You are on page 1of 27

แบบทดสอบก่อนเรียน

คำำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำำตอบทีถ
่ ูกต้องทีส
่ ุด

1. จัดเป็ นภาพของสิ่งใด

ก. สินทรัพย์

ข. หนี้ สิน

ค. ส่วนของเจ้าของ

ง. ค่าใช้จ่าย
2. สินทรัพย์ระยะยาวได้แก่

ก. เงินสด

ข. ลูกหนี้

ค. ดินสอ

ง. ที่ดิน
3. ข้อใดจัดเป็ นสมการบัญชี

ก. สินทรัพย์ = หนี้ิ สิน + ทุน

ข. หนี้ สิน = สินทรัพย์ - ทุน

ค. ทุน = สินทรัพย์ - หนี้ สิน

ง. ถูกทุกข้อ

4. ธุรกิจประเภทใด จัดเป็ นธุรกิจการให้บริการ

ก. โรงงานปลากระป๋อง

ข. กิจการไม้แปรรูบ

ค. โรงภาพยนต์

ง. ห้างสรรพสินค้า

5. ข้อใด มีผลทำาให้สินทรัพย์ลด ส่วนของเจ้าของลด

ก. ซื้อสินค้าเป็ นเงินสด

ข. รับรายได้เป็ นเงินสด

ค. จ่ายค่าเบี้ยประกันชีวิต

ง. นำาเงินไปฝากธนาคารกรุงไทย

6. จ่ายค่ากระแสไฟฟ้ า 500 บาท วิเคราะห์ได้ว่าอย่างไร


ก. เดบิตเงินสด เครดิตค่ากระแสไไฟ้ า

ข. เดบิตค่ากระแสไฟฟ้ า เครดิตเงินสด

ค. เดบิตรายได้ค่ากระแสไฟฟ้ า เครดิตเงินสด

ง. เดบิดเงินสด เครดิตรายได้ค่ากระแสไฟฟ้ า

7. หนี้ สินเพิ่มบันทึกบัญชีด้านใด

ก. เดบิต

ข. เครดิต

ค. เดบิตและเครดิต

ง. ด้านซ้ายของบัญชี

8. สมุดรายวันรับเิงินจัดอย่ใู นสมุดรายวันขั้นตั้นประเภทใด

ก. สมุดรายวันเฉพาะ

ข. สมุดรายวันทั่วไป

ค. สมุดรายวันแยกประเภทย่อย

ง. สมุดรายวันแยกประเภททั่วไป

9. ถ้าต้องเปิ ดร้านตัดผม ควรเลือกบันทึกลงในสมุดรายวันขั้นตั้นเล่มใด จะเหมาะสมที่สุด

ก. สมุดรายวันจ่านเงิน

ข. สมุดรายรับเงินสด

ค. สมุดรายวันเฉพาะ

ง. สมุดรายวันทั่วไป

10. บัญชีแยกประเภท หมวดที่ 4 ได้แก่

ก. ค่าเช่าร้าน

ข. วัสดุสำานักงาน

ค. รายได้ค่าบริการ

ง. ถอนใช้สว
่ นตัว
สมการบัญชีและงบดุล

ความหมายของการบัญชี
การบัญชี (Acconting) คือศิลปะของการจดบันทึก จัดแยกประเภท สรุปผลการ
ดำาเนิ นงาน และฐานะทางการเงินของกิจการ

ประโยชน์ของการบัญชี
1.เจ้าของกิจการสามารถควบคุมดูแลรักษาสินทรัพย์มิให้สูญหาย
2.เจ้าของกิจการสามารถนำาข้อมูลมาบริหารจัดกรได้ดียิ่งขึ้น
3.เจ้าของกิจการทราบผลกำาไรและขาดทุน
4.ป้ องกันการทุจจิตได้

สินทรัพย์
ความหมายของสินทรัพย์ (Assets) คือ เงินหรือสิ่งของที่มีมูลค่าเป็ นตัวเงิน ที่กิจการ
หรือบุคคลเป็ นเจ้าของ อาจจะมีตว
ั ตนหรือไม่มีตัวตนก็ได้

สินทรัพย์ท่ีมีตัวตน ได้แก่ สินทรัพย์ท่ีมองเห็น สัมผัสได้ มีค่าเป็ นตัวเงิน เช่น เงินสด


บ้าน ที่ดิน
สินทรัพย์ท่ีไม่มีตัวตน ได้แก่ สินทรัพย์ท่ีมองไม่เห็น สัมผัสไม่ได้ มีค่าเป็ นตัวเงิน เช่น ค่า
ความนิ ยม ลิขสิทธิ ์ สัญญาเช่า

สินทรัพย์สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ได้แก่


1.สินทรัพย์หมุนเวียน (Current Assets) หมายถึง สินทรัพย์ที่เปลี่ยนเป็ น
เงินสดได้ง่าย หรืออาจใช้ในการดำาเนิ นงานให้หมดสิ้นภายใน 1 ปี เช่น เงินสด
เงินฝากธนาคาร หรือสินทรัพย์อ่ ืนที่เปลี่ยนเป็ นเงินสดได้เร็ว เช่น ลูกหนี้ การ
ค้า
2.สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (Non-Current Assets) หมายถึง สินทรัพย์ที่ไม่
สามารถเปลี่ยนเป็ นเงินสดได้โดยเร็ว มีอายุการใช้งานค่อนข้างยาวนาน และ
กิจการมีไว้เพื่อใช้ประโยชน์ในการดำาเนิ นงาน เช่น เงินลงทุนระยะยาว ที่ดิน
อาคาร อุปกรณ์ รถยนต์
หนี้ สิน
หนี้ สิน (Liabilities) คือ จำานวนเงินที่บุคคลหรือกิจการเป็ นหนี้ บุคคลภายนอก โดยมี
ภาระผูกพันซึ่งจะต้องชำาระในวันข้างหน้า

