You are on page 1of 19

บทที่ 4

การจัดทํางบประมาณเพื่อการวางแผนและควบคุม

งบประมาณ (Budgeting) เปนแผนงานโดยละเอียดในรูปตัวเลขทั้งจํานวนหนวยและจํานวนเงินตาม


แผนการดําเนินงานของกิจการสําหรับระยะเวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคต การวางแผนกําไรมีผลตอการทํากําไรได
สูงสุดเพื่อใหหนวยงานสามารถดําเนินงานไดผลสําเร็จตามเปาหมาย ในการพิจารณาโครงการฝายจัดการจะตอง
คาดคะเนรายไดที่จะไดรับแตละโครงการ และกําหนดงบประมาณตนทุนที่ตองใชจายเพื่อนํามาใชในการตัดสินใจ
ลงทุนในโครงการที่เหมาะสม นอกจากนั้นงบประมาณยังเปนตัวกําหนดงบการเงินของกิจการไวลวงหนา การ
วางแผนกําไรของกิจการเปนสวนประกอบหนึ่งในการจัดทํางบประมาณดําเนินงาน และงบประมาณเงินสด ในบท
นี้ก ลา วถึ งหั วขอลักษณะของงบประมาณ รูปแบบของงบประมาณ งบประมาณดํา เนินงาน และงบประมาณ
การเงิน ดังนี้

1. ลักษณะของงบประมาณ

งบประมาณชวยใหทุกแผนกงานทํางานอยางมีเปาหมาย ทั้งแผนกการตลาด แผนกการบริหารงาน


บุคคล แผนกการผลิต แผนกการจัดซื้อ แผนกการควบคุมคุณภาพ แผนกการวิจัยและพัฒนา แผนกการจัด
จําหนาย แผนกกฎหมาย และแผนกวิศวกร ผูจัดการแตละคนจะตองจัดลําดับการใชจายงบประมาณ และศึกษา
วิธีการที่จะจัดการงบประมาณใหรัดกุม ผูจัดการจะตองมีวิสัยทัศนในเปาหมายโดยรวมทั้งหมดของกิจการ และ
คนหาวิธีการที่จะทําใหบรรลุความสําเร็จเหลานั้น
งบประมาณนั้นมีประโยชนตอการดําเนินงานขององคกรหรือหนวยงานทุกชนิด ไมวาจะเปนกิจการที่
หวังผลกําไรหรือไมหวังผลกําไร ซึ่งพอสรุปไดดังนี้
1. ชวยใหฝายจัดการสามารถเห็นปญหาที่จะเกิดขึ้น และเปนการปลูกฝงนิสัยของฝายจัดการให
ทําการศึกษาปญหาอยางรอบคอบกอนที่จะทําการตัดสินใจ
2. เปนการชวยใหฝายดําเนินงานทุกฝายมีโอกาสรวมมือกันทั้งกิจการใหมากที่สุดซึ่งแตกตางจากการ
ดําเนินงานในสมัยกอนที่มีการตัดสินใจเพียงคนเดียว หรือเฉพาะกลุมเดียวทั้งนี้อาจไมใหผลประโยชนแกกิจการ
ทั้งหมด เพราะผลประโยชนบางสวนจะขึ้นอยูกับคนเพียงกลุมใดกลุมหนึ่งเทานั้น
3. ชวยใหกิจการใชเงินทุนซึ่งเปนทรัพยากรที่จํากัดใหเปนประโยชนตอกิจการมากที่สุด
4. ชวยเปนเครื่องมือเพื่อวางนโยบายขั้นพื้นฐานที่จะชวยตรวจสอบ สรุปและสรางแนวทางในการดําเนิน
กิจการมากขึ้น
5. ชวยประสานงานความรวมมือกันทุกดานทําใหการควบคุมการดําเนินงานของฝายจัดการดําเนินไป
อยางมีประสิทธิภาพ
1.2 วัตถุประสงคของการจัดทํางบประมาณ
การงบประมาณเปนเครื่องมือของฝายบริหารที่มุงใชในการวางแผน การประสานงาน และการควบคุม
เพื่อใหบรรลุถึงเปาหมายที่กิจการตองการ ซึ่งการจัดทํางบประมาณสวนใหญจะทํารายปตอเนื่องกันไป
งบประมาณประจําปนั้น มีวัตถุประสงคที่สําคัญ คือ
1. เพื่อบังคับใหฝายบริหารไดตรวจสอบวัตถุประสงค วิธีการ และตนทุนใหมทุกครั้งที่มีการจัดทํา
งบประมาณ
2. เพื่อสนับสนุนใหฝายบริหารแสดงผลงานออกมาเปนตัวเลข เปนการทดสอบแผนงานกับวัตถุประสงค
เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 62
หลักที่ตองการ และทดสอบวาแผนงานนั้นสามารถดําเนินการไดหรือไม
3. เพื่อใหโอกาสฝายบริหารไดคาดคะเนการเปลี่ยนแปลงภาวะแวดลอมเพื่อจะนําไปปรับปรุงอนาคต
ของกิจการเสียใหม
4. เพื่อเปนแนวทางในการคําเนินงานประจําวัน และเพื่อใชเปนเครื่องวัดผลการดําเนินงานจริง

1.3 พฤติกรรมที่มีอิทธิพลตอการจัดทํางบประมาณ
การจัดทํางบประมาณและการดําเนินงานตามงบประมาณจะสําเร็จไดตองคํานึงถึงขอสําคัญเหลานี้ คือ
1. ตองไดรับการสนับสนุนจากผูดําเนินงานระดับสูง ถาหากผายบริหารหรือเจาหนาที่ระดับสูงไมสนใจ
แลว การจัดทํางบประมาณก็จะไรความหมายโดยเฉพาะการควบคุมจะไมเกิดผลดีเทาที่ควรหากฝายบริหารไมมี
ความกระตือรือรนที่จะคนควาหาสาเหตุ และหากพบวามีการจายเงินเกินกวางบประมาณที่ตั้งไว และไมประสงค
จะปรับปรุงแกไขแลว งบประมาณที่จัดทําขึ้นก็ยอมไรประโยชน ฉะนั้นการสนับสนุนเอาใจใสดูแลควบคุมของฝาย
บริหารจึงเปนเรื่องสําคัญอยางยิ่งในการที่จะใชงบประมาณเปนเครื่องมือในการควบคุมใหเกิดประสิทธิภาพ
2. ความเขาใจอันดีระหวางพนักงานทุกฝายที่มีสวนรวมในการทํางบประมาณและผูปฏิบัติงานกลาวคือ
จะตองมีการยอมรับและยอมปฏิบัติตามกันในระหวางผูปฏิบัติงานในกิจการที่มีอยูภายใตการดําเนินงานหรือ
งบประมาณเดียวกันกับตองมีความเห็นอกเห็นใจและรวมมือซึ่งกันและกัน เพื่อใหปฏิบัติงานเปนไปตามแผนงาน
ที่ไดประมาณการไว เพื่องบประมาณนั้นจะไดใกลเคียงความจริงที่สุด
3. มีการจัดระบบงานที่ดี ซึ่งประกอบดวยการจัดหมวดหมูการทํางาน แบงสายงาน และกําหนดอํานาจ
หนาที่และความรับผิดชอบไวโดยชัดเจนในการดําเนินงานทุกหนาที่ และวิธีบังคับเมื่อไดมอบหมาย มิฉะนั้นเวลา
ทําไมไดตามงบประมาณยอมยากที่จะหาผูรับผิดชอบและกอใหเกิดความลําบากในการเก็บตัวเลขเมื่อเริ่มทํา
งบประมาณ
4. มีระบบการบัญชีที่ดีและรัดกุม การทํางบประมาณที่ดีตองอาศัยขอมูลที่ถูกตองในอดีตที่บันทึกไวโดย
แผนกบัญชี ระบบบัญชีที่ดีจะแสดงใหเห็นถึงการดําเนินงานที่ผานมาและความสัมพันธตางๆไดเปนอยางดี

