You are on page 1of 24

หน่วยที่ 1

2
หน่วยที่ 2 5
หน่วยที่ 3 7
หน่วยที่ 4 10
หน่วยที่ 5 13
หน่วยที่ 6 15
หน่วยที่ 7 19
หน่วยที่ 8 22
2

เฉลยหนวยการเรียนรูที่ 1
ตอนที่ 1 จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว
1. ขอใดหมายถึงชุดคําสั่ง
ข. โปรแกรมคอมพิวเตอร
2. คอมพิวเตอรทํางานแทนมนุษยในเรื่องใดไดดีที่สุด
ก. การคํานวณ
3. ขอใดหมายถึงคอมพิวเตอรตั้งโตะ
ก. คอมพิวเตอเดสทอป
4. พนักงานบริการในรานอาหารควรใชคอมพิวเตอรประเภทใดในการรับ Order
ค. คอมพิวเตอรมือถือ
5. งานดานการศึกษานําคอมพิวเตอรมาใชประโยชนตามขอใด
ข. ผลิตสื่อการสอนใหมีประสิทธิภาพ
6. นักทองเที่ยวไดรับประโยชนจากการใชคอมพิวเตอรตามขอใด
ก. จองที่พัก
7. ธุรกิจขอใดใชประโยชนจากคอมพิวเตอรนอยที่สุด
ง. รานไอศกรีม
8. คอมพิวเตอรสามารถเก็บขอมูลไวในฐานขอมูลไดจํานวนมาก จึงมีประโยชนกับงานใดมากที่สุด
ค. งานทะเบียนประวัติ
9. ชางซอมคอมพิวเตอร สัมพันธกับขอใด
ข. งานดานฮารดแวร
10. ผูที่ขาดคุณธรรม จริยธรรมในการใชคอมพิวเตอรกอใหเกิดโทษตอตนเองตามขอใด
ค. ตองไดรับโทษตามกฎหมาย
11. ผูใชคอมพิวเตอรขอใดขาดศีลธรรม
ก. ฉันทนานําขอมูลขององคกรมาเปดเผย
12. การทํางานขององคกรขอใดจัดวาไมปฏิบัติตามกฎขอบังคับทางศีลธรรมทั่วไป
ค. บริษัท C นําขอมูลของลูกคาไปเปดเผยตอกิจการอื่น
13. ขอใดเปนความรับผิดชอบในวิชาชีพ
ค. รักษาสัญญา ขอตกลง ตามที่ไดรับมอบหมาย
14. การกระทําขอใดเปนขาดจริยธรรมในการใช E-mail
ก. การสงตอจดหมายลูกโซ
15. ขอใดสามารถการะทําไดโดยไมขัดตอบัญญัติ 10 ประการของลินดา เฮอรนดอน
ค. เขียนโปรแกรมโดยคํานึงถึงผลตอเนื่องทางสังคม
3

ตอนที่ 2 จงตอบคําถามตอไปนี้

1. จงบอกความหมายของคอมพิวเตอรตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525


เครือ่ งอิเล็กทรอนิกสแบบอัตโิ นมัติ ทําหนาทีแ่ สมือนสมองกล ใชสาํ หรับแกปญ
 หาตาง ๆ ทัง้ ทีง่ า ยและซับซอน โดย
วิธีทางคณิตศาสตร

2. จงอธิบายลักษณะของคอมพิวเตอรเดสทอป
คอมพิวเตอรเดสทอปไดรบั การออกแบบสําหรับการทํางานทีโ่ ตะ สรางขึน้ จากชิน้ สวนทีแ่ ยกตางหาก หนวยระบบ
หรือสวนประกอบหลักเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาที่ตั้งอยูบนโตะได นอกจากนี้ยังมีสวนประกอบอื่น เชน จอภาพ เมาส และ
แปนพิมพ เชื่อมตอกับหนวยระบบ คอมพิวเตอรเดสทอปมีขนาดใหญ และมีประสิทธิภาพมากกวาคอมพิวเตอรสวน
บุคคล