ชนิ ดของหนี้ สิน


1.หนี้ สน
ิ ที่เกิดจากการซื้อสินทรัพย์อ่ ืน ๆ เป็ นเงินเชื่อ เรียกว่า เจ้าหนี้
2.หนี้ สนิ เกิดจากยืมเงิน เรียกว่าเจ้าหนี้ เงินยืม (เงินก้)ู
3.หนี้ สน ิ เกิดจากการไม่ได้จ่ายค่าใช้จ่าย เรียกว่า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
4.หนี้ สน ิ ประเภท ตัว
๋ เงินจ่าย คือสักญญา ซึ่งกิจการค้ารับรองว่าจะจ่ายเงินจำานวน
หนึ่ งให้แก่เจ้าหนี้ ตามกำาหนดไว้ในอนาคต

ตัวอย่างบัญชีหนี้ สน ิ
บัญชีเจ้าหนี้ -ร้าน/นาย........
บัญชีเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร
บัญชีตัวเงินจ่าย
บัญชีค่า......ค้างจ่าย
บัญชีรายได้.............ค้างรับ
หนี้ สินสามารถแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ได้แก่
1.หนี้ สนิ หมุนเวียน (Current Liabilities) หมายถึง ภาระผูกพันที่กิจการต้อง
ชำาระคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี เช่น เจ้าหนี้ การค้า เงินเบิกเกินบัญชี ตัว ๋ เงิน
จ่าย
2. หนี้ สนิ ระยะยาว (Long-term Liabilities) หมายถึง หนี้ สน ิ ซึ่งมีระยะเวลาการ
ชำาระคืนเกินกว่า 1 ปี เช่น เงินกู้ระยะยาว ห้นุ กู้
3. หนี้ สน ิ อื่น (Other Liabilities) หมายถึง หนี้ สินซึ่งไม่อาจจัดเป็ นหนี้ สน

หมุนเวียนและหนี้ สินระยะยาว เช่น เงินสะสมหรือเงินบำานาญของลูกจ้างพนักงาน ราย
ได้รอการตัดบัญชี

ส่วนของเจ้าของ
ส่วนของเจ้าของ (Owner’s equity) คือ มูลค่าของสินทรัพย์ที่บุคคลหรือกิจการ
เป็ นเจ้าของโดยปราศจากหี้สิน
์ ห่งความเป็ นเจ้าของ
หรือส่วนของเจ้าของ(ทุน) คือ กรรมสิทธิแ

ตัวอย่างบัญชีส่วนของเจ้าของ
บัญชีทุน - นาย....
บัญชีถอนใช้สวนตัว
บัญชีค่า....
บัญชีรายได้ค่า....
บัญชีดอกเบี้ยรับ
บัญชีสรุปผลกำาไรขาดทุน

สมการบัญชี
สมการบัญชี (Accounting Equation) คือ ความสัมพันธ์ ระหว่างสินทรัพย์ หนี้
สิน และส่วนของเจ้าของ(ทุน)

จะได้ว่า
สินทรัพย์ = หนี้ สิน + ทุน

เขียนสมการได้ดังนี้
กรณี ท1
่ี ถ้าไม่มีหนี้ สิน สมการบัญชีจะเป็ น
สินทรัพย์ = ทุน
Assets = Owner’s Equity (Proprietorship)
หรือใช้ตัวย่อ A = OE (P)
กรณี ท1
่ี ถ้า่มีหนี้ สิน สมการบัญชีจะเป็ น
สินทรัพย์ = หนี้ สิน + ทุน
A = L + OE (P)

ตัวอย่าง สินทรัพย์ หนี้ สิน ส่วนของเจ้าของ (ทุน)

1. _______ 5,000 25,000

2. 30,000 6,000 _______

3. 80,000 _______ 60,000

แทนจำานวนเงินในช่องว่าได้เป็ น
1. 3,000 5,000 25,000

2. 30,000 6,000 24,000

3. 80,000 20,000 60,000

วิเคราะห์รายการค้า

รูปแบบของธุรกิจ
รูปแบบของกิจการค้าแต่ละประเภทจะแตกต่างกันออกไปตามสภาพการลงทุนใน
กิจการ ลักษณะการจัดตั้ง การดำาเนิ นงาน และความสำาคัญทางเศรษฐกิจ
สามารถแบ่งได้ดังนี้
1. กิจการเจ้าของคนเดียว (Single Proprietorship) ได้แก่ กิจการขนาด
เล็กที่มีบุคคลคนเดียวเป็ นเจ้าของ เช่น ร้านค้าย่อย การจัดตั้งทำาได้ง่าย แต่การ
ขยายกิจการทำาได้ยากเพราะมีเงินทุนจำากัด
2. ห้างหุ้นส่วน (Partnership) คือ กิจการทีมีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
ร่วมกันเป็ นเจ้าของโดยมีสัญญาตกลงรวมทุนกันเป็ นหุ้นส่วนประกอบการค้าเพื่อ
หวังกำาไร โดยผู้เป็ นหุ้นส่วนจะมีทุนเท่ากันหรือไม่เท่ากันก็ได้ ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ห้างหุ้นส่วนแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท
2.1 ห้างหุ้นส่วนสามัญ (Ordinary Partnership) คือ ห้างหุ้นส่วน
ประเภทที่ผู้เป็ นหุ้นส่วนทุกคนต้องรับผิดชอบร่วมกันในหนี้ สินโดยไม่จำากัดจำานวน
ห้างหุ้นส่วนประเภทนี้ จะจดทะเบียนเป็ นนิ ติบุคคลก็ได้หรือไม่จดทะเบียนก็ได้
2.2 ห้างหุ้นส่วนจำากัด (Limited Partnership) คือ ห้างหุ้นส่วนที่
ประกอบด้วยผู้เป็ นหุ้นส่วน 2 จำาพวก คือจำาพวกจำากัดความรับผิดชอบ และไม่
จำากัดความรับผิดชอบ และ กฎหมายบังคับให้จดทะเบียนเป็ นนิ ติบุคคล

