You are on page 1of 10

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 การพิจารณาเนื้ อหาและคาศัพท์

เวลา 1-2 ชัวโมง



1. สาระสาคัญ/ความคิ ดรวบยอด
ไตรภู ม ิ พ ระร่ ว ง เป็ นวรรณคดี ท่ี ม ี คุ ณ ค่ า ทั ้ง ด้ า นเนื้ อ หา ด้ า นวรรณศิ ล ป์ และด้ า นสั ง คม
การที่จ ะเข้า ใจเนื้ อ หาของเรื่อ งได้นัน้ เราจ าเป็ นที่จะต้อ งรู้และเข้า ใจความหมายของค าศัพ ท์ต่ างๆ
ทีป่ รากฏอยูใ่ นเรือ่ ง จึงสามารถถอดความบทประพันธ์และเข้าใจเนื้อหาของเรือ่ งได้อย่างถูกต้องชัดเจน

2. ตัวชี้วดั /จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ตัวชี้วดั
ท 5.1 ม.4-6/1 วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบือ้ งต้น
2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
1) วิเคราะห์เนื้อหาของเรือ่ ง ไตรภูมพิ ระร่วง ตอนมนุสสภูม ไิ ด้
2) อธิบายความหมายของคาศัพท์ต่างๆ ทีป่ รากฏในเรือ่ ง ไตรภูมพิ ระร่วง ตอนมนุสสภูมไิ ด้
3) ถอดความคาประพันธ์เรือ่ ง ไตรภูมพิ ระร่วง ตอนมนุสสภูมไิ ด้

3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
 หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบือ้ งต้น
- การพิจารณาเนื้อหาและกลวิธใี นวรรณคดีและวรรณกรรม
3.2 สาระการเรียนรูท้ ้องถิ น่
- เนื้อหาและคาศัพท์จากเรือ่ ง ไตรภูมพิ ระร่วง ตอนมนุสสภูม ิ

4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
4.1 ความสามารถในการสือ่ สาร
4.2 ความสามารถในการคิ ด
1) ทักษะการตีความ 2) ทักษะการวิเคราะห์
3) ทักษะการสังเคราะห์ 4) ทักษะการนาความรูไ้ ปใช้
4.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มุง่ มันในการท
่ างาน 4. รักความเป็นไทย
6. กิ จกรรมการเรียนรู้

 วิ ธีสอนแบบกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์

ขัน้ ที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน


สือ่ การเรียนรู้ : คลิปแอนิเมชัน่
ครูให้นกั เรียนดูคลิปแอนิเมชันก
่ าเนิดมนุษย์ ตามเนื้อหาตอนมนุสสภูมิ
แล้วให้นกั เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับคลิปทีไ่ ด้ดู