1.4 การควบคุมและการงบประมาณ
ในการปฏิบัติงานแตละขั้นตอน ควรจะมีการควบคุมใหเปนไปตามแผนหรืองบประมาณที่กําหนดไว
ลักษณะการควบคุมที่ดีจะตองมีสวนสําคัญตอการปฏิบัติงานใหเปนไปตามเปาหมายที่กําหนดไว เพื่อใหเกิด
ความเสียหายนอยที่สุดตอทรัพยสิน ตลอดจนพยายามใหพนักงานทํางานอยางมีประสิทธิภาพ ตามตารางและ
เวลาที่กําหนดไว สงเสริมใหมีการปฏิบัติตามนโยบายที่ฝายบริหารไดวางไว การควบคุมจะไดผลดีก็ตอเมื่อทุกคน
เขาใจการทํางาน และรูจักหนาที่ของตนเอง ตลอดจนการจัดรูปแบบขององคการตองมีความสัมพันธกับการ
ปฏิบัติงานการกระจายอํานาจหรือรวมอํานาจตามสภาพการผลิต หรือสภาพของหนวยงานนั้น การควบคุมให
ปฏิบัติไปตามงบประมาณที่กําหนดไวเปนสวนสําคัญอยางยิ่งเพราะจะทําใหเกิดประสิทธิผลตอไปในที่สุด การ
ควบคุมดังกลาวรวมถึงการติดตอ ติดตาม และแกไขขอบกพรองเพื่อความคลองตัวในการทํางาน ตลอดจนการใช
จายเงินใหเปนไปตามงบประมาณที่กําหนดขึ้น โดยผูปฏิบัติตามแผนงานจะใชแผนงานหรืองบประมาณเปนเข็มชี้
ทางปฏิบัติ เพื่อใหงานที่สําเร็จออกมาเปนไปตามงบประมาณที่วางไว และเมื่อหนวยงานแตละหนวยงานลงมือ
ปฏิบัติตามแผนที่วางไว ผูบริหารจะไดมีโอกาสทราบวาหนวยงานใดสามารถปฏิบัติงานไดตามแผนหรือไม หรือมี
หนวยงานใดที่ปฏิบัติงานจริงแลวเกิดผลตางขึ้น ถาผลตางเกิดขึ้นมีจํานวนมาก ผูบริหารจะไดทําการวิเคราะหหา
สาเหตุวาเปนเพราะเหตุใด และวินิจฉัยตอไปวาผลตางที่เกิดขึ้นเปนผลดีหรือผลเสียตอกิจการ ถาเปนผลไมดีจะ
ไดหาทางแกไขไดทันทวงที โดยอาจจะเปลี่ยนแผนการทํางานใหมบางสวนหรือทั้งหมดหรือเพิ่มการควบคุมการ
ดําเนินงานในสวนใดสวนหนึ่งใหมากขึ้น

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 63


1.5 ความไมแนนอนและการงบประมาณ
งบประมาณจะมีผลดีและใหประโยชนก็ตอเมื่องบประมาณนั้นไดจัดทําขึ้นโดยรอบคอบและถูกตอง ซึ่ง
จําเปนจะตองคํานึงถึงเหตุการณหรือความไมแนนอนที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงที่ไม
คาดหมายจะเกิดขึ้นจากปจจัยตาง ๆ ประกอบในการจัดทํางบประมาณ ทั้งจากภายนอกและภายในกิจการ
โดยเฉพาะเหตุการณภายนอกมากมายที่เขามาเกี่ยวของ เชน การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี คูแขงขัน
สภาพแวดลอมเศรษฐกิจ รสนิยมของลูกคา ทัศนคติทางสังคม และปจจัยทางการเมืองที่มีอิทธิพลอยางรุนแรงตอ
กิจการ และเปนเหตุการณที่มีผลกระทบกระเทือนโดยตรง ซึ่งเปนสิ่งที่กิจการควบคุมไมได จึงมีผลโดยตรงตอ
การงบประมาณ กิจการจําเปนตองตั้งงบประมาณบางสวนเกี่ยวกับความไมแนนอนเหลานี้ ซึ่งปจจัยที่ควร
พิจารณา มีดังนี้
1. วงจรอายุของผลิตภัณฑ เริ่มจากชวงการพัฒนาผลิตภัณฑใหมเขาสูตลาด ชวงที่สองคือผลิตภัณฑ
เริ่มเจริญเติบโตในตลาด ชวงที่สาม คือผลิตภัณฑเจริญเติบโตในตลาดอยางสมบูรณเต็มที่ ชวงที่สี่คือ ชวงการ
เสื่อมถอยของผลิตภัณฑ และชวงที่หาคือการปรับปรุงผลิตภัณฑเพิ่มเติมใหเปนที่ตองการของตลาดเหมือนเดิม
ในชวงการปรับปรุงพัฒนาใหมนี้จะตองคํานึงถึงจํานวนเงินที่ตองจายเพิ่มดวย
2. พื้นฐานดานผูบริโภค เชน รสนิยมการบริโภคและการเปลี่ยนแปลงรสนิยม
3. ระดับความเขมขนของการแขงขันและอัตราสวนแบงในตลาด
4. การบริหารงานบุคคล และสภาวะการจางงาน
5. แนวโนมการเปลี่ยนแปลงดานเทคโนโลยี
6. ลักษณะของธุรกิจและความเสี่ยงภัยทางการเงิน
7. วัตถุดิบ แรงงานและคาใชจายในการผลิต ที่ดิน อาคารและอุปกรณ ที่ตองการใชในการผลิต
8. ระดับของสินคาคงคลังที่ตองเก็บรักษาและรอบการหมุนเวียนของสินคาคงคลัง
9. ตนทุนของวัตถุดิบและคาใชจายตางๆ
10. กลยุทธการตลาดและการโฆษณาที่ใช
11. การตั้งราคาสินคาและบริการ
12. การลาสมัยของสินคาและบริการ
13. ความตองการทางการเงินและแหลงที่มาของเงินทุน
14. ความมั่นคงของการประกอบธุรกิจซึ่งประกอบดวยความตองการผลิตภัณฑ ดานแรงงานสัมพันธ
และกฎระเบียบของทางราชการที่เกี่ยวของ
15. วงจรการขายผลิตภัณฑเปนการขายตามฤดูกาลหรือไม
16. ปจจัยทางดานเศรษฐกิจและการเมือง
17. จุดคุมทุน และหนวยขายที่จะทําใหคุมตนทุน ใหไดกําไรที่เพียงพอที่จะจายเงินปนผลตอผูถือหุน
และมีกําไรคงเหลือตามความตองการในอนาคต
18. สมรรถภาพการดําเนินงานที่จะรองรับกําไรตามเปาหมาย
19. ผลตอบแทนจากการลงทุนที่ตองการ