3. บริษัทจำากัด (Company Limited or Corporation) คือ กิจการที่ต้ ังขึ้น


ในรูปของนิ ติบุคคลด้วยการแบ่งทุนเป็ นหุ้นมีมูลค่าเท่าๆ กัน ผู้ท่ีลงทุนซื้ อหุ้นของ
กิจการเรียกว่า “ผู้ถือห้น
ุ ” ผู้ถือห้น
ุ จะได้รบ
ั ส่วนแบ่งกำาไรเป็ นเงินปั นผล
(Dividends) บริษัทจำากัดแบ่งเป็ น 2 ประเภท
3.1 บริษัทเอกชน จำากัด (Private Company Limited) มีจำานวนผู้
ถือหุ้นตั้งแต่เจ็ดคนขึ้นไป (ป.พ.พ. มาตรา 1097)
3.2 บริษัทมหาชน จำากัด (Public Company Limited) มีจำานวนผู้ถือ
หุ้นตั้งแต่สิบห้าคนขึ้นไป (พ.ร.บ. บริษัทมหาชน จำากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 16)

รายการค้า
รายการค้า (Business Transaction) หมายถึง การดำาเนิ นงานในทางการค้าที่
ทำาให้เกิดการโอนเงิน หรือสิ่งทีมีมูลค่าเป็ นเงิน ระหว่างกิจการกับบุคคลภายนอก
ที่เกี่ยวข้อง

ตัวอย่างรายการค้าได้แก่้ ี
1. รายลงทุน
2. รายการซื้ อสินทรัพย์เป็ นเงินเชื่อ
3. รายการซื้ อสินทรัพย์เป็ นเงินสด
4. รายการจ่ายชำาระหนี้
5. รายการให้บริการเป็ นเงินเชื่อ
6. รายการรับชำาระหนี้
7. รายการจ่ายค่าใช้จา่ ยต่าง ๆ
8. รายการรับเงินจากการให้บริการ
9. รายการจ้าของถอนเงินสดไปใช้ส่วนตัว

รายการที่ไม่ก่อให้เกิดรายการค้า (Non-Business
Transaction)

รายการที่มิใช่รายการค้า ได้แก่ การดำาเนิ นงานในทางการค้าที่ไม่ก่อให้


เกิดการโอนเงิน หรือสิ่งที่มีค่าเป็ นเงิน

ตัวอย่างที่มิใช่รายการค้า
1. การจัดร้าน เช่น การตกแต่งร้าน การจัดแสดงสินค้า
2. การเชิญชวนและการต้อนรับลูกค้า
3. การสาธิต เช่น การสาธิตการใช้เตาอบ
4. การเขียนจดหมาย เช่น การเขียนจดหมายขอบคุณ
5. การสอบถามรายการค้า
เมื่อเกิดรายการที่มิใช่รายการค้าดังกล่าวเกิดขึ้น จึงไม่ต้องบันทึกบัญชี
เนื่ องจากไม่ก่อให้เกิดการโอนเงิน

การวิเคราะห์รายการค้า
วิเคราะห์รายการค้า (Business Transaction Analysis)
การวิเคราะห์รายการค้า หมายถึง การพิจารณาว่ารายการค้าที่เกิดขึ้นว่า
รายการค้านั้ น มีผลทำาให้สินทรัพย์ หนี้ สิน และส่วนของเจ้าของ เปลี่ยนแปลงไปใน
ทางที่เพิ่มขึ้น หรือลดลงเป็ นจำานวนเท่าใด

การเปลี่ยนแปลงประกอบ
ด้วยดังต่อไปนี้
1. สินทรัพย์เพิ่ม
(+) ส่วนของ
เจ้าของเพิ่ม (-)

กรณี ท่ี 1 กิจการนำา


สินทรัพย์มาลงทุน
เช่น กิจการนำา
............. มาลงทุน
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์เพิ่ม ส่วนของเจ้าของเพิ่ม
................. xxx ทุน xxx
เช่น กิจการนำาเงินสดมาลงทุน 6,000.- บาท
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์เพิ่ม ส่วนของเจ้าของเพิ่ม
เงินสด 6,000.- ทุน 6,000.-
กรณี ท่ี 2 รับรายได้เป็ นเงินสด
เช่น กิจการรับรายได้ค่า .............
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์เพิ่ม ส่วนของเจ้าของเพิ่ม
เงินสด xxx ราย
ได้............ xxx
เช่น กิจการรับรายได้ค่าบริการซักรีด 8,000.- บาท
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์เพิ่ม ส่วนของเจ้าของเพิ่ม
เงินสด 8,000.- รายได้ค่าบริการ
ซักรีด 8,000.-