ขัน้ ที่ 2 จัดการเรียนรู้


สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ : 1. หนังสือเรียน วรรณคดีฯ ม.6 2. หนังสือค้นคว้าเพิม่ เติม คาถามกระตุ้นความคิ ด
3. แผนภูมติ วั อย่างบทประพันธ์ 4. ใบงานที่ 2.1
1. การแปลความหมายของคาศัพท์ต่างๆ
5. ห้องสมุด 6. แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
ที่ ปรากฏในบทประพันธ์ หากไม่มีพจนานุกรม
1. ครูตดิ แผนภูมติ วั อย่างบทประพันธ์จากเรื่อง ไตรภูมพิ ระร่วง ตอน เราสามารถสันนิ ษฐานความหมายของคา
มนุสสภูมิ ให้นกั เรียนดูบนกระดาน ดังกล่าวจากเนื้ อความโดยรวมของบท-
แล้วครูให้นกั เรียนช่วยกันถอดความบทประพันธ์ดงั กล่าว ประพันธ์นัน้ ได้หรือไม่ อธิ บายเหตุผล
จากนัน้ ครูอธิบายเพิม่ เติมเพื่อให้นกั เรียน (พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน
มีความรูค้ วามเข้าใจมากยิง่ ขึน้ โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผสู้ อน)
2. ครูให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอ่านเรื่อง ไตรภูมพิ ระร่วง ตอน 2. คาศัพท์ใดบ้างในเรื่อง ไตรภูมิพระร่วง
มนุสสภูมิ จากหนังสือเรียน หนังสือค้นคว้าเพิม่ เติม ห้องสมุด ที่มีการเปลี่ยนไปใช้คาอื่นแทนในปัจจุบนั แล
และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ะคาที่ ใช้แทน คือคาว่าอะไร
3. ครูสมุ่ นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาอธิบายความบทประพันธ์ (มีหลายคา เช่น - ไส้ดอื ปจจุั บนั ใช้คาว่า สะดือ
- ทุกวาร ปจั จุบนั ใช้คาว่า ทุกวัน
พร้อมบอกความหมายของคาศัพท์ในตอนทีก่ าหนด ั บนั ใช้คาว่า ครบ เป็ นต้น
- คารบ ปจจุ
โดยครูและเพื่อนกลุ่มอื่นร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง หรือนักเรียนอาจตอบเป็นอย่างอืน่
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันทาใบงานที่ 2.1 เรือ่ ง โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผสู้ อน)
เนื้ อหาและคาศัพท์ ตอนมนุสสภูมิ
เสร็จแล้วช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง
5. นักเรียนตอบคาถามกระตุน้ ความคิด ข้อ 1-2

ขัน้ ที่ 3 สรุปและนาหลักการไปประยุกต์ใช้


สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ : — คาถามกระตุ้นความคิ ด
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาและคาศัพท์จากเรื่อง ไตรภูมิ  เรื่อง ไตรภูมิพระร่วง ตอนมนุสสภูมิ
พระร่วง ตอนมนุสสภูมิ มีเนื้ อหาสาคัญเกี่ยวกับอะไร
และนาความรูท้ ไ่ี ด้ไปประยุกต์ใช้ในการศึกษาความรูเ้ รื่อง (พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน
ไตรภูมพิ ระร่วง ตอนมนุสสภูมิ ในด้านต่างๆ ต่อไป โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผสู้ อน)
2. นักเรียนตอบคาถามกระตุน้ ความคิด
ขัน้ ที่ 4 วัดและประเมิ นผล
สือ่ การเรียนรู้ : ใบงานที่ 2.1 คาถามกระตุ้นความคิ ด
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงานในใบงานที่ 2.1 1. นักเรียนประทับใจเนื้ อหาตอนใดในเรื่อง
โดยครูและเพื่อนกลุ่มอื่นช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง ไตรภูมิพระร่วง ตอนมนุสสภูมิ มากที่สดุ
และให้ขอ้ เสนอแนะ อธิ บายเหตุผล
2. นักเรียนตอบคาถามกระตุน้ ความคิด ข้อ 1-2 (พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน
โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผสู้ อน)
2. เรื่อง ไตรภูมิพระร่วง ตอนมนุสสภูมิ
มีคณ ุ ค่าในด้านเนื้ อหาอย่างไรบ้าง
(พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน
โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผสู้ อน)

7. การวัดและประเมิ นผล
วิ ธีการ เครือ่ งมือ เกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 2.1 ใบงานที่ 2.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตความมีวนิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ มุ่งมันในการท
่ างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
และรักความเป็ นไทย

8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สือ่ การเรียนรู้
1) หนังสือเรียน ภาษาไทย : วรรณคดีและวรรณกรรม ม.6
2) หนังสือค้นคว้าเพิม่ เติม
(1) ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิ ตยสถาน พ.ศ. 2542.
กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์
พับลิเคชันส์
่ .
(2) สมพงษ์ เชาว์แหลม. (มปป.). ไตรภูมิกถาฉบับค่อยยังชัว.่ กรุงเทพฯ : รุง่ เรืองสาส์น.
(3) เสถียรโกเศศ. (2542). เล่าเรื่องในไตรภูมิ. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช.
3) คลิปแอนิเมชันก่ าเนิดมนุษย์ ตามเนื้อหาตอนมนุสสภูม ิ
4) แผนภูมติ วั อย่างบทประพันธ์
5) ใบงานที่ 2.1 เรือ่ ง เนื้อหาและคาศัพท์ ตอนมนุสสภูม ิ
8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องสมุด
2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- http://th.wikipedia.org/wiki/ไตรภูมพิ ระร่วง -
http://www.youtube.com/watch?v=ao0d3iv1i54
เอกสารประกอบการสอน