นอกจากนี้ในการเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับงบประมาณที่ตั้งไว โดยเฉพาะงบประมาณที่จัดทํา
ขึ้นในลักษณะคงที่ ตองคํานึงถึงเหตุการณหรือความไมแนนอนที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตที่เปลี่ยนแปลงไปอยาง
เปนสาระสําคัญหรือคาดคะเนไมถูกตอง เพราะงบประมาณที่จัดทําไวแลวนี้อาจจะใชเปรียบเทียบกันไมได

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 64


2. รูปแบบของงบประมาณ

รู ป แบบของงบประมาณมี ห ลายรู ป แบบ ที่ สํ า คั ญ ได แ ก งบประมาณคงที่ แ ละงบประมาณยื ด หยุ น


งบประมาณฐานศูนย งบประมาณสวนเพิ่ม งบประมาณตามงวดระยะเวลาและงบประมาณตอเนื่อง งบประมาณ
ตามกิจกรรม ทั้งนี้ การใชงบประมาณแบบใดขึ้นอยูกับลักษณะและวัตถุประสงคในการจัดทํา ดังนี้
2.1 งบประมาณคงที่ และงบประมาณยืดหยุน
งบประมาณคงที่ คือ งบประมาณที่จัดทําขึ้น ณ กิจกรรมระดับใดระดับหนึ่งตามที่ประมาณไวในกรณีที่
กิจกรรมไมแตกตางไปจากระดับกิจกรรมที่ไดประมาณไว งบประมาณคงที่จะมีประโยชนถาหากตนทุนที่เกิดขึ้น
เปน ตน ทุ นคงที่เกือบทั้งหมด เพราะตนทุน คงที่จะไมเ ปลี่ยนแปลงแมร ะดับการผลิต จะเปลี่ยนแปลงไป
งบประมาณคงที่จะมีประโยชนในแงการควบคุมตนทุนเทานั้น แตงบประมาณคงที่ไมไดแสดงการกะประมาณ
คาใชจายที่จะเกิดขึ้นเมื่อกิจการดําเนินกิจกรรมในระดับ ณ ระดับอื่น ดังนั้นถากิจการคาดวาจะมีการผลิตเกิดขึ้น
ในชวงกวางๆ ก็ควรจะใชงบประมาณยืดหยุน ซึ่งงบประมาณยืดหยุน คือ งบประมาณที่จัดทําขึ้นสําหรับชวงการ
ผลิตหรือการขายที่สามารถเปลี่ยนแปลงไป ณ ระดับใดระดับหนึ่งที่เกิดขึ้นจริง โดยปกติจะอยู ณ ระดับการผลิต
หรือการขาย ณ หนวยที่ผลิตหรือขายที่เกิดขึ้นจริง ดังนั้นในการจัดทํางบประมาณยืดหยุนจึงตองศึกษาพฤติกรรม
ตนทุนอยางละเอียด งบประมาณที่จัดทําจึงจะใชไดกับทุกระดับกิจกรรมเพราะเปนงบประมาณที่ใชในการควบคุม
เชิงเปลี่ยนแปลงมากกวาจะคงที่ จึงใชในการวางแผน ควบคุมและวัดผลการปฏิบัติงานจริงไดอยางมี
ประสิทธิภาพ
2.2 งบประมาณฐานศูนย
งบประมาณฐานศูนย คือ งบประมาณที่วิเคราะหวากิจกรรมหรือโครงการใดเหมาะสม และมีประโยชน
กวากิจกรรมอื่นอยางไร คาใชจายที่ลงทุนจะคุมกับผลตอบแทนที่ไดรับหรือไม โครงการหรือแผนงานใดควรไดรับ
การลงทุนเพิ่มหรือลดการลงทุน และมีเหตุผลสนับสนุนหรือตัดงบประมาณดวยอยางไร การจัดทํางบประมาณ
มิไดคํานึงถึงประมาณคาใชจายเดิมของปกอนๆ แตจะเริ่มลงมือพิจารณาและวิเคราะหขอมูลจากระดับที่ต่ําสุด
โดยใชฐานศูนยเปนตัวกําหนดการใชจาย คือ กําหนดใหผูเสนอของบประมาณตองแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับ
โครงการหรือกิจกรรมตางๆ ที่กิจการตองดําเนินการในปงบประมาณ ใหเดนชัดวาทําไมจึงเลือกทํากิจกรรมหรือ
โครงการนั้นๆ พรอมทั้งวงเงินที่เสนอ แลววิเคราะห ประเมินคา และจัดลําดับความสําคัญของโครงการหรือ
กิจกรรมตางๆ กอนหลังตามผลตอบแทนหรือประโยชนที่มีตอกิจการ พรอมจัดสรรทรัพยากรใหเหมาะสมตามที่
ไดวิเคราะหถือเสมือนหนึ่งวา โครงการใหมและโครงการเดิมที่เคยดําเนินการแลว เปนโครงการใหมทั้งหมด
ระบบงบประมาณฐานศูนยกอใหเกิดการกระจายคาใชจายที่เหมาะสมในทุกหนวยงาน โดยเริ่มพิจารณาจากฐานที่
0 ไมจําเปนตองปฏิบัติทุกป หรือทุกครั้งที่ตั้งงบประมาณ
2.3 งบประมาณสวนเพิ่ม
งบประมาณสวนเพิ่ม คือ งบประมาณที่ชวยในการตัดสินใจในกรณีที่มีทางเลือกตั้งแต 2 ทางเลือก
แสดงความแตกตางของตนทุนในระหวางทางเลือก 2 ทางเลือกถึงตนทุนสวนเพิ่ม ซึ่งเปนตนทุนในอนาคตที่จะ
เกิดขึ้นหรือตนทุนที่ประหยัดไดหรือลดลงจากตนทุนรวมเนื่องจากรายไดสวนที่เพิ่มขึ้น เมื่อระดับกิจกรรม
เปลี่ยนแปลงไปหรือเมื่อมีการตัดสินใจกระทําการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจอยางหนึ่ง การประมาณตนทุนสวนเพิ่ม
อาจวิเคราะหเปนตนทุนตอหนวย หรือเปรียบเทียบตนทุนตางๆ เปนยอดรวมก็ได
2.4 งบประมาณตามงวดระยะเวลาและงบประมาณตอเนื่อง
งบประมาณตามงวดระยะเวลา คือ งบประมาณที่จัดทําขึ้นสําหรับชวงระยะเวลาใดเวลาหนึ่งอาจเปน
ระยะสั้นคือ 6 เดือน หรือ 1 ป หรือระยะยาวคือ 3 ป 5 ป หรือมากกวานั้น ในการวางแผนประจํางวดนั้นจะตองมี
การวางแผนทุกขั้นตอนของกิจกรรมที่ควรมี และคํานึงถึงคาใชจายตางๆ ที่เกิดขึ้นประจําในแตละงวด สวน
เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 65
งบประมาณตอเนื่อง คือ งบประมาณที่จัดทําขึ้นอยางตอเนื่องในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเพื่อใหกิจการบรรลุวัตถุประสงค
ที่ตั้งไว และดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพตอไป เชน เมื่อไดมีการจัดทํางบประมาณในการจัดซื้อ
คอมพิวเตอร ตอมาจะมีการตั้งประมาณการเกี่ยวกับคาใชจายในการซอมแซม บํารุงรักษาและอัพเกรด
คอมพิวเตอร เปนตน
2.5 งบประมาณตามกิจกรรม