กรณี ท่ี 3 รับรายได้เป็ นเงินเชื่อ


เช่น กิจการรับรายได้ค่า ............ ลูกค้าขอค้างไว้ก่อน
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์เพิ่ม ส่วนของเจ้าของเพิ่ม
ลูกหนี้ - ร้าน/นาย....... xxx ราย
ได้............ xxx
เช่น กิจการรับรายได้ค่าเช่าร้าน 18,000.- บาท ลูกค้าขอค้าง
ไว้ก่อน
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์เพิ่ม ส่วนของเจ้าของเพิ่ม
ลูกหนี้ 18,000.- รายได้ค่าเช่า
ร้าน 18,000.-

กรณี ท่ี 4 รับดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร


เช่น กิจการรับรายได้ค่า .............
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์เพิ่ม ส่วนของเจ้าของเพิ่ม
ธนาคาร xxx ดอกเบี้ย
รับ xxx
เช่น กิจการรับดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร 1,500.- บาท
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์เพิ่ม ส่วนของเจ้าของเพิ่ม
ธนาคาร 1,500- ดอกเบี้ย
รับ 1,500.-

2. สินทรัพย์ลด (-) ส่วนของเจ้าของลด (-)

กรณี ท่ี 1 กิจการจ่ายค่าใช้จ่าย


เช่น กิจการจ่ายค่า............. xxx
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์ลด ส่วนของเจ้าของลด
เงินสด xxx ค่า ............ xxx
เช่น กิจการจ่ายค่าแรงงาน 3,500.- บาท
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์ลด ส่วนของเจ้าของลด
เงินสด 3,500.- ค่าแรงงาน 3,500.-

กรณี ท่ี 2 กิจการถอนเงินใช้ส่วนตัว


เช่น กิจการจ่ายค่า............. xxx
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์ลด ส่วนของเจ้าของลด
เงินสด xxx ถอนใช้ส่วนตัว xxx
เช่น เจ้าของกิจการถอนเงินใช้สว่ นตัว 2,500.- บาท
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์ลด ส่วนของเจ้าของลด
เงินสด 2,500.- ถอนใช้ส่วนตัว 2,500.-

3. สินทรัพย์อย่างหนึ่ งเพิ่ม (-) สินทรัพย์อีกอย่างหนึ่ งลด (-)

กรณี ท่ี 1 ซื้ อสินทรัพย์เป็ นเงินสด


เช่น กิจการซื้ อ............. xxx
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์อย่่างหนึ่ งเพิ่ม สินทรัพย์อย่าง
หนึ่ งลด
...................... xxx
เงินสด xxx
เช่น กิจการซื้ อพัดลม 1 ตัว ราคา 500.- บาท
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์อย่่างหนึ่ งเพิ่ม สินทรัพย์อย่าง
หนึ่ งลด
พัดลม
500.- เงินสด 500.-

กรณี ท่ี 2 รับชำาระหนี้ จากลูกหนี้


เช่น กิจการรับชำาระหนี้ เงินเงิน............. xxx
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์อย่่างหนึ่ งเพิ่ม สินทรัพย์อย่าง
หนึ่ งลด
เงินสด xxx ลูกหนี้ - นาย/
ร้าน...... xxx
เช่น กิจการรับชำาระหนี้ จากนาย เอการช่าง 20,000.- บาท
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์อย่่างหนึ่ งเพิ่ม สินทรัพย์อย่าง
หนึ่ งลด
เงินสด 20,000.- ลูกหนี้ - นายเอ
การช่าง 20,000.-

กรณี ท่ี 3 กิจการนำาเงินฝากธนาคาร


เช่น กิจการนเงินฝากธนาคาร............. xxx
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์อย่่างหนึ่ งเพิ่ม สินทรัพย์อย่างหนึ่ ง
ลด
ธนาคาร xxx เงินสด
xxx
เช่น กิจการนำาเงินฝากธนาคาร 10,000.- บาท
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์อย่่างหนึ่ งเพิ่ม สินทรัพย์อย่างหนึ่ ง
ลด
ธนาคาร 10,000.- เงินสด 10,000.
-
กรณี ท่ี 4 เจ้าของกิจการถอนเงินจากธนาคารมาใช้ในร้าน
เช่น กิจการถอนเงินจากธนาคารมาใช้ในร้าน............. xxx
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์อย่่างหนึ่ งเพิ่ม สินทรัพย์อย่างหนึ่ ง
ลด
เงินสด xxx
ธนาคาร xxx
เช่น กิจการรับชำาระหนี้ จากนาย เอการช่าง 2,100.- บาท
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์อย่่างหนึ่ งเพิ่ม สินทรัพย์อย่างหนึ่ ง
ลด
เงินสด 2,100.- ธน
คาร 2,100.-

4. สินทรัพย์เพิ่ม (+) หนี้ สินเพิ่ม (+)

กรณี ท่ี 1 ซื้ อสินทรัพย์เป็ นเงินเชื่อ


เช่น กิจการซื้ อ............. xxx เป็ นเงินเชื่อ
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์เพิ่ม หนี้ สินเพิ่ม
...................... xxx เจ้าหนี้ - ร้าน/
นาย.......... xxx
เช่น กิจการซื้ อวิทยุ จากร้านนายดนั ยการค้าเป็ นเงินเชื่อ
3,500.- บาท
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์เพิ่ม หนี้ สินเพิ่ม
วิทยุ 3,500.- เจ้าหนี้ -ร้าน
ดนั ยการค้า 3,500.-

5. สินทรัพย์ลด (-) หนี้ สินลด (-)