แผนภูมิตวั อย่างบทประพันธ์จากเรื่อง ไตรภูมิพระร่วง ตอนมนุสสภูมิ

ผิรปู อันจะเกิดเป็ นชายก็ดเี ป็ นหญิงก็ดี


เกิดมีอาทิแต่เกิดเป็ นกลละนัน้ โดยใหญ่แต่ละวันแลน้อย ครัง้ ถึง 7
วันเป็นดังน ่ ้าล้างเนื้อนัน้ เรียกว่าอัมพุทะ อัมพุทะนัน้ โดยใหญ่ไปทุกวารไสร้ ครัน้ ได้ถงึ 7 วาร
ข้นเป็ นดังตะกั
่ วอั ่ นเชื่อมอยูใ่ นหม้อเรียกว่าเปสิ เปสินนั ้ ค่อยใหญ่ไปทุกวัน ครัง้ ถึง 7
วันแข็งเป็นก้อนดังไข่ ่ ไก่ เรียกว่าฆนะ ฆนะนัน้ ค่อยใหญ่ไปทุกวัน ครัน้ ถึง 7 วันเป็ นตุ่มออกได้ 5
แห่งดังหู
่ ดนัน้ เรียกว่าเบญจสาขาหูด เบญจสาขาหูดนัน้ เป็นมือ 2 อัน เป็นตีน 2 อัน
หูดเป็นหัวนัน้ อีกหนึ่ง แลแต่นนั ้ ค่อยไปเบือ้ งหน้าทุกวัน ครัน้ 7 วันเป็ นฝา่ มือ
เป็นนิ้วมือแต่นนั ้ ไปถึง 7 วัน คารบ 42 จึงเป็นขน เป็ นเล็บตีน เล็บมือ
เป็นเครือ่ งสาหรับเป็ นมนุษย์ถว้ นทุกอันแล แต่รปู อันมีกลางคนไสร้ 50 แต่รปู อันมีหวั ได้ 84
แต่รปู อันมีเบือ้ งต่าได้ 50 ผสมรูปทัง้ หลายอันเกิดเป็ นสัตว์อนั อยูใ่ นท้องแม่ได้ 184
แลกุมารนัน้ นังกลางท้
่ องแม่ แลเอาหลังมาต่อหนังท้องแม่
อาหารอันแม่กนิ เข้าไปแต่ก่อนนัน้ อยูใ่ ต้กุมารนัน้
อาหารอันแม่กนิ เข้าไปใหม่นนั ้ อยูเ่ หนือกุมารนัน้

ใบงานที่ 2.1 เรือ่ ง เนื้ อหาและคาศัพท์ ตอนมนุสสภูมิ


ตอนที ่ 1
คาชี้แจง ให้นกั เรียนบอกความหมายของคาทีข่ ดี เส้นใต้ให้ถูกต้อง

1. ผิรปู อันจะเกิดเป็ นชายก็ดเี ป็นหญิงก็ดี เกิดมีอาทิแต่เกิดเป็นกลละนัน้ โดยใหญ่แต่ละวันแลน้อย


กลละ หมายถึง
2. เมือ่ กุมารอยูใ่ นท้องแม่นนั ้ ลาบากนักหนา พึงเกลียดพึงหน่ายพ้นประมาณนัก
ก็ชน้ื แลเหม็นกลิน่ ตืดและเอือนอันได้
80 ครอก
ตืด หมายถึง

เอือน หมายถึง

3. จะงอยไส้ดอื นัน้ กลวงขึน้ ไปเบือ้ งบนติดหลังท้องแม่แลข้าวน้าอาหารอันใดแม่กนิ ไสร้


