You are on page 1of 15

บทที่ 1

ความพิวเตอร์เทคโนโลยี จาก อดีต จนถึงปัจจุบัน


Computer มี รากศั พ ท์ จ ากภาษาลาติ น ว่า “Computare” ซึ่ งหมายถึ ง การนั บ การ
คานวณ
คุณลักษณะสาคัญของคอมพิวเตอร์
• มีความเร็วในการประมวลผลสูง (Speed)
• มีการทางานทีถ่ ูกต้องเชื่อถือได้ (Reliability)
• มีความถูกต้องแม่นยา (Accurate)
• จัดเก็บข้อมูลได้มาก (Storage capacity)
• สามารถย้ายข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็ว (Transferring Information)

วิวัฒนาการของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
• ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
เริ่มแรก: ก่อนคริสตกาล
- 3500 ปี ก่อน ค.ศ. ชาวบาบิโลเนียน บันทึกข้อมูลตัวเลขเป็น ตาราง (Cuneiform Tablet) ไว้บน
พื้นดิน
- 3000 ปี ก่อน ค.ศ.ชาวจีนประดิษฐ์ ลูกคิด (Abacus) ขึน้ เพื่อช่วยในการคานวณ บวก ลบ คูณ หาร
เริ่มแรก: การประดิษฐ์เครื่องช่วยคิด
- ค.ศ. 1617 - จอหน์ เนเปี ยร์ (John Napier) นักคณิตศาสตร์ชาวสก็อต ได้ประดิษฐ์เครื่องมือช่วยใน
การคูณ หาร และการถอดกรณฑ์แบบง่าย ซึ่งมีชื่อเรียกว่า Napier’s Bones
- ค.ศ.1642 - เบลส์ ปาสคาล (Blaise Pascal) นักปรัชญาและนักคณิตศาสตร์ ชาวฝรั่งเศสได้ประดิษฐ์
เครื่องบวกเลข ทีส่ ร้างจากฟันเฟือง 8 ตัว
- ค.ศ.1673 - กอทฟริ ต ฟอน ลิ ป นิ ช (Gottfried Von Leibniz) นั ก คณิ ต ศาสตร์ ชาวเยอรมั น ได้
ประดิษฐ์ เครื่องที่สามารถ คูณและหารได้ มีชื่อว่า Stepped Reckoner

เริ่มแรก: การป้อนรหัสลายผ้า
- ค.ศ.1745 - โจเซฟ แมรี่ แจคคาร์ด (Joseph Marie Jacquard) นักคิดชาวฝรั่งเศสได้ประดิษฐ์เครื่อง
ทอผ้า ที่ผู้ใช้สามารถป้อนคาสั่งควบคุมการทางานของการผลิตลายผ้าแบบต่างๆ ผ่าน บัตรเจาะรู
(Punched Card)
ชาร์ล แบบเบจ: บิดาแห่งคอมพิวเตอร์
- ค.ศ. 1801ชาร์ล แบบเบจ (Charles Babbage) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ สร้าง เครื่องหาผลต่าง
(Difference Engine )เป็นเครื่องคานวณเชิงกลที่ทางานด้วยแรงดันไอน้า
- ต่อมาเขาได้พัฒนาตัวแบบ เครื่องเชิงวิเคราะห์(Analytical Machine) เพื่อแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ที่
ซับซ้อน การออกแบบของเขามีการใช้หน่วยความจา หน่วยคณิตศาสตร์ และมีหน่วยเก็บคาสั่ง
เอดา ออกุสตา ไบรอน: โปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก
- เอดา ออกุสตา ไบรอน (Ada Augusta Byron) เป็นนักคณิตศาสตร์ที่สามารถเข้าใจและร่วมพัฒนา
ผลงานของ แบบเบจ ในการเขียนคาสั่งเพื่อให้เครื่องเชิงวิเคราะห์นั้นแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้ จึง
ได้รับยกย่องว่าเป็น โปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก
เฮอร์แมน ฮอลเลอร์ริท กับ เครื่อง Tabulator
- ค.ศ. 1887 เฮอร์แมน ฮอลเลอร์ ริท (Herman Hollerith) ชาวอเมริกัน ได้พั ฒ นา เครื่ องอ่า นบั ต ร
คอลัมน์ (Tabulator) ซึ่งใช้บันทึกข้อมูลการสารวจสามะโนประชากรของสหรัฐอเมริกา และได้เปิด
บริษัท Computing Tabulating Recording (CTR) เพื่อจาหน่ายเครื่องอ่านบัตร
- ต่ อ มาบริ ษั ท CTR ได้ ร วมกั บ บริ ษั ท อื่ น และกลายเป็ น บริ ษั ท ไอบี เอ็ ม (International Business
Machine: IBM)
• จอห์น อตานาซอฟ ได้รับการประกาศให้เป็น ผู้ประดิษฐ์ดิจิทัลคอมพิวเตอร์อิเล็กโทร
นิกส์เครื่องแรกของโลก อย่างเป็นทางการในปี 1972

• จอห์น ฟอน นิวแมนน์ ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาคอมพิวเตอร์คนที่ 2 เนื่องจาก เขาได้