กรณี ท่ี 1 กิจการจ่ายชำาระหนี้
เช่น กิจการจ่ายชำาระหนี้ ค่า............. xxx
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์ ลด หนี้ สิน ลด
เงินสด xxx เจ้าหนี้ - ร้าน/
นาย.......... xxx
เช่น กิจการจ่ายชำาระหนี้ ร้านดนั ยการค้า 3,500.- บาท
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์ ลด หนี้ สิน ลด
เงินสด 3,500.- เจ้าหนี้ -ร้านดนั ย
การค้า 3,500.-

การบันทึกบัญชี

การวิเคราะห์รายการค้าเพื่อบันทึกบัญชี
ในการเพิ่มขึ้นและลดลงของสินทรัพย์ หนี้ สิน และส่วนของเจ้าของนั้ น จะต้อง

นำาไปบัญทึกบัญชีประเภทสินทรัพย์ หนี้ สิน และส่วนของเจ้าของ (ทุน) ตามหลัก


บัญชีคู่แบ่งออกเป็ น 2 ด้านเสมอ

ลักษณะของบัญชีคู่แบ่งออก
เป็ น 2 ด้าน คือ
1. ด้านซ้ายของบัญชี เรียกว่า
ด้านเดบิต (Debit = Dr.)
2. ด้านขวาของบัญชี เรียกว่า
ด้านเครดิต (Credit = Cr.)

หลักการบันทึกบัญชี
1.การบันทึกบัญชีประเภทสินทรัพย์
- สินทรัพย์เพิ่มขึ้นให้บันทึกบัญชีสินทรัพย์ ด้านเดบิต (Dr.)
- สินทรัพย์ลดลง ให้บันทึกบัญชีสน
ิ ทรัพย์ ด้านเครดิต (Cr.)
ตัวอย่าง กิจการซื้ อวัสดุสำานั กงาน 1,000 บาท
วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์ (เพิ่ม) สินทรัพย์ (ลด)
วัสดุสำานั กงาน เงินสด
Dr. วัสดุสำานั กงาน 1,000.-

Cr. เงินสด 1,000.-

2.การบันทึกบัญชีประเภทหนี้ สิน
- หนี้ สินเพิ่มขึ้น ให้บันทึกบัญชีหนี้ สิน ด้านเครดิต (Cr.)
- หนี้ สินลดลง ให้บันทึกบัญชีหนี้ สิน ด้านเดบิต (Dr.)

ตัวอย่าง กิจการจ่ายชำาระหนี้ นายอำานาจ 3,000 บาท


วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์ (ลด) หนี้ สิน (ลด)
เงินสด เจ้าหนี้
Dr. เจ้าหนี้ 3,000.-
Cr. เงินสด 3,000.-

สรุป

สรุปหลักการบันทึกบัญชี

ด้านเดบิต ใช้บันทึกรายการดังต่้อไปนี้
1. สินทรัพย์เดิม และสินทรัพย์เพิ่ม
2. หนี้ สิน (ลด)
3. ส่วนของเจ้าของ(ลด)
- ถอนใช้ส่วนตัว
- ค่าใช้จ่าย
ด้านเครดิต ใช้บันทึกรายการดังต่้อไปนี้
1. สินทรัพย์ (ลด)
2. หนี้ สิน (เพิ่ม)
3. ส่วนของเจ้าของ(เพิ่ม)
- ทุน
- รายได้

3.การบันทึกบัญชีประเภทส่วนของเจ้าของ (ทุน)
- ส่วนของเจ้าของ (ทุน) เพิ่มขึ้น ให้บันทึกที่บัญชีส่วนของเจ้าของ ด้าน
เครดิต (Cr.)
- ส่วนของเจ้าของ (ทุน) ลดลง ให้บันทึกที่บัญชีส่วนของเจ้าของ ด้าน
เดบิต (Dr.)

ตัวอย่าง เจ้าของกิจการถอนเงินไปใช้ส่วนตัว 4,000 บาท


วิเคราะห์วา่ สินทรัพย์ (ลด) ส่วนของเจ้าของ (ลด)
เงินสด ถอนใช้ส่วนตัว
Dr. ถอนใช้ส่วนตัว 4,000.-
Cr. เงินสด 4,000.-

สมุดรายวันทัว
่ ไป

เอกสารการบันทึกบัญชี
เอกสารการบันทึกบัญชี คือ ใบเสร็จรับเงิน บิลเงินสด ใบสำาคัญรับเงิน ใบ

กำากับสินค้า ใบกำากับภาษี ใบส่งของ ใบสัง่ ซื้ อ ใบขอซื้ อ ใบรับสินค้า บัตร


สินค้า ใบสัง่ ผลิต ใบสรุปค่าแรงงาน ใบสำาคัญจ่าย ใช้สำาหรับบันทึกรายการของ
กิจการค้าแต่ละประเภท

ความหมายและประเภทของสมุดรายวันขั้นต้น

สมุดรายวัน คือ สมุดบัญชีเล่มแรกที่ใช้บันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นตามลำาดับ


ก่อน – หลัง แล้วผ่านรายการ (Post) ไปยังสมุดบัญชีแยกประเภทขั้นต่อไป
หรือเรียกว่าสมุดบันทึกรายการขั้นตั้น

