักเรียนเป็ นรายบุคคล
(ถ้ามี))
 ปัญหา/อุปสรรค

 แนวทางการแก้ไข

ความเห็นของผูบ
้ ริหารสถานศึกษาหรือผูท
้ ไี่ ด้รบ
ั มอบหมาย
ข้อเสนอแนะ

ลงชือ

(
)
ตาแหน่ ง

You might also like