งบประมาณตามกิจกรรม คือ งบประมาณที่เนนกิจกรรมที่เกิดขึ้นในองคกร เปนกระบวนการการ
วางแผนและควบคุมกิจกรรมตาง ๆ ที่คาดวาจะเกิดขึ้นในองคกร เชน การขาย การผลิต การกําหนดปริมาณ
สินคาคงเหลือ เปนตน เมื่อระบุกิจกรรมตางๆ ที่จะเกิดขึ้นไดแลวจึงจะประมาณตนทุนที่จะเกิดขึ้นสําหรับกิจกรรม
นั้น
2.6 งบประมาณระยะสั้นและงบประมาณระยะยาว
แนวความคิดในการวางแผนกําไรใหประสบผลสําเร็จ ตองทําใหการวางแผนงบประมาณทั้งระยะสั้น
และระยะยาวสอดคลองกัน เนื่องจากการวางแผนระยะยาวเปนการคาดหวังกําไรและการเติบโตในอนาคต การ
วางแผนระยะยาวจะประสบผลสําเร็จได จะตองมาจากการสามารถสรางกําไรในระดับที่สูงอยางตอเนื่องในระยะ
สั้น และการกําหนดชวงระยะเวลางบประมาณในระยะสั้นหรือระยะยาว ขึ้นอยูกับลักษณะของการประกอบธุรกิจ
และระดับรายละเอียดที่ตองการ โดยทั่วไปแบงการจัดทํางบประมาณออกเปน งบประมาณระยะสั้น งบประมาณ
ระยะปานกลาง และงบประมาณระยะยาว ดังนี้
2.6.1 งบประมาณระยะสั้น
จัดทํางบประมาณเพื่อการวางแผนกําไรในระยะสั้น เปนชุดงบประมาณที่สมบูรณเกี่ยวกับการคาใน
ปจจุบัน เนื่องจากสภาพแวดลอมของธุรกิจเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว ชวงเวลาใชจายงบประมาณจะสั้นกวา
ทําใหวัดผลการปฏิบัติงานไดรวดเร็ว สามารถวัดประสิทธิภาพในการทํางานไดทันที ไดทราบถึงความไมแนนอน
ที่เกิดขึ้น งบประมาณระยะสั้นจะระบุกิจกรรมเฉพาะ และมีรายละเอียดที่คาดคะเนไวเปนทั้งจํานวนเงินและ
จํานวนหนวย โดยทั่วไปงบประมาณระยะสั้นมีระยะเวลาประมาณ 1 ปหรือนอยกวา ฝายจัดการอาจจะจัดทํา
งบประมาณแบงทอนเวลาตลอดทั้งป ใหเปนระยะเวลาสั้นๆ หลายชวงเวลา เชน งบประมาณ 3 เดือน 6 เดือน
งบประมาณดําเนินการประจําป อาจจะขยายเปน 18 เดือน โดย 3 เดือนแรกเปนงบประมาณของปกอน จัดทํา
งบประมาณ 12 เดือนของปปจจุบัน และ 3 เดือนหลังเปนงบประมาณปตอไป การทํางบประมาณใหคาบเกี่ยวชวง
เดือนกันสามารถปรับเปลี่ยนแผนงานและแกปญหาในสถานการณตางๆ ได
อยางไรก็ดี ตองจัดการดําเนินงานวางแผนงบประมาณระยะสั้น ใหมีการวางแผนและควบคุมใน เงื่อนไข
ของการกระทําการในปจจุบัน ควรจะกําหนดวัดผลการดําเนินงาน 3 เดือน 6 เดือนและ12 เดือนขึ้นอยูกับ
ลักษณะของธุรกิจและประสิทธิภาพในการวางแผนกําหนดการผลิตใหเพียงพอในแตละผลิตภัณฑ อยางนอยที่สุด
ควรพิจารณาลักษณะวงจรธุรกิจ และวงจรการขายผลิตภัณฑเปนการขายตามฤดูกาลหรือไม เพื่อกําหนดความ
ตองทางการเงินเพื่อการผลิตสินคาอยางพอเพียง
2.6.2 งบประมาณระยะปานกลาง และระยะยาว
การจัดทํางบประมาณระยะปานกลางและระยะยาว งบประมาณระยะปานกลางมีระยะเวลาประมาณ 2-3
ป งบประมาณระยะปานกลาง จะพิจารณาถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในปจจุบัน โดยมุงกระทําโครงการเพื่อใหบรรลุ
จุดประสงคของกิจการในระยะยาว
การวางแผนกําไรระยะยาวเปนกระบวนการตอเนื่อง จากการตัดสินใจในปจจุบันและคาดการณสิ่งที่
เกิดขึ้นในอนาคตอยางดีที่สุด ซึ่งแสดงในรูปการขาย การจายลงทุน กิจกรรมการวิจัยและพัฒนาและความ
ตองการเงินลงทุน ดังนั้นงบประมาณระยะยาวจึงมีระยะเวลาประมาณ 3 ปขึ้นไป เปนโครงการลงทุนที่มีลักษณะ
เปนการจายเงินจํานวนมาก โดยหวังประโยชนที่ธุรกิจจะไดรับเปนระยะเวลานาน เชน โครงการลงทุนเพื่อซื้อ
เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 66
สินทรัพยใหมแทนสินทรัพยเดิม โครงการซื้อเครื่องจักรใหม สรางโรงงานหรือสํานักงานใหมเพิ่มเติมเพื่อขยาย
กิจการ เปนตน งบประมาณระยะยาวเปนการวางกรอบโดยกวางและตองอาศัยความตอเนื่องในการปฏิบัติงานที่
สอดคลองกับแผนงานที่กําหนดไว และสามารถจัดทํางบประมาณในระยะสั้นและระยะปานกลางรองรับแผนงาน
ตามงบประมาณระยะยาว
ในการวางแผนกําไรระยะยาวฝายบริหารพยายามที่จะคนหาเงื่อนไขของเหตุการณที่อาจจะเปนไปได
เพื่อความยืดหยุนและความสามารถปรับเปลี่ยนเงื่อนไขของแผนงาน การวางแผนกําไรระยะยาวจึงมีความเสี่ยง
เกี่ยวกับปจจัยทางการตลาด และปจจัยทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไปอันมีอิทธิพลตอการวางแผนกําไรระยะยาว เชน
ภาวะเงินเฟอ อัตราการขยายตัวของประชากร อัตราการใชจายของผูบริโภค และดัชนีของอุตสาหกรรม รวมถึง
ขอมูลภายในองคกร เชน ปริมาณการขาย และราคาขายที่ประมาณการสําหรับ 3 - 5 ป จากความเสี่ยงตางๆ
การวางแผนในระยะยาวจําเปนตองประเมินอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน (ผลตอบแทนตอสินทรัพยรวม)
ตลอดแผนงานวาคุมคากับความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นจากการดําเนินงานตามแผนงาน นอกจากนั้นยังมีอัตราสวน
อื่นๆ อีก เชน อัตรากําไรตอยอดขาย อัตราผลตอบแทนตอเจาของและอัตรากําไรตอหุน ความสําเร็จของการ
วางแผนในระยะยาว คือกําไรที่สามารถทํากําไรหรือผลตอบแทนไดสูงกวาความเสี่ยงจากการลงทุน