ประเภทของสมุดรายวันขั้นต้น

แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ได้แก่


1.สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal) คือ สมุดที่บันทึกรายการขั้นตั้น
เฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ งเหมาะสำาหรับกิจการซื้ อขายสินค้า และกิจการขนาดใหญ่
ได้แ่ก่
1. สมุดรายวันซื้ อ ใช้บันทึกรายการซื้ อสินค้าเป็ นเงินเชื่อ
2. สมุดรายวันส่งคืนและจำานวนที่ได้ลด ใช้บันทึกรายการเกี่ยวกับการส่ง
คืนสินค้าที่ซื้อเป็ นเงินเชื่อ
3. สมุดรายวันขาย ใช้บันทึกรายการขายสินค้าเป็ นเงินเชื่อ
4. สมุดรายวันรับคืนสินค้าและจำานวนที่ลดให้ ใช้บันทึกรายการเกี่ยวกับ
การรับคืนสินค้าที่ขายอเป็ นเงินเชื่อ
5. สมุดรายวันรับเงิน ใช้บันทึกรายการรับเงินสด
6. สมุดรายวันจ่ายเงิน ใช้บันทึกรายการจ่ายเงินสด

2.สมุดรายวันทัว
่ ไป คือ สมุดที่บันทึกรายการขั้นตั้น ได้ทุก ๆ เรื่อง ทุก ๆ กรณี

สมุดรายวันทัว
่ ไปมี
ประโยชน์ดังนี ้

1. ทำาให้ทราบรายการค้าที่เกิดขึ้นก่อนและหลัง
2. ทำาให้ทราบผลการวิเคราะห์รายการค้า
3. ช่วยลดข้อผิดพลาดในการลงบัญชีให้น้อยลง
4. ช่วยแบ่งงานในระหว่างผู้ทำาบัญชี
5. เพื่อค้นหารายการค้าได้สะดวกในภายหลัง

1. ส่วนประกอบของสมุดรายวันทั่วไปมีดังนี้
1. ให้เขียนคำาว่า “สมุดรายวันทั่วไป”
2. หน้าของสมุดรายวันทั่วไป ให้เรียงตามลำาดับเลขที่หน้า
3. ช่องวัน เดือน ปี ที่ใช้บันทึกวัน เดือน ปี ของรายการค้าที่เกิดขึ้นเรียงตาม
ลำาดับก่อนหลัง
4. ช่องรายการ ใช้บันทึกชื่อบัญชีท่ีเดบิต ชื่อบัญชีท่ีเครดิต และคำาอธิบาย
รายการ
5. ช่องเลขที่บัญชี ใช้บันทึกเลขที่ของบัญชีท่ีเดบิตและเครดิต
6. ช่องเดบิต ใช้บันทึกจำานวนเงินที่เดบิต
7. ช่องเครดิต ใช้บันทึกจำานวนเงินที่เครดิต

2. การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป

เมื่อวิเคราะห์รายการค้าที่เกิดขึ้นว่าเดบิตและเครดิตบัญชีใดแล้ว ให้นำาไปบันทึกลงในสมุด
รายวันทั่วไป ตามลำาดับขั้นตอนดังนี้

1. เขียนคำาว่า "สมุดรายวันทั่วไป" และหน้าของสมุดรายวันทั่วไป เรียง


ลำาดับ
2. เขียน พ.ศ. ______ เดือน ______ วันที่ ______ ตามลำาดับรายการค้าที่
เกิดขึ้นก่อน – หลัง
3. เขียนชื่อบัญชีท่ีเดบิตให้ชิดเส้นทางซ้ายในช่องรายการ พร้อมทั้งลง
จำานวนเงินในช่องเดบิต
4. เขียนชื่อบัญชีท่ีเครดิตให้เยื้องไปทางขวามือ ประมาณ 1.5 ซ.ม. พร้อม
ทั้งลงจำานวนเงินใน ช่องเครดิต
5. เขียนคำาอธิบายรายการให้ชัดเจน รัดกุม และได้ความหมายที่ถก ู ต้อง
6. ขีดเส้นคั่นรายการเมื่อเขียนคำาอธิบายรายการเสร็จ
7. เขียนเลขที่บัญชีแยกประเภท เมื่อผ่านรายการจากสมุดรายวันทั่วไป ไป
บัญชีแยกประเภทแล้ว

การบันทึกรายการค้า
เมื่อมีรายการค้าเกิดขึ้น จะต้องทำาการวิเคราะห์รายการค้าและนำาไปบันทึกลงในสมุดราย
วันทั่วไป

• รายการเปิ ดบัญชี
• รายการที่เกิดขึ้นในะหว่างเดือน
ความหมายของรายการเปิ ดบัญชีในสมุดรายวันทัว่ ไป

รายการเปิ ดบัญชี (Opening Entries) หมายถึง รายการแรกของการบันทึกบัญชีใน


สมุดรายวันทัว่ ไป ซึ่งจะบันทึกเมื่อ
1. มีการลงทุนครั้งแรก
2. เริม
่ รอบระยะเวลาบัญชีใหม่ (งวดบัญชีใหม่)
- การลงทุนครั้งแรกมี 3 กรณี คือ
กรณี ท่ี 1 นำาเงินสดมาลงทุน (นำาสินทรัพย์อย่างเดียวมาลงทุน )

ตัวอย่าง 2551
มกนาคม 1 นายเอนำาเงินสดมาลงทุน 50,000 บาท

กรณี ท่ี 2 นำาเงินสดและสินทรัพย์อ่ ืนมาลงทุน


ตัวอย่าง 2551
มกราคม 1 นายสมชายนำา เงินสด 30,000 บาท วัสดุสำานั กงาน
20,000 บาท เครื่องใช้สำานั กงาน 3,000 บาท เครื่องตกแต่ง 7,000.- บาท อาคาร
100,000.- มาลงทุน
กรณี ท่ี 3 นำาเงินสด สินทรัพย์อ่ ืน และหนี้ สินมาลงทุน