แลโอชารสนัน้ ก็เป็ นน้ าชุ่มเข้าไปในไส้ดอื นัน้
จะงอยไส้ดอื หมายถึง

ไส้ดอื หมายถึง

4. ผิแลว่าเมือ่ แม่เดินไปก็ดี นอนก็ดี ฟื้นตนก็ดี


กุมารอยูใ่ นท้องแม่นนั ้ ให้เจ็บเพียงจะตายแลดุจดังลู
่ กทรายอันพึง่ ออกแล
อยูธ่ รห้อยผิบ่มดิ ุจดังคนอั
่ นเมาเหล้า
อยูธ่ รห้อย หมายถึง

5. คนผูใ้ ดจากแต่นรกมาเกิดจัน้ เมือ่ คลอดออกตนกุมารนัน้ ร้อน


เมือ่ มันอยูใ่ นท้องแม่นนั ้ ย่อมเดือดเนื้อร้อนใจแล
กระหนกระหาย
กระหนกระหาย หมายถึง

6. แลคับตัวออกยากลาบากนัน้ ผิบ่มดิ งนั


ั ่ น้ ดังคนผู
่ อ้ ยูใ่ นนรกแล
แลภูเขาอันชื่อคังไคยบรรพตหีบแลเหงแลบดบีน้ นั ้ แล
บรรพต หมายถึง

หีบ หมายถึง

เหง หมายถึง

7. ฝูงอันมาเกิดเป็ นพระปจั เจกโพธิเจ้าก็ดี แลเป็นพระอรหันตาขีณาสพเจ้าก็ดี


แลมาเป็ นพระองค์อคั รสาวกเจ้าก็ดี
พระปจั เจกโพธิเจ้า หมายถึง

8. เมือ่ จะออกจากท้องแม่วนั นัน้ ไสร้


จึงลมกรรมชวาตก็พดั ให้หวั ผูน้ ้อยนัน้ ลงมาสู่ทจ่ี ะออกแลคับแคบแอ่นยันนักหนา
ลมกรรมชวาต หมายถึง

แอ่นยัน หมายถึง

9. เมือ่ กุมารอยูใ่ นท้องแม่นนั ้ ลาบากนักหนา พึงเกลียดพึงหน่ายพ้นประมาณนัก


ก็ชน้ื แลเหม็นกลิน่ ตืดและเอือนอันได้ 80 ครอก ซึง่ อยูใ่ นท้องแม่อนั เป็นทีเ่ หม็นแลทีอ่ อกลูกออกเต้า
ทีเ่ ถ้า ทีต่ ายทีเ่ ร่ว
ทีเ่ ร่ว หมายถึง

10. ฆนะนัน้ ค่อยใหญ่ไปทุกวัน ครัน้ ถึง 7 วัน เป็นตุ่มออกได้ 5 แห่งดังหู


่ ดนัน้ เรียกว่าเบญจสาขาหูด
เบญจสาขาหูด หมายถึง

ตอนที ่ 2
คาชี้แจง ให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปนี้

1. ลาดับพัฒนาการการเกิดเป็นทารกในครรภ์มารดาสามารถเรียงลาดับได้อย่างไร

2. จงยกตัวอย่างบทประพันธ์ทก่ี ล่าวถึง
สายสะดือของทารกในครรภ์มารดาและการรับอาหารจากมารดาผ่านทาง สายสะดือ

3. จงยกตัวอย่างบทประพันธ์ทพ่ี รรณนาท่าทางของทารกตอนอยูใ่ นครรภ์มารดา


4. จากเรือ่ ง ไตรภูมพิ ระร่วง ตอนมนุสสภูม ิ ความตอนหนึ่งกล่าวถึงในครรภ์มารดาว่ามีสภาพ
“ร้อนนักหนาดุจดังเรา

เอาใบตองเข้าจ่อตน แลต้มในหม้อนัน้ ไสร้”
แต่เพราะเหตุใดทารกในครรภ์จงึ ไม่ตายเพราะความร้อนนัน้