3. คอมพิวเตอรแล็ปทอป มักเรียกกันวาอยางไร
คอมพิวเตอรโนตบุค

4. งานดานการศึกษานําคอมพิวเตอรมาใชอยางไร
นํามาใชประโยชนในการเรียนการสอน ซึ่งการใชคอมพิวเตอรผลิตสื่อและจัดทํา ทําใหนักเรียนมีความเขาใจมาก
ยิง่ ขึน้ การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากขึน้ นอกจากนีย้ งั นํามาใชในงานทะเบียน งานกิจการนักเรียน งานหองสมุด
และอื่นๆ

5. จงอธิบายคุณสมบัติของคอมพิวเตอร
1. ความจํา (Storage) คอมพิวเตอรมสี อื่ บันทึกขอมูล (Storage Media) ทัง้ หนวยความจําภายใน และหนวย
ความจําภายนอก จึงทําใหเก็บขอมูลไดจํานวนมากกวาความสามารถในการจําของมนุษย
2. ความเร็ว (Speed) คือความสามารถในการประมวลผลขอมูลทีใ่ ชเวลานอยกวาความสามารถของมนุษย จึง
เปนตัวบงชี้วาคอมพิวเตอรมีความสามารถในการประมวลผลขอมูลที่มีประสิทธิภาพสูงกวา
3. การปฏิบัติงานอัตโนมัติ (Self-Acting) คอมพิวเตอรสามารรถประมวลผลขอมูลตามคําสั่งไดอยางอัติโนมัติ
ตอเนื่อง และถูกตอง ตามคําสั่งและขั้นตอนที่โปรแกรมเมอร ไดกําหนดไว
4. ความนาเชื่อถือ (Sure) ซึ่งเปนสิ่งสําคัญในการทํางานของคอมพิวเตอร โดยจะทํางานตามโปรแกรมคําสั่ง
และขอมูล ที่โปรแกรมเมอรกําหนดไว โดยสามารถประมวลผลที่เกิดผลลัพธไดอยางถูกตอง

6. จงอธิบายความหมายของจริยธรรม
ความประพฤติหรือพฤติกรรมที่ควรปฏิบัติ
4
7. กฎขอบังคับทางศีลธรรมเกี่ยวกับ “เคารพความเปนสวนตัวของผูอื่น” หมายความวาอยางไร
การเก็บขอมูลสวนบุคคลของผูอื่นไวในระบบเทาที่จําเปน ตามระยะเวลาที่กําหนด เมื่อรวบรวมเพื่อจุดประสงค
หนึ่งแลว หามนําไปใชอีกจุดประสงคหนึ่งโดยไมไดรับความยินยอมจากเจาของขอมูล

8. กฎขอบังคับทางศีลธรรมเกี่ยวกับ “ใหเกียรติในการรักษาความลับ” หมายความวาอยางไร


ไมนําขอมูลสวนตัวของผูอื่น เชน นายจาง ลูกจาง ลูกคา เปนตน ไปเปดเผย ยกเวนกรณีที่กฎหมายบังคับ

9. จงบอกจริยธรรมในการใช E-mail และ Webbord


1. ไมใชในการเสนอขายสินคา หรือการโฆษณา
2. มีสติในการกลาวถึงเรื่องราวและทราบอยูเสมอวากําลังกลาวถึงเรื่องใด
3. หลีกเลี่ยงการโตแยง คิดกอนเขียน และไมใชอารมณในการสื่อสาร
4. ไมสงขาวสารที่เปนการกลาวราย หลอกลวง หยาบคาย
5. ไมสงตอจดหมายลูกโซ หรือเมลขยะ
6. ระมัดระวังในการใชคํา เชน คําเสียดสี อารมณขัน เปนตน
7. กอนสงเมลควรตรวจทานรายละเอียด ตัวสะกด ตัวการันตเสียกอน
8. ตรวจรายชื่อผูรับกอนสง