เสนอโครงสร้างของเครื่องซึ่งเป็นรากฐานการทางานของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน

ยุคของคอมพิวเตอร์
• ยุคที่หนึ่ง (1951 – 1958) คอมพิวเตอร์มีขนาดใหญ่ ใช้ ไฟฟ้าแรงสูง
• ยุคที่สอง (1959 – 1964) มีขนาดเล็ก มีความร้อนน้อย และราคาถูก
• ยุคที่สาม (1965 – 1971) มีขนาดเล็กลงกว่าเดิม ความเร็วเพิ่มขึ้น และใช้ ความร้อนน้อย
• ยุคที่สี่ (1971 – 1980) คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กหรือเรียกว่า ไมโครคอมพิวเตอร์ ทางานเร็ว ไม่ร้อน
และมี ประสิทธิภาพสูง
• ยุคที่ห้า (1980 – ปัจจุบัน) คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ทางานเร็วและมี ประสิทธิภาพ สูง

การจาแนกประเภทคอมพิวเตอร์ตามขนาด (Scale)
• ระดั บซุป เปอร์ค อมพิ วเตอร์ (Supercomputer) เป็น คอมพิว เตอร์ที่มี ขนาดใหญ่ ที่ สุ ด ทางานได้
รวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูงที่สุด
• ระดับเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่และประสิทธิภาพ
สูง รองลงมาจากซุปเปอร์คอมพิวเตอร์
• ระดับมินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เป็นเครื่องที่มีสถาปัตยกรรมคล้ายกับเครื่องแบบเมนเฟรม
แต่มีขนาดเล็ก และราคาถูกกว่า สามารถนามาใช้งานแบบ Multi-users และ Multi-programming
ได้ เช่นเดียวกับเมนเฟรม แต่ประสิทธิภาพจะต่ากว่า
• ระดับ คอมพิวเตอร์ส่วนบุค คล (Personal Computer) PC เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์แบบมีผู้ใช้คน
เดียว ซึ่งจะถูกควบคุมโดยผู้ใช้โดยตรง
• ระดับพีดีเอ (PDA – Personal Digital Assistant) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กมากเหมาะสาหรับ
พกพา สามารถวางอยู่ บ นฝ่ ามือเพียงมือเดียวได้ มีระบบจอภาพแบบสั มผั ส และอาจใช้ป ากกาที่
เรียกว่า สไตล์ลัส (Stylus) เพื่อเขียนข้อความลงบนจอภาพเพื่อป้อนข้อมูลเข้าเครื่องได้
• ระดับคอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embedded computers) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ถูกฝังไว้ในอุปกรณ์ต่าง ๆ
ทาให้ มองไม่เห็น จากรูปลักษณ์ ภายนอกว่าเป็นอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ มักใช้กับงานเฉพาะด้าน เช่น
ควบคุมการทางานของอุปกรณ์อื่น เป็นต้น

เทคโนโลยีในปัจจุบันสู่เทคโนโลยีในอนาคต
• Cloud Computing คือเทคโนโลยีที่มีอินเตอร์เน็ตเป็นพื้นฐาน ผู้ใช้จะสนใจเฉพาะบริการจากระบบ
เท่านั้น เช่น บริการซอฟต์แวร์ต่างๆ หรือ บริการสื่อบันทึกข้อมูล เป็นต้น โดยไม่ต้องสนใจว่าเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลซอฟต์แวร์นั้น หรือ จัดเก็บข้อมูลนั้น เป็นเครื่องอะไรและอยู่ที่ไหน
• Mobile Application โปรแกรมประยุ ก ต์ ส าหรั บ โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ (Mobile Application) ได้ ถู ก
พัฒ นาขึ้น มาทางานบนแพลตฟอร์มของโทรศัพ ท์มือถือมากมาย เช่น ระบบแผนที่ นาทาง ระบบ
สนทนา เกมส์ เข้าเว็บ เช็คอีเมล์ สังคมออนไลน์ เป็นต้น
• Ubiquitous Computing (ยู บิ ควิ ตัส) เป็นคาที่ซึ่งมีความหมายอย่างกว้างๆ ว่า ทุกๆที่ทุกๆเวลา
หรือในภาษาอังกฤษคือ “All over the place” แนวคิดคือการนาเทคโนโลยีเข้ามาร่วมกับการดาเนิน
ชี วิ ต ของมนุ ษ ย์ ซึ่ งมนุ ษ ย์ จ ะต้ อ งสามารถเข้ า ถึ งการใช้ งานเทคโนโลยี ได้ จ ากทุ ก ที่ ทุ ก เวลา และ
เทคโนโลยีจะต้องเข้ามาประสานการดาเนินชีวิตให้สะดวกขึ้น
• Biometrics ซึ่งเป็นศาสตร์ ทางคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการในการ ระบุตัวบุคคล หรือ
ตรวจสอบตัวตนของบุคคล โดยใช้ลักษณะที่แตกต่างกันของแต่ละบุคคล
• Advance Computer Interaction ในปัจจุบันอุปกรณ์ที่ใช้ในการมีปฏิสัมพันธ์กับคอมพิวเตอร์โดย
หลักคือ Mouse และ Keyboard
แต่ในอนาคตอันไกลนี้ ผู้ใช้จะมีวิธีการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ในลักษณะอื่นๆ เช่น
- ใช้เสียงในการโต้ตอบ (Voice Interaction)
- ติดต่อผ่านกล้อง (Camera Interaction)
- ใช้ความคิดในการควบคุม (Brain Computer Interaction)
บทที่ 2
คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ (Hardware Computer)
ฮาร์ดแวร์คืออะไร
- เป็นส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ที่เราสามารถจับต้องได้
- สามารถแบ่งกลุ่มตามหน้าที่ในส่วนของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ได้ออกเป็น 5 ส่วน แต่ละส่วนต่างทา
หน้าที่ที่แตกต่างกันไป แต่ก็มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน ดังนี้
1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) เป็นหน่วยอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ รับคาสั่งหรือรับข้อมูล จากผู้ใช้ หรือ
จากสิ่งแวดล้อม เข้าสู่คอมพิวเตอร์เพื่อให้คอมพิวเตอร์ดาเนินการประมวลผลต่อไป
2. ส่วนประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU)
3. หน่วยแสดงผลข้อมูล (Output Unit) อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้สาหรับแสดงผลการทางานหรือผลลัพธ์ที่
ได้หลังจากที่คอมพิวเตอร์ประมวลผลข้อมูลเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
4. หน่วยจัดเก็บข้อมูล (Storage Unit)
5. ส่วนต่อประสาน (Connectivity) คือ ช่องทางในการสื่อสารระหว่างหน่วยอุปกรณ์อื่นๆ