3. งบประมาณดําเนินงาน
งบประมาณดําเนินงานเปนการแสดงถึงการดําเนินงานของกิจการในงวดตอไป แนวคิดในการจัดทํา
งบประมาณการดําเนินงานนั้นไดมาจากการจัดทํางบกําไรขาดทุน ดังนั้นอาจกลาวไดวางบประมาณดําเนินงาน
คืองบกําไรขาดทุนโดยประมาณ ตางกันเพียงงบประมาณการดําเนินงานนั้นใชขอมูลที่คาดไวลวงหนา สวนงบ
การเงินนั้นใชขอมูลในอดีตที่กิจการไดจดบันทึกไวแลว การจัดทํางบประมาณดําเนินงานหรืองบกําไรขาดทุน
โดยประมาณสําหรับกิจการผลิตสินคาประกอบดวย การจัดทํางบประมาณขาย งบประมาณการผลิต งบประมาณ
วัตถุดิบทางตรง งบประมาณคาแรงงานทางตรง งบประมาณคาใชจายในการผลิต งบประมาณคาใชจายในการ
ขาย งบประมาณคาใชจายในการบริหาร งบประมาณตนทุนขาย และงบประมาณงบกําไรขาดทุน สวน
งบประมาณของกิจการขายสินคา หรือใหบริการ การจัดทํางบประมาณดําเนินงานไมตองจัดทํางบประมาณที่
เกี่ยวของกับการผลิต ซึ่งในการจัดทํางบประมาณหลักเหลานี้จะมีขั้นตอนที่เกี่ยวของกันตามลําดับ งบประมาณที่
ทําขึ้นลําดับหลังจะตองนําผลจากการจัดทํางบประมาณในขั้นตอนกอนมาคํานวณ ดังนั้นหากคํานวณและทําการ
คาดคะเนผิดพลาดจะตองจัดทํางบประมาณใหมทั้งหมด ดังภาพที่ 4.1
งบประมาณขาย
งบประมาณ
งบประมาณตนทุนขาย วัตถุดิบทางตรง
งบประมาณ งบประมาณคาใชจาย
งบกําไรขาดทุน งบประมาณการผลิต
ในการผลิต
งบประมาณคาใชจาย งบประมาณคาแรงงาน
ในการบริหาร ทางตรง

งบประมาณคาใชจาย
ในการขาย

ภาพที่ 4.1 ความสัมพันธของงบประมาณดําเนินงาน


3.1 งบประมาณการขาย (Sales budget)
งบประมาณการขาย เปนงบประมาณแรกที่จะตองจัดทํากอนงบประมาณอื่น ๆ เพราะการจัดทํา
งบประมาณหลักทุกงบประมาณขึ้นอยูกับการคาดคะเนการขาย รายละเอียดงบประมาณการขายประกอบดวย
เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 67
การคาดคะเนการขาย แยกเปนหนวยขาย ราคาขาย และการจัดอัตราการขายผสมในชวงระยะเวลาตาม
งบประมาณนั้น งบประมาณการขายอาจจัดทําไดหลายรูปแบบตามความเหมาะสมของแตละกิจการ เชน ตามเขต
หรือภาคการขาย ตามประเภทของสินคาที่ขาย ตามชนิดของลูกคา ตามความสามารถของพนักงานขาย หรือ
ตามเขตภาคการขายและประเภทสินคาประกอบกัน
จากนั้นจึงกําหนดราคาขายที่เหมาะสม โดยการศึกษาวิธีการตั้งราคา ควรจะขายหนวยละเทาใด จึงจะ
ทําใหลูกคาพอใจ และทําใหหนวยขายเปนไปตามที่ประมาณการไว ซึ่งควรจะเปนราคาขายที่ทําใหไดกําไร
เบื้องตนสูงที่สุด เมื่อทราบราคาขายตอหนวยและจํานวนหนวยที่จะขาย แลวจึงสามารถทราบคาขายตาม
งบประมาณได
ตัวอยาง บริษัทพรรณนา โปรดิวส จํากัด ผลิตและขายสินคา 2 ชนิดคือสินคา A และสินคา B ขอมูลที่
นํามาใชในการคาดคะเนการขาย ป 2550 ประกอบดวยขอมูลจากการสํารวจตลาดโดยพนักงานขาย ขอมูล
เกี่ยวกับปจจัยตางๆ ในอดีตที่มีอิทธิพลตอการขาย เงื่อนไขทางดานเศรษฐกิจโดยทั่วไป และเปาหมายการขายใน
อนาคตที่คาดหวังของฝายบริหาร โดยนํายอดสถิติการขายในอดีตมาวิเคราะหแนวโนมในป 2550 ขอมูลการขาย
เปนดังนี้
สินคา A สินคา B
ราคาขายตอหนวย (บาท) 72 42
ยอดขาย ไตรมาสที่ 1 (หนวย) 4,800 7,200
ยอดขาย ไตรมาสที่ 2 (หนวย) 7,200 9,600
ยอดขาย ไตรมาสที่ 3 (หนวย) 7,800 10,200
ยอดขาย ไตรมาสที่ 4 (หนวย) 6,000 8,400
การจัดทํางบประมาณการขาย เปนดังนี้
บริษัทพรรณนา โปรดิวส จํากัด
งบประมาณการขาย
ประจําป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550
ไตรมาส
รายการ
1 2 3 4 รวม

3.2 งบประมาณการผลิต (Production budget)


จัดทําขึ้นเพื่อประมาณการยอดการผลิตใหเพียงพอตอการขาย ในการคํานวณจํานวนสินคาที่ตองผลิต
การกําหนดตารางการผลิตจะตองทําการกําหนดสินคาสําเร็จรูปคงเหลือปลายงวดกอน เพราะจะตองรักษาระดับ
เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 68
สินคาปลายงวดใหเพียงพอกับการขยายตัวของยอดการขายในอนาคต จํานวนสินคาคงเหลือปลายงวดเปนปจจัย
ที่สําคัญในการวัดสมรรถภาพในการสรางกําไร เพราะถาเก็บสินคาไวมากตองเสียตนทุนในการเก็บรักษา คา
ประกันภัย และเกิดตนทุนคาเสียโอกาสที่เงินลงทุนจมในสินคา ไมไดใชเงินทุนไปลงทุนในโครงการลงทุนอื่นที่
สรางกําไรไดมากกวา แตถาเก็บสินคาสําเร็จรูปไวนอยในขณะที่ภาวะตลาดขณะนั้นมีความตองการสินคาสูงกวาที่
คาดคะเนไว เกิดสินคาขาดตลาด ไมพอขาย ไมสามารถสงมอบสินคาแกลูกคาไดในเวลาที่กําหนด ลูกคายอมไม
พอใจ และหากเรงการผลิตมีผลใหกระทบกระเทือนตอตารางการผลิต ดังนั้น การกําหนดจํานวนสินคาคงเหลือใน
ระดับที่เหมาะสม เปนสิ่งที่ตองจัดทํากอนการจัดทํางบประมาณการผลิต สมการคํานวณจํานวนสินคาที่ตองผลิต
มีดังนี้