ตัวอย่าง 2551
มกราคม 1 ร้านมาลี นำาเงินสด 100,000 บาท เงินฝากธนาคาร
50,000 บาท ลูกหนี้ 10,000 บาท วัสดุสำานั กงาน 8,000 บาท อุปกรณ์้สำานั กงาน 7,000
บาท อาคารและที่ดิน 500,000.- และเจ้าหนี้ - ร้านมาลีบริการ 20,000 บาท มาลงทุน

ประเภทของบัญชีแยกประเภท มี 3 ประเภท ได้แก่


1.บัญชีประเภทสินทรัพย์ หมายถึง บัญชีท่ีแสดงมูลค่าของสินทรัพย์ท่ีกิจการเป็ นเจ้าของแยก
ตาม
ประเภทสินทรัพย์ เช่น บัญชีเงินสด บัญชีเงินฝากธนาคาร บัญชีลก
ู หนี้ บัญชีท่ีดิน ฯลฯ

2.บัญชีประเภทหนี้ สิน หมายถึง บัญชีท่ีแสดงมูลค่าของหนี้ สินที่กิจการต้องชำาระให้กับบุคคล


ภายนอก เช่น บัญชีเจ้าหนี้ การค้า บัญชีเงินกู้ธนาคาร บัญชีค่าใช้จ่ายค้างจ่าย บัญชีตัว
๋ เงินจ่าย
เป็ นต้น

3.บัญชีประเภทส่วนของเจ้าของ หมายถึง บัญชีประเภทส่วนของเจ้าของ (Owner’s equity)


หมายถึง บัญชีท่ีแสดงส่วนของเจ้าของที่เพิ่มหรือลดลง ได้แก่ บัญชีทุน บัญชีถอนใช้ส่วนตัว บัญชีราย
ได้ บัญชีค่าใช้จ่าย
บัญชีรายได้ เมื่อมีรายได้ ทำาให้สว ่ นของเจ้าของเพิ่มขึ้น
บัญชีค่าใช้จ่าย เมื่อมีค่าใช้จ่าย ทำาให้ส่วนของเจ้าของลดลง
บัญชีถอนใช้ส่วนตัว เมื่อมีการถอนเงินสดและนำาสินทรัพย์ไปใช้ส่วนตัว ทำาให้ส่วนของ
เจ้าของลดลง

การจัดหมวดหมู่ และการกำาหนดเลขที่บัญชี

การที่จะทำาการบันทึกรายการค้าในบัญชีแยกประเภทต่าง ๆ ให้ละเอียดและเป็ น
ระเบียบเรียบร้อยสะดวกแก่การจัดทำารายงานเพื่อประโยชน์ในการอ้างอิงและค้นหาภายหลัง
นั้น ควรจัดบัญชีต่าง ๆ ให้เป็ นหมวดหมู่และกำาหนดเลขที่สำาหรับหมวดหมู่บัญชีไว้ใน “ผัง
บัญชี” (Chart of Account)
การจัดหมวดหมู่ของบัญชี แบ่งเป็ น 5 หมวด ได้แก่
1. หมวดสินทรัพย์
2. หมวดหนี้ สิน
3. หมวดส่วนของเจ้าของ (ทุน)
4. หมวดรายได้
5. หมวดค่าใช้จ่าย

ผังบัญชี (Chart of Accounts)


ผังบัญชี หมายถึง การจัดบัญชีและกำาหนดเลขที่บัญชีให้เป็ นหมวดหมู่ เพื่อใช้ในการ
อ้างอิงเมื่อผ่านรายการ จากสมุดรายวันทั่วไปไปบัญชีแยกประเภททั่วไป
เลข 1 สำาหรับหมวดสินทรัพย์
เลข 2 สำาหรับหมวดหนี้ สิน
เลข 3 สำาหรับหมวดส่วนของเจ้าของ
เลข 4 สำาหรับหมวดรายได้
เลข 5 สำาหรับหมวดค่าใช้จ่าย
เลขหน้าแสดงหมวดบัญชี เลขหลังแสดงลำาดับบัญชีแต่ละประเภทในแต่ละหมวด เช่น บัญชี
เงินสด เลขที่ 101

เลข 1 ด้านหน้า = หมวดสินทรัพย์


เลข 3 หลัง = ลำาดับบัญชี
บัญชีลก
ู หนี้ เลขที่ 13

ตัวอย่างผังบัญชี
หลักการบันทึกบัญชีแยกประเภทมีหลักการดังนี้

1. ให้นำาชื่อบัญชีท่ีเดบิตในสมุดรายวันทัว่ ไป มาตั้งเป็ นชื่อบัญชีแยกประเภท และบันทึก