หน่วยความจา (Memory) คือหน่วยสาหรับเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็นสองประเภท


- หน่วยความจาหลัก (Primary Memory)
• RAM (Random Access Memory)
• ROM (Read Only Memory)
- หน่วยความจารอง (Secondary Memory)
• สื่อบันทึกแม่เหล็ก (Magnetic Storage Media)
• สื่อบันทึกที่ต้องอ่านด้วยแสง (Optical Storage Media)
• สื่อบันทึกแบบโซลิตสเตท (Solid State Media)

หน่วยประมวลผล (Processing Unit)


หน่วยประมวลผลคือหน่วยที่แปลคาสั่งแล้วทาการประมวลผลคาสั่งเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ
ได้แก่
• หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU)
• หน่วยประมวลผลร่วม (Coprocessor/ Chipsets)
บทที่ 3
ซอฟต์แวร์ (Software)
ความหมายของซอฟต์แวร์
• ซอฟต์แวร์ คือ ชุดคาสั่งที่ถูกส่งไปประมวลผลที่เครื่องคอมพิวเตอร์โดยมีวัตถุประสงค์อย่างใดอย่าง
หนึ่ง
• ซอฟต์แวร์ถูกเรียกอีกอย่างว่า “โปรแกรมคอมพิวเตอร์”
• โปรแกรมคอมพิวเตอร์จะไปประกอบด้วย คาสั่งจิ๋ว (Instruction) ที่ทาหน้าที่เฉพาะด้าน เช่น การ
LOAD ข้อมูลจาก หน่วยความจา เป็นต้น
• คาสั่งจิ๋ว จะถูกส่งไปที่หน่วยประมวลผล CPU เพื่อทาการถอดรหัสคาสั่ง และปฏิบัติงานตามคาสั่งที่
ได้รับมา
คุณสมบัติของซอฟต์แวร์
• เป็นโปรแกรมที่กาหนดไว้แล้ว ใช้สาหรับควบคุมการทางานของฮาร์ดแวร์
• ฮาร์ดแวร์ไม่สามารถทางานได้นอกเหนือโปรแกรมที่ได้กาหนดไว้ได้
• ซอฟต์แวร์สามารถ
- ติดตั้งใหม่ได้ (Installable)
- ถอนการติดตั้งได้ (Removable)
- สามารถเพิ่มเติมได้ (Upgradeable, Updatable)
• ซอฟต์แวร์ที่ดีควรมีคุณสมบัติต่อไปนี้
- มีความถูกต้อง (Correctness)
- มีความน่าเชื่อถือ (Reliability)
- เป็นมิตรต่อผู้ใช้ (User Friendliness) หมายถึง ใช้งานง่าย
- มีประสิทธิภาพ (Efficiency) เช่น ทางานได้เร็ว ใช้ทรัพยากรน้อย
- มีความมัน่ คงปลอดภัย (Security/Safety) เช่น การเข้ารหัสข้อมูลให้เป็นความลับ
ประเภทของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์สามารถแบ่งเป็นสองประเภทดังต่อไปนี้
• ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) หมายถึง โปรแกรมที่ ทาหน้าที่ติดต่อกับส่วนประกอบต่าง ๆ
ของฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์โดยตรง และอานวยฟังก์ชันทางานพื้นฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับฮาร์ดแวร์
• ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) หมายถึง โปรแกรมที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อตอบสนองต่อ
ความต้องการของผู้ใช้ในด้านต่างๆ เช่น การจัด ทาเอกสาร การทางานเฉพาะด้าน หรือ เพื่อความ
บันเทิง เป็นต้น