5. ตามความเชื่อทีป่ รากฏในตอน มนุสสภูม ิ ทารกทีม่ าจากนรกและสวรรค์


เมือ่ อยูใ่ นครรภ์มารดามีลกั ษณะแตกต่างกันอย่างไร

6. ตามความเชื่อทีป่ รากฏในตอน มนุสสภูม ิ ทารกทีม่ าจากนรกและสวรรค์


เมือ่ คลอดออกมาจากครรภ์มารดาแล้ว
จะแสดงลักษณะต่างกันอย่างไร
7. ช่วงทีท่ ารกกาลังจะคลอดออกจากครรภ์มารดา แต่ไม่สามารถคลอดออกมาได้
ทารกมีความรูส้ กึ อย่างไร

8. ทารกทีม่ าเกิดเป็ นพระปจั เจกพุทธเจ้า พระอรหันต์หรือพระอัครสาวกของพระพุทธเจ้า


มีลกั ษณะพิเศษอย่างไรบ้าง

9. ทารกทีอ่ ยูใ่ นครรภ์มารดาเพียง 7 เดือน แล้วก็คลอดออกมา จะมีลกั ษณะอย่างไร

10. จากเรือ่ ง ไตรภูมพิ ระร่วง ตอนมนุสสภูม ิ ความตอนหนึ่งว่า


่ านผูจ้ ะออกมาเป็ นพระปจั เจกโพธิเจ้าก็ด ี
“บ่เริม่ ดังท่ ผูจ้ ะมาเกิดเป็นลูกพระพุทธเจ้าก็ดี
คานึงรูส้ กึ ตนแลบ่มหิ ลงแต่สองสิง่ นี้คอื เมือ่ จะเอาปฏิสนธิแลอยูใ่ นท้องแม่นนั ้ ได้แล
เมือ่ จะออกจากท้องแม่นนั ้ ย่อมหลงดุจคนทัง้ หลายนี้แล ส่วนว่าคนทัง้ หลายนี้ไสร้ยอ่ มหลงทัง้ 3 เมื่อ
ควรอิม่ สงสารแล”
คาว่า “ทัง้ 3 เมื่อ” ในข้อความข้างต้น หมายถึงเมือ่ ใดบ้าง
ใบงานที่ 2.1 เรือ่ ง เนื้ อหาและคาศัพท์ ตอนมนุสสภูมิ เฉลย
ตอนที1่
คาชี้แจง ให้นกั เรียนบอกความหมายของคาทีข่ ดี เส้นใต้ให้ถูกต้อง

1. ผิรปู อันจะเกิดเป็ นชายก็ดเี ป็นหญิงก็ดี เกิดมีอาทิแต่เกิดเป็นกลละนัน้ โดยใหญ่แต่ละวันแลน้อย


กลละ หมายถึง รูปแรกเริม่ ทีปฏิ ่ สนธิในครรภ์มารดาในช่วงสัปดาห์แรก เปรียบได้กบั

นาผมของคนมาผ่า 8 ครัง้ แล้วจุม่ ลงในน้ ามันงาทีใสมากและสลั


่ ด 7 ครัง้ แล้วถือไว้
น้ ามันทีเ่ หลือติดอยูท่ ปี ่ ลายผมนัน้ ยังมี
ขนาดใหญ่กว่ากลละ

2. เมือ่ กุมารอยูใ่ นท้องแม่นนั ้ ลาบากนักหนา พึงเกลียดพึงหน่ายพ้นประมาณนัก


ก็ชน้ื แลเหม็นกลิน่ ตืดและเอือนอันได้
80 ครอก
ตืด หมายถึง พยาธิ

เอือน หมายถึง พยาธิในท้องชนิดหนึง่ (ภาษาถิน่ ใต้ เอือน แปลว่า ตืด)

3. จะงอยไส้ดอื นัน้ กลวงขึน้ ไปเบือ้ งบนติดหลังท้องแม่แลข้าวน้าอาหารอันใดแม่กนิ ไสร้


แลโอชารสนัน้ ก็เป็ นน้ าชุ่มเข้าไปในไส้ดอื นัน้
จะงอยไส้ดอื หมายถึง ปลายสายสะดือ

You might also like