10. จงบอกบัญญัติ 10 ประการของผูใชคอมพิวเตอร ของ ลินดา เฮอรนดอน (Linda Herndon)


1. ไมใชคอมพิวเตอรทํารายผูอื่น
2. ไมรบกวนงานคอมพิวเตอรของผูอื่น
3. ไมแอบดูแฟมขอมูลของผูอื่น
4. ไมใชคอมพิวเตอรเพื่อการลักขโมย
5. ไมใชคอมพิวเตอรเพื่อเปนพยานเท็จ
6. ไมใช หรือทําสําเนาซอฟแวรที่ไมไดซื้อ
7. ไมใชคอมพิวเตอรของผูอื่นโดยไมรับอนุญาต หรือไมใชอํานาจหนาที่ของตน
8. ไมละเมิดสิทธิทางปญญา
9. คํานึงถึงผลตอเนื่องทางสังคม ของโปนแกรมที่เขียน
10. ใชคอมพิวเตอรอยางผูมีจรรยาบรรณวิชาชีพของสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร
5

เฉลยหนวยการเรียนรูที่ 2
ตอนที่ 1 จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว
1. ขอมูล ขอความ คําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือสิ่งอื่นใดที่อยูในระบบคอมพิวเตอร ที่ระบบคอมพิวเตอรสามารถประมวลผลได
มีความหมายตรงกับขอใด
ข. ขอมูลคอมพิวเตอร
2. จากความหมายของศัพทตามพระราชบัญญัติขอใดไมเกี่ยวของกับ “ผูใหบริการ”
ง. ผูที่เขามาเลนเกมสในรานบริการอินเทอรเน็ต
3. รัฐมนตรีผูรักษาการตาพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560
ค. รัฐมนตรีวาการกระทรวงดิจิตัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
4. การเขาถึงระบบคอมพิวเตอรของผูอื่นซึ่งมีมาตรการปองกันอยูแลว ตองไดรับโทษตามขอใด
ง. จําคุกไมเกิน 6 เดือน ปรับไมเกิน10,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
5. การดักรับขอมูลของบุคคลอื่น ตองไดรับโทษตามขอใด
ค. จําคุกไมเกิน 3 ป ปรับไมเกิน 60,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
6. การแกไข เปลี่ยนแปลงขอมูลของผูอื่นโดยมิชอบ ตองไดรับโทษตามขอใด
ก. จําคุกไมเกิน 5 ป ปรับไมเกิน 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
7. การแกไข ดัดแปลงขอมูล จนสงผลถึงความมั่นคงปลอดภัยของชาติ ตองไดรับโทษตามขอใด
ค. ขอ ก. และ ข. รวมกัน
8. การสงขอมูลรบกวนผูอื่น ตองไดรับโทษตามขอใด
ค. ปรับไมเกิน 100,000 บาท
9. การโพสตเรื่อง หรือขอมูลที่สงผลตอความเสียหายของประเทศชาติ ตองไดรับโทษตามขอใด
ก. จําคุก 1-7 ป ปรับตั้งแต 20,000 – 140,000 บาท
10. แมคาออนไลนที่โพสตหลอกลวงเพื่อเอาเงินลูกคาโดยไมมีการสงมอบสินคา ตองไดรับโทษตามขอใด
ค. จําคุกไมเกิน 5 ป หรือปรับไมเกิน 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
11. ผูที่โพสตคลิปโป คลิปลามก ตองไดรับโทษตามขอใด
ง. จําคุกไมเกิน 5 ป หรือปรับไมเกิน 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
12. ขอใดเปนการกระทําที่ผิดกฏหมาย
ข. เจาของเพจสนับสนุนใหมีการแสดงความคิดเห็นที่เปนขอมูลลามก
13. การนําภาพของดารามาตัดตอ จนสรางความเสียหาย อับอาย แกดาราผูนั้น ผูกระทําจะตองไดรับโทษตามขอใด
ค. จําคุกไมเกิน 3 ป ปรับไมเกิน 200,000 บาท
14. เมื่อพบผูกระทําผิดตามพระราชบัญญัติ เจาหนาที่ตองดําเนินการขอใดเปนขั้นตอนแรก
ก. แจงผูกระทําผิดมาชี้แจง
15. พนักงานเจาหนาที่เผยแพรขอมูลที่เปนความผิดตามพระราชบัญญัติ ตองไดรับโทษตามขอใด
ค. จําคุกไมเกิน 3 ป ปรับไมเกิน 60,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
6
ตอนที่ 2 จงตอบคําถามตอไปนี้
1. จงอธิบายความหมายของระบบคอมพิวเตอร
อุปกรณหรือชุดอุปกรณของคอมพิวเตอรที่เชื่อมการทํางานเขาดวยกัน มีการกําหนดคําสั่ง ชุดคําสั่ง และอื่น ๆ
รวมถึงแนวทางการปฏิบัติงานใหอุปกรณหรือชุดอุปกรณทําหนาที่ประมวลผลโดยอัติโนมัติ