ระบบปฏิบัติการ (Operating System)


ระบบปฏิบัติการ เป็นโปรแกรมที่ทางานเป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้และฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์
ชนิดของระบบปฏิบัติการ
• ระบบปฏิบัติการบนเครื่องเดี่ยว (Stand-alone OS) เป็นระบบที่ใช้กันทั่วไปในเครื่องแบบเดสทอป
โน้ตบุ๊ก เครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา หรือ Smart phone ทั่วไปเช่น Dos, Windows, Windows
Phone , Mac OS, iOS , Android เป็นต้น
• ระบบปฏิบั ติการแบบเครือข่าย (Network OS : NOS) เป็นระบบที่ใช้คอยควบคุมการทางานของ
คอมพิวเตอร์ที่มีการเชื่อมต่อกัน ตัวอย่าง เช่น Windows NT Server, Windows XP Server, UNIX
, Linux เป็นต้น
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ
• จัดสภาพแวดล้อมให้ผู้ใช้สามารถปฏิบัติงานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ โดยเตรียมส่วนติดต่อกับผู้ใช้
(User Interface) ไว้
• จัดการทรัพยากร (Resources Management)
- จัดการการประมวลผล (Processes Management)
- การจัดการหน่วยความจา (Memory management)
- จัดการแฟ้มข้อมูล (File Management)
- การจัดการอินพุต / เอาต์พุต (I/O management)
- จัดการเกี่ยวกับระบบเครือข่าย (Networking Management)
• ให้บริการ (Services) กับผู้ใช้และซอฟต์แวร์ประยุกต์ ในด้านอื่นๆ
- บริการด้านการติดต่อกับฮาร์ดแวร์
- บริการด้านการเรียกใช้งานโปรแกรมและข้อมูล
- บริการการด้านการควบคุมการประมวลผล เช่น หยุดการประมวลผลโปรแกรมเมื่อต้องการ
(Process Termination)
- บริการด้านความปลอดภัย (Security)

ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Computer Virus)