จํานวนสินคาที่ตองผลิต = จํานวนหนวยขาย + จํานวนหนวยสินคาสําเร็จรูปปลายงวดที่ตองการ - จํานวน


หนวยสินคาสําเร็จรูปตนงวด

ตัวอยาง จากตัวอยางเดิมบริษัทพรรณนา โปรดิวส จํากัด ตองการที่จะกําหนดจํานวนสินคาสําเร็จรูป


คงเหลือในแตละไตรมาสเทากับปริมาณการขายในเดือนแรกของไตรมาสถัดไป ดังนี้
เดือน สินคา A สินคา B
เมษายน 2550 3,600 3,000
กรกฎาคม 2550 2,580 3,600
ตุลาคม 2550 1,980 3,000
มกราคม 2551 2,340 2,880
ณ 1 มกราคม 2550 สินคา A มีจํานวน 1,620 หนวย สินคา B มีจํานวน 2,400 หนวย
การจัดทํางบประมาณการผลิต เปนดังนี้
บริษัทพรรณนา โปรดิวส จํากัด
งบประมาณการผลิต
ประจําป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550
ไตรมาส
รายการ
1 2 3 4 รวม

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 69


3.3 งบประมาณวัตถุดิบทางตรง (Direct material budget)
ภายหลังจากทราบจํานวนสินคาสําเร็จรูปที่ตองผลิตจะตองจัดทํางบประมาณเกี่ยวกับปจจัยการผลิต อัน
ไดแกงบประมาณวัตถุดิบทางตรง งบประมาณแรงงานทางตรง และงบประมาณคาใชจายในการผลิต การจัดทํา
งบประมาณวัตถุดิบทางตรง จะตองทําการกําหนดวัตถุดิบคงเหลือปลายงวดกอน เพราะจะตองรักษาระดับ
วัตถุดิบปลายงวดใหเพียงพอกับการขยายตัวของยอดการผลิตในอนาคต จํานวนวัตถุดิบคงเหลือปลายงวดเปน
ปจจัยที่สําคัญในการวัดสมรรถภาพในการสรางกําไร เพราะถาเก็บวัตถุดิบไวมากจะตองเสียตนทุนในการเก็บ
รักษา คาประกันภัย และเกิดตนทุนคาเสียโอกาสที่เงินลงทุนจมในสินคา ไมไดใชเงินทุนไปลงทุนในโครงการ
ลงทุนอื่นที่สรางกําไรไดมากกวา แตถาเก็บวัตถุดิบไวนอยภาวะตลาดขณะนั้นมีความตองการผลิตสินคาสูงกวาที่
คาดคะเนไว เกิดวัตถุดิบไมเพียงพอในการผลิตมีผลใหกระทบกระเทือนตอตารางการผลิต ดังนั้น การกําหนด
จํ า นวนวั ต ถุ ดิ บ คงเหลื อ ในระดั บ ที่ เ หมาะสมเป น สิ่ ง ที่ ต อ งจั ด ทํ า ก อ นการจั ด ทํ า งบประมาณวั ต ถุ ดิ บ ทางตรง
การคํานวณจํานวนวัตถุดิบที่ตองซื้อและจํานวนเงินที่จะซื้อวัตถุดิบ มีดังนี้
จํานวนวัตถุดิบที่ตองจัดซื้อ = จํานวนหนวยวัตถุดิบที่ตองใชผลิต+จํานวนหนวยวัตถุดิบปลายงวดที่ตองการ
- จํานวนหนวยวัตถุดิบที่มีตนงวด

ตัวอยาง จากตัวอยางเดิมบริษัทพรรณนา โปรดิวส จํากัด กําหนดมาตรฐานการผลิตสินคา 1 หนวย


โดยใชวัตถุดิบดังนี้
สินคา A ใชวัตถุดิบ 5 กก.ๆ ละ 2 บาท (มีวัตถุดิบคงเหลือ 1 มกราคม 2550 จํานวน 10,500 กก.)
สินคา B ใชวัตถุดิบ 4 กก.ๆ ละ 2 บาท (มีวัตถุดิบคงเหลือ 1 มกราคม 2550 จํานวน 13,900 กก.)
ทั้งนี้ กําหนดจํานวนวัตถุดิบคงเหลือในแตละไตรมาสไว ดังนี้
สินคา A สินคา B
ไตรมาสที่ 1 (กก.) 10,200 13,500
ไตรมาสที่ 2 (กก.) 12,000 12,800
ไตรมาสที่ 3 (กก.) 10,700 11,000
ไตรมาสที่ 4 (กก.) 11,200 11,700
การจัดทํางบประมาณวัตถุดิบทางตรง เปนดังนี้
บริษัทพรรณนา โปรดิวส จํากัด
งบประมาณวัตถุดิบทางตรง
ประจําป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550
ไตรมาส
รายการ
1 2 3 4 รวม

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 70


ไตรมาส
รายการ
1 2 3 4 รวม

3.4 งบประมาณคาแรงงานทางตรง (Direct labor budget)


งบประมาณคาแรงงานทางตรง ใหขอมูลเกี่ยวกับความจําเปนในการใชแรงงานในแตละระยะเวลา จึง
ตองอาศัยขอมูลจากงบประมาณการผลิต เพราะถาจางงานมากเกินไปจะเกิดตนทุนสูญเปลา แตถาพนักงานมี
นอยไมเหมาะสมกับการผลิตจะทําใหเสียคาลวงเวลามาก ดังนั้น ในขั้นแรกจะตองคํานวณหาจํานวนชั่วโมงที่
ตองการใชในการผลิต และจํานวนเงินอัตราจางตอชั่วโมง
ตัวอยาง จากตัวอยางเดิมบริษัทพรรณนา โปรดิวส จํากัด กําหนดมาตรฐานการผลิตสินคา 1 หนวย
โดยสินคา A ใชแรงงาน 2 ชั่วโมง ๆ ละ 10 บาท และสินคา B ใชแรงงาน 1 ชั่วโมง ๆ ละ 10 บาท
การจัดทํางบประมาณคาแรงงานทางตรง เปนดังนี้
บริษัทพรรณนา โปรดิวส จํากัด
งบประมาณคาแรงงานทางตรง
ประจําป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550
ไตรมาส
รายการ
1 2 3 4 รวม