รายการทางด้านเดบิตโดย
1.1 เขียนช่อง วัน เดือน ปี ตามที่ปรากฏในสมุดรายวันทัว่ ไป
1.2 เขียนชื่อบัญชีท่ีเครดิตลงในช่องรายการ
1.3 เขียนจำานวนเงินลงในช่องเดบิต
2. ให้นำาบัญชีท่ีเครดิตในสมุดรายวันทัว่ ไป มาตั้งเป็ นเป็ นชื่อบัญชีแยกประเภท และบันทึก
ไว้ทางด้านเครดิตโดย
2.1 เขียนช่อง วัน เดือน ปี ตามที่ปรากฏในสมุดรายวันทัว่ ไป
2.2 เขียนชื่อบัญชีท่ีเดบิตลงในช่องรายการ
2.3 เขียนจำานวยเงินลงในช่องจำานวนเงินเครดิต
3 การบันทึกบันชีในช่องรายการของบัญชีแยกประเภท แบ่งได้ 3 กรณี
กรณี ท่ี 1 รายการเปิ ดบัญชีโดยการลงทุนครั้งแรก ถ้ากิจการนำาเงินสดมาลงทุนให้
เขียนชื่อบัญชีแยกประเภทตรงกันข้ามกัน ถ้ากิจการนำาสินทรัพย์หลายอย่างมาลงทุนและรับ
โอนเจ้าหนี้ มาลงทุนให้เขียนในช่องรายการว่า"สมุดรายวันทัว่ ไป"
กรณี ท่ี 2 รายการเปิ ดบัญชีโดยเริม
่ รอบระยะเวลาบัญชีใหม่ซึ่งเป็ นยอดคงเหลือยกมา
จากระยะเวลาบัญชีก่อนการบันทึกในช่องรายการให้เขียนว่า"ยอดยกมา"
กรณี ท่ี 3 รายการค้าที่เกิดขึ้นในระหว่างเดือน ในช่องรายการให้เขียนชื่อบัญชีแยก
ประเภทตรงกันข้ามกัน

การอ้างอิง (Posting Reference)

การผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวข้อง ต้องมีการอ้างอิงถึงที่มาของรายการนั้ น
ดังนี้
1. ที่สมุดรายวันทัว่ ไป เขียนเลขที่ของบัญชีแยกประเภทลงในช่องเลขที่บัญชี
2. ที่บัญชีแยกประเภท เขียนหน้าของสมุดรายวันทัว่ ไปลงในช่องหน้าบัญชี โดย
เขียนอักษรย่อว่า "ร.ว." เช่น "ร.ว.1” รายการนี้ มาจากสมุดรายวันทัว่ ไป หน้าที่ 1
ดังนั้ น การอ้างอิงที่มาของรายการ คือการอ้างอิงเลขหน้าสมุดรายวันทัว่ ไปใน
บัญชีแยกประเภทและเลขที่บัญชีในสมุดรายวันทัว่ ไปทำาให้ทราบถึงแหล่งที่มาของรายการ
สะดวกในการค้นหาในภายหลังและเป็ นการป้ องกันการหลงลืมการผ่านรายการ

แบบทดสอบหลังเรียน

คำำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำำตอบทีถ
่ ูกต้องทีส
่ ุด

1. จัดเป็ นภาพของสิ่งใด

ก. สินทรัพย์

ข. หนี้ สิน

ค. ส่วนของเจ้าของ

ง. ค่าใช้จ่าย
2. สินทรัพย์ระยะยาวได้แก่

ก. เงินสด

ข. ลูกหนี้

ค. ดินสอ

ง. ที่ดิน
3. ข้อใดจัดเป็ นสมการบัญชี

ก. สินทรัพย์ = หนี้ิ สิน + ทุน

ข. หนี้ สิน = สินทรัพย์ - ทุน


ค. ทุน = สินทรัพย์ - หนี้ สิน

ง. ถูกทุกข้อ

4. ธุรกิจประเภทใด จัดเป็ นธุรกิจการให้บริการ

ก. โรงงานปลากระป๋อง

ข. กิจการไม้แปรรูบ

ค. โรงภาพยนต์

ง. ห้างสรรพสินค้า

5. ข้อใด มีผลทำาให้สินทรัพย์ลด ส่วนของเจ้าของลด

ก. ซื้อสินค้าเป็ นเงินสด

ข. รับรายได้เป็ นเงินสด

ค. จ่ายค่าเบี้ยประกันชีวิต

ง. นำาเงินไปฝากธนาคารกรุงไทย

6. จ่ายค่ากระแสไฟฟ้ า 500 บาท วิเคราะห์ได้ว่าอย่างไร

ก. เดบิตเงินสด เครดิตค่ากระแสไไฟ้ า

ข. เดบิตค่ากระแสไฟฟ้ า เครดิตเงินสด

ค. เดบิตรายได้ค่ากระแสไฟฟ้ า เครดิตเงินสด

ง. เดบิดเงินสด เครดิตรายได้ค่ากระแสไฟฟ้ า

7. หนี้ สินเพิ่มบันทึกบัญชีด้านใด

ก. เดบิต

ข. เครดิต

ค. เดบิตและเครดิต

ง. ด้านซ้ายของบัญชี

8. สมุดรายวันรับเิงินจัดอย่ใู นสมุดรายวันขั้นตั้นประเภทใด

ก. สมุดรายวันเฉพาะ

ข. สมุดรายวันทั่วไป

ค. สมุดรายวันแยกประเภทย่อย

ง. สมุดรายวันแยกประเภททั่วไป

9. ถ้าต้องเปิ ดร้านตัดผม ควรเลือกบันทึกลงในสมุดรายวันขั้นตั้นเล่มใด จะเหมาะสมที่สุด


ก. สมุดรายวันจ่านเงิน

ข. สมุดรายรับเงินสด

ค. สมุดรายวันเฉพาะ

ง. สมุดรายวันทั่วไป

10. บัญชีแยกประเภท หมวดที่ 4 ได้แก่

ก. ค่าเช่าร้าน

ข. วัสดุสำานักงาน

ค. รายได้ค่าบริการ

ง. ถอนใช้สว
่ นตัว

You might also like