• ไวรัส คือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่บุกรุกเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ใช้
ส่วนมากมักจะมีประสงค์ร้ายและสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์
• ไวรัส สามารถทาสาเนาของตัวเองเพื่อแพร่ออกไปโดยการสอดแทรกตัวสาเนาไปในรหัสคอมพิวเตอร์
ส่วนที่สามารถปฏิบัติการได้หรือข้อมูลเอกสาร
• ไวรัส โดยทั่วไปจะไม่ส่งผลก่อให้เกิดความเสียหายต่ อฮาร์ดแวร์โดยตรง แต่จะทาความเสียหายต่อ
ซอฟต์แวร์ และ ข้อมูล
การป้องกันและแก้ไขไวรัส
• โปรแกรมป้ องกัน ไวรัส (Antivirus software) เป็นโปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อป้องกันและกาจัดไวรัส
คอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
• ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือโปรแกรมที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อนามาใช้งานต่อความต้องการหรือวัตถุประสงค์ที่
เฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง
• ซอฟต์แวร์ประยุกต์ถูกนามาใช้งาน จากระดับผู้ใช้ทั่วไปจนถึงองค์กรขนาดใหญ่
• ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
- ซอฟต์แวร์ที่สั่งทาเฉพาะ (Special purpose software/ Custom-built software)
- ซอฟต์แวร์สาหรับงานทั่วไป (General purpose software/ Package software)
ซอฟต์แวร์สาหรับการสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication Software)
• เป็นซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่ในการเชื่อมต่อกับระบบเครือข่าย เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถสื่อสารกันได้
ภายในเครือข่าย และให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์สามารถสื่อสารกันได้บนเครือข่ายนั้น
• ตัวอย่างเช่น
- Web Browser
- Line
- Skype
Software as a Service (SaaS)
• SaaS ให้ ซ อฟต์ แ วร์ เป็ น บริ ก าร (Service) ที่ ส ามารถน ามาใช้ ได้ ผ่ านเครือ ข่ าย โดยผู้ ใช้ ไม่ ต้ อ งลง
โปรแกรมไว้ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเอง
• ผู้ใช้ติดต่อไปยังผู้ให้บริการซอฟต์แวร์ผ่านทางเครือข่าย และสามารถให้งานซอฟต์แวร์นั้นได้ผ่าน Web
Brower
บทที่ 4
ระบบจานวนและรหัสข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
(Number Systems and Data Representation)
ระบบจานวนและเลขฐาน
• เลขฐาน หมายถึง กลุ่มข้อมูลที่มี จานวนหลัก (Digit) ตามชื่อของฐานนั้นๆเช่น เลขฐานสอง ฐานแปด
และฐานสิบ ประกอบด้วยข้อมูลตัวเลขจานวนสองหลัก (0-1) แปดหลัก (0-7) และสิบหลัก (0-9) ตาม
ลาดับ ดังตัวอย่าง
• ระบบเลขฐานสิบ (Decimal number) คือเลขที่เราใช้อยู่ในชีวิตประจาวัน โดยใช้สัญลักษณ์ 10 ตัว
ระบบเลขฐานสอง
• ระบบเลขฐานสองจะต้องเตรียมสัญลักษณ์ไว้สองตัว คือ 0 และ 1
คุณลักษณะของระบบเลขฐาน
• ระบบเลขฐาน N ประกอบด้วยสัญลักษณ์ N ตัว คือ เลข 0 – (N - 1)
• ค่าของเลขในแต่ละหลักมีค่าต่างกันขึ้นกับตาแหน่งของเลขนั้นๆ
การแปลงเลขฐาน
• การแปลงเลขฐานใดๆ เป็นเลขฐานสิบ
• การแปลงเลขฐานสิบ เป็นฐานใดๆ
• การแปลงเลขฐานใดๆ เป็นฐานใดๆ (นา ข้อ 1 และ 2 มาทาต่อกัน)
• การแปลงเลขฐานที่มีความสัมพันธ์กัน
การแทนค่าข้อมูลในคอมพิวเตอร์ (data representation)
• ข้อมูลในคอมพิวเตอร์เป็นดิจิตอลทั้งหมด กล่าวคือเป็นรหัสที่ใช้สัญลัษณ์ 0 และ 1
• โดยการนา 0 และ 1 มาเรียงต่อกัน เช่น 01000010 โดยแต่ละตัวเรียกว่า บิต (bit)
• ถ้า 8 ตัวเรียงจะเรียกว่า ไบท์ (Byte)
• เพราะคอมพิวเตอร์เป็นระบบดิจิตอล ภายในมีสัญญาณเพียง 2 ลักษณะคือ 1 และ 0
• สัญลักษณ์ ต่างๆ ที่เราใช้กันจะต้องถูกแปลงให้อยู่ในรูปของการนาตัวเลข 0 และ 1 มาเรียงต่อกัน
ดังเช่น ตัวอักษร B จะใช้สัญลักษณ์ 8 ตัวเรียงต่อกัน
• ในที่นี้สัญลักษณ์ 1 ตัวเราเรียกว่า บิต (bit)
• ถ้า 8 บิต เรียกว่า ไบท์ (byte)
• ถ้า 16 บิต เรียกว่า เวิร์ด (word)
• ถ้า 32 บิต เรียกว่า ลองเวิร์ด (long word)
การเข้าและถอดรหัสข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
• การเข้ารหัส คือ การเปลี่ยนจากตัวเลขหรือตัวอักษรหรือภาพ เสียง ให้อยู่ในรูปของค่าเลข 0 หรือ 1
ที่เรียงต่อกัน
• การถอดรหั ส คื อ การเปลี่ ย นจากค่ารหั ส ที่ เป็ น ค่ าเลข 0 หรือ 1 ที่ เรีย งต่ อ กัน มาเป็ น ตั ว เลขหรือ
ตัวอักษรหรือภาพ เสียง
• รหัสเหล่านี้จะเข้าตามรูปแบบที่ได้คิดค้นขึ้น เช่น ภาพ อาจเข้าแบบ jpeg, gif, bmp
เสียง อาจเข้าแบบ mp3, wma, avi
รหัสข้อมูลแบบ unicode
• ยูนิ โคด (อังกฤษ: Unicode) คือมาตรฐานอุตสาหกรรมที่ช่วยให้ คอมพิวเตอร์แสดงผลและจัดการ
ข้อความธรรมดาที่ ใช้ในระบบการเขียนของภาษาส่ ว นใหญ่ ในโลกได้ อย่ างสอดคล้ องกัน ยูนิ โคด
ประกอบด้วยรายการอักขระที่แสดงผลได้มากกว่า 100,000 ตัว
• ยูนิโคด เข้ารหัสแต่ละตัวอักขระด้วยขนาด 16 บิต

บทที่ 5
การทางานของระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบที่สาคัญคือ
1. มนุษย์ (People)
2. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
3. ซอฟต์แวร์ (Software)
4. ข้อมูล (Data)
5. การสื่อสาร (Communication)

มนุษย์ (People)
• มนุษย์ เป็นผู้ขับเคลื่อนให้เกิดการทางานขึ้นในระบบคอมพิวเตอร์
• มนุษย์ เป็นแหล่งของข้อมูลที่ถูกส่งเข้าไปประมวลผลในระบบ
- เช่น การป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบ ด้วย การพิมพ์ การสแกน หรือ การคลิกเลือกข้อมูล
• มนุษย์ เป็นแหล่งของเหตุการณ์ที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบคอมพิวเตอร์ –เช่น การออกค่า
สั่งให้คอมพิวเตอร์คานวณข้อมูล สั่งให้แสดงผล หรือ พิมพ์รายงาน
• มนุษย์ เป็นผู้ใช้ประโยชน์จากผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการทางานของคอมพิวเตอร์
• บทบาทของมนุษย์ที่มีต่อระบบคอมพิวเตอร์นั้นมีหลายบทบาท ได้แก่ เป็นผู้ใช้ (Users) เป็นผู้พัฒนา
ระบบ (System Developer) หรือ เป็นผู้ดูแลระบบ (System Administrators)

ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
• ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ที่เป็นอุปกรณ์เชิงกายภาพ (Physical Devices)
เราสามารถจับต้องได้
• สามารถแบ่งกลุ่มตามหน้าที่ในส่วนของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ได้ออกเป็น 5 หน่วย ดังนี้
1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
2. หน่วยประมวลผล (Processing Unit)
3. หน่วยแสดงผลข้อมูล (Output Unit)
4. หน่วยจัดเก็บข้อมูล (Storage Unit)
5. หน่วยต่อประสาน (Connectivity)
ซอฟต์แวร์ (Software)
• ซอฟท์แวร์เป็นกลุ่มของคาสั่งที่กาหนดการทางานของฮาร์ดแวร์
• ซอฟต์แวร์เป็นสิ่งควบคุมให้คอมพิวเตอร์ทางานได้ตามวัตถุประสงค์ที่เราต้องการ
• ซอฟท์แวร์แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของ องค์ประกอบฮาร์ดแวร์
ต่างๆ ให้สามารถทางานร่วมกันได้
2. ซอฟท์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อทางานตามวัตถุประสงค์การใช้
งานของผู้ใช้

ข้อมูล (Data)
• ข้อมูล คือข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมต่างๆ ในสิ่งแวดล้อมของระบบ
• ข้อมูล จะถูกนาเข้ามาจัดเก็บและประมวลผล ในระบบคอมพิวเตอร์
• ข้อมูลมีหลากหลายชนิด ได้แก่
1. ข้อมูลเชิงตัวเลข (Numeric Data) เช่น จานวนเต็ม หรือ จานวนจริง
2. ข้อมูลเชิงข้อความ (Text Data) เช่น ตัวอักขระ หรือ ข้อความ
3. ข้อมูลเสียง (Audio Data) เช่น ไฟล์เพลงชนิดต่างๆ Wave, MIDI, MP3
4. ข้อมูลภาพ (Images Data) เช่น ไฟล์ภาพชนิดต่างๆ Bitmap, JPEG, GIF
5. ข้อมูลภาพเคลื่อนไหว (Video Data) เช่น ไฟล์วีดีชนิดต่างๆ AVI, MPEG

คอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร (Communication)
• คอมพิวเตอร์ที่ทางานเพียงเครื่องเดียวถูกเรียกว่า “Standalone computer”
• ปั จ จุ บั น ด้ ว ยเทคโนโยลี เครื อ ข่ า ย (Network technology) ท าให้ ค อมพิ ว เตอร์ ส ามารถสื่ อ สาร
แลกเปลี่ย นข้อมูล กัน ได้ จึงทาให้ เกิดเป็น โครงสร้างของระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ (Computer
network) ขึ้น
• ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทาให้การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์มีความหลากหลายและเกิดประโยชน์
มากยิ่งขึ้น (ติดตามเนื้อหาเกี่ยวกับระบบเครือข่ายในบทถัดไป)

การทางานของคอมพิวเตอร์
• ในส่วนนี้เป็นการอธิบายถึงวิธีการทางานของคอมพิวเตอร์ในหัวข้อต่อไปนี้
- วิธีการแปลงสัญญาณของคอมพิวเตอร์
- วิธีการแทนข้อมูลของคอมพิวเตอร์
- วิธีการสื่อสารข้อมูลของคอมพิวเตอร์
- วิธีการเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์
- วิธีการประมวลผลของคอมพิวเตอร์
- วิธีการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอก
วิธีการแปลงสัญญาณของคอมพิวเตอร์
• สั ญ ญาณที่ มี อยู่ ทั่ ว ไปตามธรรมชาติ เช่ น เสี ย ง ไฟฟ้ า หรือคลื่ น แม่ เหล็ ก ไฟฟ้ า จะมี ลั กษณะของ
สัญญาณเป็น “คลื่นแบบต่อเนื่อง” เรียกว่า สัญญาณอนาล็อก (Analog Signal)
• คอมพิวเตอร์มีวิธีการประมวลผลสัญญาณในแบบสัญญาณดิจิตอล (Digital Signal) ซึ่งลักษณะของ
สัญญาณจะมีเพียงสองสถานะคือ เปิดและปิด (On/Off)
- สัญญาณดิจิตอลจะแทนสัญลักษณ์ของ สถานะเปิดด้วย 1 และสถานะปิดด้วย 0
• ข้อมูลสัญญาณที่เป็นอนาล็อกจะต้องถูกแปลงเป็นสัญญาณแบบดิจิตอลเพื่อนาเข้าไปประมวลผลใน
คอมพิวเตอร์
• ข้อมูลสัญญาณที่เป็นดิจิตอลก็จะถูกแปลงกลับเป็นสัญญาณอนาล็อกเพื่อแสดงผลสู่ภายนอก
• คอมพิวเตอร์จะมีตัวแปลงสัญญาณ 2 ชนิดที่แปลงสัญญาณระหว่างอนาล็อกและดิจิตอล
–Analog-Digital Converter (ADC) แปลงจากอนาล็อกเป็นดิจิตอล
–Digital-Analog Converter (DAC) แปลงจากดิจิตอลเป็นอนาล็อก
วิธีการแทนข้อมูลของคอมพิวเตอร์
• ข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ มีหลายประเภท เช่น จานวน ข้อความ ภาพ หรือ เสียง
• เมื่อนาข้อมูลเหล่านั้นไปประมวลผลในคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องทาการ เข้ารหัสแบบดิจิตอลเพื่อแทน
ข้อมูลเดิม และจะต้องมีการแปลรหัสจากรหัสดิจิตอลกลับคืนสภาพเดิม