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 71


3.5 งบประมาณคาใชจายในการผลิต (Manufacturing overhead budget)
งบประมาณคาใชจายในการผลิต คือคาใชจายในการผลิตที่โรงงานจายไปเพื่อใหการผลิตเสร็จสมบูรณ
ในสวนที่ไมใชคาวัตถุดิบทางตรง และคาแรงงานทางตรง การวิเคราะหคาใชจายในการผลิตจะแยกเปน
คาใชจายคงที่และคาใชจายผันแปร การตีราคาสินคาคงคลังควรใชวิธีตนทุนรวมเพื่อการรายงานแกภายนอก
องคกร โดยตองนําคาใชจายคงที่และคาใชจายผันแปรรวมคํานวณเปนตนทุนสินคา สําหรับการรายงานโดยระบบ
ตนทุนผันแปรเพื่อประโยชนการจัดการภายในองคกรอาจใชเฉพาะคาใชจายผันแปรคํานวณเปนตนทุนสินคา
ตัวอยาง จากตัวอยางเดิมบริษัทพรรณนา โปรดิวส จํากัด มีคาใชจายในการผลิต ดังนี้
คาใชจายในการผลิตผันแปรกําหนดไว ดังนี้
รายการ อัตราโดยประมาณตอชั่วโมงแรงงานทางตรง
คาแรงงานทางออม 0.60 บาท
คาวัตถุดิบทางออม 0.30 บาท
คาสวัสดิการพนักงาน 1.60 บาท
คาสิ่งอํานวยความสะดวก 0.50 บาท
คาใชจายในการผลิตคงที่ที่เกิดขึ้นแตละไตรมาส เปนดังนี้
คาผูค วบคุมงาน 50,600 บาท
คาภาษีทรัพยสิน 6,500 บาท
คาประกันภัย 7,200 บาท
คาซอมบํารุง 11,500 บาท
คาสาธารณูปโภค
ไตรมาสที่ 1 10,600 บาท
ไตรมาสที่ 2 6,600 บาท
ไตรมาสที่ 3 9,600 บาท
ไตรมาสที่ 4 6,600 บาท
คาเสื่อมราคา 24,000 บาท
คาใชจายอื่น ๆ 3,000 บาท
การจัดทํางบประมาณคาใชจายในการผลิต เปนดังนี้
บริษัทพรรณนา โปรดิวส จํากัด
งบประมาณคาใชจายในการผลิต
ประจําป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550
ตนทุน ไตรมาส
รายการ
ตอหนวย 1 2 3 4 รวม

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 72


ตนทุน ไตรมาส
รายการ
ตอหนวย 1 2 3 4 รวม

3.6 งบประมาณตนทุนสินคาขาย (Cost of goods sold budget)


ขั้นตอนตอไปในการจัดทํางบประมาณคือ การจัดทํางบประมาณตนทุนสินคาขาย ซึ่งตองนําขอมูลที่ได
จากการทํางบประมาณการผลิต งบประมาณวัตถุดิบทางตรง งบประมาณคาแรงงาน และงบประมาณคาใชจายใน
การผลิต จากตัวอยางเดิมบริษัท พรนุรักษ จํากัด สามารถจัดทํางบประมาณตนทุนสินคาที่ขาย ไดดังนี้
บริษัทพรรณนา โปรดิวส จํากัด
งบประมาณตนทุนสินคาที่ขาย
ประจําป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550
รายการ สินคา A สินคา B รวม

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 73


3.7 งบประมาณคาใชจายในการขาย (Selling expenses budget)
คาใชจายทางการตลาดของธุรกิจมีอิทธิพลตอการเพิ่มและลดจํานวนหนวยการขาย ดังนั้นการประเมิน
การคาใชจายในการขายจึงใชจํานวนหนวยขายเปนฐานในการคํานวณ ซึ่งจะตองมีการประเมินผลอยาง
ระมัดระวัง
ตัวอยาง จากตัวอยางเดิมบริษัทพรรณนา โปรดิวส จํากัด มีคาใชจายในการขาย ดังนี้
คาใชจายในการขายผันแปรประกอบดวยคาโฆษณา รอยละ 2 ของมูลคาขาย และ คานายหนา รอยละ
8 ของมูลคาขาย
คาใชจายในการขายคงที่ในแตละไตรมาสประกอบดวย
เงินเดือนผายขาย 38,000 บาท
คาเดินทาง 3,600 บาท
คารับรอง 2,400 บาท
คาประกันภัย 600 บาท
คาภาษีทรัพยสิน 400 บาท
คาสิ่งอํานวยความสะดวก 300 บาท
คาเสื่อมราคา 3,000 บาท
คาใชจายอื่น ๆ 700 บาท
การจัดทํางบประมาณคาใชจายในการขาย เปนดังนี้
บริษัทพรรณนา โปรดิวส จํากัด
งบประมาณคาใชจายในการขาย
ประจําป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550
ไตรมาส
รายการ
1 2 3 4 รวม

3.8 งบประมาณคาใชจายในการบริหาร (Administrative expenses budget)


งบประมาณคาใชจายในการบริหาร เปนการประมาณคาใชจายในการบริหารงานทั่วไปของป ไดแก
คาใชจายเกี่ยวกับสํานักงานบริหาร สํานักงานบัญชีและการเงิน แผนกบริหารงานบุคคล โดยคํานวณเปนราย
ไตรมาส โดยปกติคาใชจายในการบริหารเปนคาใชจายคงที่ทั้งหมด เพราะจํานวนเงินคาใชจายไมไดผันแปรตาม
เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 74
ยอดขาย นอกจากคาโบนัสฝายบริหารที่คํานวณโดยใชอัตรารอยละตอยอดขาย
ตัวอยาง จากตัวอยางเดิมบริษัทพรรณนา โปรดิวส จํากัด มีคาใชจายในการบริหารในแตละไตรมาส
ดังนี้
เงินเดือนผูบริหาร 40,848 บาท
เงินเดือนพนักงานประจําสํานักงาน 17,000 บาท
คาประกันภัย 2,150 บาท
คาภาษีทรัพยสิน 1,200 บาท
คาสื่ออํานวยความสะดวก 600 บาท
คาวัสดุสิ้นเปลือง 1,400 บาท
คาเสื่อมราคา 10,000 บาท
คาใชจายอื่น ๆ 800 บาท
การจัดทํางบประมาณคาใชจายในการบริหาร เปนดังนี้
บริษัทพรรณนา โปรดิวส จํากัด
งบประมาณคาใชจายในการบริหาร
ประจําป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550
ไตรมาส
รายการ
1 2 3 4 รวม

3.9 งบประมาณกําไรขาดทุน (Budgeted income statement)


เปนงบประมาณที่รวบรวมขอมูลจากงบประมาณดําเนินงานมาจัดทํางบกําไรขาดทุนโดยประมาณ ไดแก
งบประมาณขาย งบประมาณตนทุนขาย งบประมาณคาใชจายในการขายและการบริหารมาสรุป จากตัวอยางเดิม
บริษัทพรรณนา โปรดิวส จํากัดสามารถจัดทํางบประมาณกําไรขาดทุนไดดังนี้
บริษัทพรรณนา โปรดิวส จํากัด
งบประมาณกําไรขาดทุน
ประจําป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550
รายการ สินคา A สินคา B รวม

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 75


รายการ สินคา A สินคา B รวม

4. งบประมาณการเงิน

4.1 งบประมาณจายลงทุน (Capital expenditure หรือ Capital budget)