วิธีการสื่อสารข้อมูลของคอมพิวเตอร์
• องค์ประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ จาเป็นต้องมีการสื่อสารระหว่างกัน ดังนั้น จาเป็นต้องมีหน่วยต่อ
ประสานเป็นตัวกลางในการเชื่อมต่อ
• แผงวงจรหลักที่ทาหน้าที่เป็นหน่วยต่อประสานภายในคอมพิวเตอร์คือ เมนบอร์ด (Mainboard)
• บนเมนบอร์ดจะมีช่องทางการสื่อสารที่เรียกว่า BUS ซึ่งทาหน้าที่เป็นตัวกลางการสื่อสารสัญญาณ
ระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์

• รูปแบบการส่งสัญญาณของคอมพิวเตอร์
- ส่งสัญญาณแบบอนุกรม (Serial Transmission)
- ส่งสัญญาณแบบขนาน (Parallel Transmission)
• ประสิทธิภาพในการสื่อสารข้อมูลขึ้นอยู่กับ
- ความกว้างของ BUS
• เช่น BUS ขนาด 32 bits สามารถส่งข้อมูลแบบขนานได้ครั้งละ 32 สัญญาณ
- ความถี่ของ BUS
• เช่น BUS ที่มีความถี่ 650 MHz สามารถส่งข้อมูลได้ 650 ล้านรอบต่อวินาที

วิธีการเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์
• คอมพิวเตอร์จะมีการเก็บข้อมูล 2 ลักษณะ
- เก็บแบบลบเลือนได้
• คือการเก็บข้อมูลไว้ในหน่วยความจาหลัก เช่น RAM หรือ Cache
• ข้อมูลมูลจาเป็นต้องมีไฟฟ้ารักษาสภาพอยู่ตลอดเวลา
• ข้อมูลจะลบเลือนไปเมื่อทาการปิดเครื่อง
- เก็บแบบไม่ลบเลือน
• คือการเก็บไว้ในสื่อบันทึกข้อมูล เช่น Disk, CD, หรือ Flash Memory
• ข้อมูลยังรักษาสภาพอยู่ได้บนสื่อบันทึก ถึงแม้ไม่มีไฟฟ้า

หน่วยของข้อมูลคอมพิวเตอร์
• Bit คือหน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูลดิจิตอล ซึ่งอาจจะเป็นสถานะทางฟ้าหรือแม่เหล็กหรือรหัสที่มีสอง
สถานะคือ On/Off ซึ่งอาจแทนด้วยสัญลักษณ์ 0/1
• Byte = 8 bits
• หน่วยความจาของคอมพิวเตอร์มีความจุที่จากัด เช่น
- Harddisk มีความจุประมาณที่ 1 TB
- DVD มีความจุประมาณที่ 4 - 5 GB
- RAM มีความจุประมาณที่ 2 – 4 GB

วิธีการประมวลผลของคอมพิวเตอร์
• คอมพิวเตอร์ประมวลผลตามคาสั่งที่กาหนดไว้ในโปรแกรม (ซอฟต์แวร์)
• ปกติโปรแกรมจะถูกติดตั้งไว้ที่สื่อบันทึกข้อมูล เช่นติดตั้งไว้บน Harddisk
• โปรแกรมจะถูกโหลดเข้าไปยังหน่วยความจาหลักเมื่อมีการเรียกใช้งาน
• CPU จะทาการอ่านคาสั่งจากหน่วยความจาหลักเพื่อไปประมวลผล
• ดังนั้นการประมวลผลของคอมพิวเตอร์จึงมี สื่อบันทึกข้อมูล หน่วยความจาหลัก และซีพียู ที่จะทางาน
เกี่ยวข้องกันเสมอ
• ความเร็ วในการประมวลผลของ CPU พิ จ ารณาจากความถี่ของสั ญ ญาณนาฬิ กา (Clock) ซึ่ งเป็ น
สัญญาณคอยกากับจังหวะการทางานของ CPU
• ปัจจุบันความถี่สัญญาณนาฬิกาของ CPU อยู่ที่ประมาณ 3 GHz (ประมาณ 3 พันล้านรอบต่อวินาที)
• สมมุ ติ ให้ CPU ใช้ 1 จั งหวะของ Clock ท าการประมวลผลค าสั่ ง 1 ค าสั่ ง หมายความว่ า CPU
สามารถประมวลผลคาสั่งได้ ประมาณ 3 พันล้านคาสั่งต่อวินาที
• CPU ในปั จ จุ บั น เป็ น แบบ Multi-core Processor เช่น Dual Core หรือ Quad Core ซึ่งสามารถ
ประมวลผลคาสั่งได้แบบขนาน หมายถึงประมวลผลคาสั่งได้หลายคาสั่งพร้อมๆ กัน