ในการจัดทํางบประมาณจายลงทุนเมื่อบริษัทเพิ่มการขายจากการขยายการตลาด จึงมีความจําเปนที่
ตองจายเงินลงทุนจํานวนมาก และอาจมีการกูยืมระยะยาวเพื่อการลงทุน ซึ่งระยะเวลามากกวา 1 งวดบัญชี คือ 2
ป 3 ป 5 ป หรือ 10 ป งบประมาณจายลงทุนจะแสดงรายการการลงทุนดานตางๆ ของกิจการ โดยทั่วไปจะเปน
การลงทุนในสินทรัพยระยะยาว ดังนั้น หากมีการจายลงทุนตองคํานึงถึงแหลงที่มาของเงินทุน รวมถึงภาระ
ดอกเบี้ยที่จะเกิดขึ้นอันมีผลกระทบตองบประมาณเงินสด และงบกระแสเงินสดดวย
ตัวอยาง จากตัวอยางเดิมบริษัทพรรณนา โปรดิวส จํากัด มีการลงทุนในไตรมาสที่ 4 ในการจัดซื้อชุด
คอมพิวเตอร 80,000 บาท และ ยานพาหนะ 70,000 บาท
การจัดทํางบประมาณจายลงทุน เปนดังนี้
บริษัทพรรณนา โปรดิวส จํากัด
งบประมาณจายลงทุน
ประจําป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550
ไตรมาส
รายการ
1 2 3 4 รวม

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 76


4.2 งบประมาณเงินสด (Cash budget)
เปนการประมาณการวางแผนเกี่ยวกับการรับ-จายเงินสดในงวดระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง เพื่อใหการ
บริหารเงินสดเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ คือ ชวยไมใหขาดแคลนเงินสดที่จะใชหมุนเวียน หรือเมื่อมีการจัดทํา
งบประมาณไวลวงหนาแลวจะชวยชี้ใหเห็นวาการขาดแคลนเงินสดเกิดขึ้นชวงใด ฝายบริหารจะไดวางแผนการ
จัดหาเงินสด นอกจากนี้งบประมาณเงินสดยังสามารถบอกถึงระยะเวลาที่จะไดเงินสดกลับคืนมาดวย
ตัวอยาง จากตัวอยางเดิมบริษัทพรรณนา โปรดิวส จํากัด ขายสินคาเปนเงินเชื่อ และการซื้อวัตถุดิบ
เปนการซื้อเงินเชื่อ โดยมีเงื่อนไขการจายชําระเงินและการรับชําระเงิน ดังนี้
เงินสดรับ 60% ของยอดขาย ไดรับในไตรมาสที่ขาย
30% ของยอดขาย ไดรับหลังไตรมาสที่ขาย 1 ไตรมาส
10% ของยอดขาย ไดรับหลังไตรมาสที่ขาย 2 ไตรมาส
(ยอดขายป 2549 ไตรมาสที่ 3 730,000 บาท ไตรมาสที่ 4 760,000 บาท)
เงินสดจาย 80% ของยอดซื้อวัตถุ จายชําระในไตรมาสที่ซื้อ
20% ของยอดซื้อวัตถุ จายชําระหลังไตรมาสที่ที่ซื้อ
(ยอดซื้อวัตถุดิบ ป 2549 ไตรมาสที่ 4 140,000 บาท)
นอกจากนี้ กําหนดการจายเงินปนผลแกผูถือหุน ในไตรมาสที่ 1 – 3 ไตรมาสละ 20,000 บาท สวน
ไตรมาสที่ 4 จายจํานวน 40,000 บาท และตั้งประมาณการจายภาษีไวไตรมาสละ 40,000 บาท ทั้งนี้บริษัทมี
นโยบายเงินสดขั้นต่ําจํานวน 30,000 บาท (ดอกเบี้ยเงินกูระยะสั้นรอยละ 6 ตอไตรมาส)
การคํานวณหาเงินสดรับชําระจากลูกหนี้คํานวณดังนี้

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 77


การจัดทํางบประมาณเงินสด เปนดังนี้
บริษัทพรรณนา โปรดิวส จํากัด
งบประมาณเงินสด
ประจําป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550
ไตรมาส
รายการ
1 2 3 4 รวม

4.3 งบประมาณงบดุล (Budgeted balance sheet)


เปนการนําขอมูลจากงบประมาณตางๆ มาจัดทํางบดุลโดยประมาณ งบกําไรขาดทุนโดยประมาณจะ
แสดงใหเห็นวางบประมาณที่เกิดขึ้นนั้น มีผลทําใหกําไรสะสม คาเสื่อมราคา ภาษีเปลี่ยนแปลงไปอยางไร ขอมูล
เกี่ยวกับเงินสดคงเหลือ ตั๋วเงินจาย หนี้สินระยะยาว บัญชีลูกหนี้ บัญชีเจาหนี้ จะสามารถหาไดจากงบประมาณ
เงินสด สวนงบประมาณจายลงทุน จะทําใหทราบถึงการเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยประจําที่คาดวาจะเกิดขึ้น สวน
งบดุลในปปจจุบัน จะเปนงบที่ชวยใหทราบคาเบื้องตนของรายการที่คาดวาจะเปลี่ยนแปลงในงบดุล โดยเฉพาะ
สินทรัพยประจํา ทุนหุนสามัญ และกําไรสะสม สินคาคงคลัง บัญชีลูกหนี้ตนงวด เงินสดตนงวด หนี้สินตนงวด
และสามารถตรวจสอบงบดุลปปจจุบันและงบดุลโดยประมาณ เพื่อพิจารณาฐานะของกิจการไดอยางพอเพียง
จากตัวอยางเดิมบริษัทพรรณนา โปรดิวส จํากัดสามารถจัดทํางบประมาณงบดุลไดดังนี้

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 78


บริษัทพรรณนา โปรดิวส จํากัด
งบดุลโดยประมาณ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550
2549 2550
สินทรัพย
สินทรัพยหมุนเวียน
เงินสด 36,000
ลูกหนี้ 377,000
สินคาสําเร็จรูป 108,720
วัตถุดิบ 48,800
รวมรวมสินทรัพยหมุนเวียน 570,520
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ
ที่ดิน 550,000
อาคารและอุปกรณ 1,330,932
หัก คาเสื่อมราคาสะสมอาคารและอุปกรณ (620,000) 710,932
รวมที่ดินอาคารและอุปกรณ 1,260,932
รวมสินทรัพย 1,831,452
หนี้สินและสวนของผูถือหุน
หนี้สินหมุนเวียน
เจาหนี้ 28,000
ภาษีคางจาย 0
รวมหนี้สินหมุนเวียน 28,000
สวนของผูถือหุน
หุนสามัญ(500หุน) 500,000
กําไรสะสม 1,303,452
รวมสวนของถือหุน 1,803,452
รวมหนี้สินและสวนของเจาของ 1,831,452

4.4 งบกระแสเงินสดโดยประมาณ (Cash budget)


การวางแผนการขายและการผลิตของบริษัทที่จัดทําตามเกณฑคงคาง (Accrual basis) จะถูกนํามา
จัดทําตามเกณฑเงินสด (Cash basis) ในรูปงบประมาณเงินสด โดยจัดทําเปนระยะเวลา 3 เดือน 6 เดือน หรือ 1
ป ซึ่งจะทําใหทราบถึงจํานวนเงินสดรับและเงินสดจาย โดยจะใชขอมูลจากงบประมาณกําไรขาดทุน งบดุล
โดยประมาณ และงบประมาณการจายลงทุน มาจัดทํางบประมาณเงินสด งบประมาณเงินสดคํานวณดังนี้

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 79


บริษัทพรรณนา โปรดิวส จํากัด
งบกระแสเงินสดโดยประมาณ
สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 80

You might also like