ประสิทธิภาพการทางานของคอมพิวเตอร์
• ประสิทธิภาพการทางานของคอมพิวเตอร์ไม่ได้ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพของ CPU เพียงอย่างเดียว แต่
ขึ้นอยู่กับทุกๆองค์ประกอบที่ทางานสัมพันธ์กัน ได้แก่ CPU , RAM, BUS, Harddisk และอุปกรณ์ต่อ
พ่วงอื่นๆ
• ปั ญ หาเกี่ ย วกั บ ประสิ ท ธิ ภ าพการทางานของเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ในปั จ จุ บั น คื อ ปั ญ หาคอขวด
(Bottleneck) ถึงแม้ว่า CPU จะมีความเร็วในการประมวลผลสูง แต่ข้อมูลที่จะประมวลผลนั้นต้อง
นามาจาก RAM และส่งผ่าน BUS ซึ่งมีอัตราเร็วที่ต่ากว่า CPU มาก จึงทาให้ CPU จะต้องเสียเวลาใน
การรอข้อมูล
• ถ้า RAM มีขนาดเล็ กไม่เพียงพอต่อการเก็บข้อมูล ที่จะประมวลผล ระบบปฏิบัติการจะใช้พื้นที่บน
Harddisk สร้างเป็นหน่วยความจาเสมือน (Virtual Memory) ซึ่งการอ่านข้อมูล จาก Harddisk มา
ประมวลผลก็ยิ่งช้าลงไปอีก
วิธีการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอก
• อุปกรณ์ภายนอกได้แก่ Mouse, Keyboard, Printer, Scanner และอื่นๆ
• คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมต่อพอร์ท USB (Universal Serial Bus) เป็นที่นิยมนามาให้ใช้คอมพิวเตอร์
และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ
• USB มีความเร็วถึง 400 Mbits/s และจะมีความเร็วสูงขึ้นในรุ่นต่อไป
• USB สามารถต่ออุปกรณ์ได้มากสุดถึง 127 ชิ้น โดยใช้ HUB กระจายสัญญาณ จึงทาให้สามารถเพิ่ม
พอร์ทในการเชื่อมต่อได้มากขึ้น
• สามารถใช้กับระบบ Plug and Play คือ เมื่อติดตั้ง อุปกรณ์เข้าไปอุปกรณ์นั้นๆจะสามารถทางานได้
ทันทีกับอุปกรณ์ภายนอกได้โดยผ่านส่วนเชื่อมต่อที่เรียกว่า Port
บทที่ 6
พรบ. คอมพิวเตอร์ 2550
ฐานความผิด โทษจาคุก โทษปรับ
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์โดยไม่ชอบ ไม่เกิน 6 เดือน ไม่เกิน 10,000 บาท

การเปิดเผยมาตรการป้องกันการเข้า ถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ ไม่เกิน 1 ปี ไม่เกิน 20,000 บาท


ผู้อนื่ จัดทาขึ้นเป็นการเฉพาะโดยไม่ชอบ

การเข้า ถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยไม่ชอบ ไม่เกิน 2 ปี ไม่เกิน 40,000 บาท

การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อนื่ โดยไม่ชอบ ไม่เกิน 3 ปี ไม่เกิน 60,000 บาท

การทาให้เสียหาย ทาลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงเพิม่ เติม ไม่เกิน 5 ปี ไม่เกิน 100,000 บาท


ข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยไม่ชอบ

การกระทาเพื่อให้การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่ ไม่เกิน 5 ปี ไม่เกิน 100,000 บาท


สามารถทางานได้ ตามปกติ

การส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์รบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของ ไม่มี ไม่เกิน 100,000 บาท


คนอื่นโดยปกติสุข (SpamMail)

การจาหน่ายชุดคาสั่งที่จัดทาขึ้นเพื่อนาไปใช้เป็นเครื่องมือใน ไม่เกิน 1 ปี ไม่เกิน 20,000 บาท


การกระทาความผิด
การกระทาต่อความมั่นคง ไม่เกิน 10 ปี ไม่เกิน 200,000 บาท
- ก่อความเสียหายแก่ข้อมูลคอมพิวเตอร์ 3 ปีถึง 15 ปี และ 60,000 - 300,000
- กระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ/เศรษฐกิจ 10 ปีถึง 20 ปี บาท
- เป็นเหตุให้ผู้อนื่ ถึงแก่ชีวิต
การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทาความผิดอื่น (การเผยแพร่เนื้อหาอัน ไม่เกิน 5 ปี ไม่เกิน 100,000 บาท
ไม่เหมาะสม)
ผู้ให้บริการจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้มีการกระทาความผิด ต้องระวางโทษเช่นเดียว ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับ
กับผู้กระทาความผิด ผู้กระทาความผิด
การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล ไม่เกิน 3 ปี ไม่เกิน 60,000 บาท

You might also like