2. จงอธิบายความหมายของขอมูลคอมพิวเตอร
ขอมูล ขอความ คําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือสิ่งอื่นใดที่อยูในระบบคอมพิวเตอร ที่ระบบคอมพิวเตอรสามารถประมวลผล
ได และมีความหมายรวมถึงขอมูลอิเล็กทรอนิกสตามกฎหมายวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสดวย

3. จงบอกความหมายของผูใหบริการ ตามพระราชบัญญัตินี้
1. ผูใหบริการแกบุคคลอื่นในการเขาสูอินเตอรเนต หรือทางอื่น เพื่อใหผูเขามาใชบริการสามารถติดตอถึงกัน
โดยผานระบบคอมพิวเตอร ซึ่งอาจใหบริการในนามของตนเอง หรือในนามเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น
2. ผูใหบริการเก็บรักษาขอมูลคอมพิวเตอรเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น

4. การปลอยไวรัวเขาเครื่องคอมพิวเตอรของผูอื่น ทําใหขอมูลเสียหาย ผูกระทําผิดจะตองไดรับโทษอยางไร


จําคุกไมเกิน 6 เดือน หรือปรับไมเกิน 10,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

5. การทําลายเว็บไซตของคูแขงขัน ผูกระทําผิดจะตองไดรับโทษอยางไร
จําคุกไมเกิน 5 ป หรือปรับไมเกิน 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

6. แมคาออนไลนที่ชอบสงขอมูลขายสินคาโดยที่ลูกคาไมยินดีที่จะรับ ตองไดรับโทษอยางไร
ปรับไมเกิน 10,000 บาท

7. จงสรุปความผิดตามมาตรา 14 พระราชบัญญัตวิ า ดวยการกระทําความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560


1. โพสตขอ มูลปลอม ทุจริต หลอกลวง กอใหเกิดความเสียหายแกผอู นื่ หรือประชาชน เชน การโพสตขา วปลอม
การโพสตหลอกลวงเพื่อเอาเงินลูกคาโดยไมมีการสงมอบสินคา เปนตน
2. การโพสตขอมูลเปนเปนเท็จ ที่กอใหเกิดความเสียหายตอความมั่นคงของประเทศ หรือกอใหเกิดความตื่น
ตระหนกแกประชาชน
3. การโพสตขอมูลที่เกี่ยวกับความมั่นคงแหงราชอาณาจักร และการกอการราย
4. การโพสตขอมูลลามก ที่ประชาชนเขาถึงได
5. การเผยแพร สงตอขอมูลทีท่ ราบอยูแ ลววาเปนขอมูลทีห่ า มโพสต ไดแก การกดแชร (share) ขอมูลทีม่ เี นือ้ หา
เขาขายความผิดตามพระราชบัญญัติคอมพิวเตอร
7
8. เจาของเพจที่ตรวจพบวามีผูนําขอมูลที่เปนความผิดตามพระราชบัญญัตินี้เขามาในเพจ จะตองดําเนินการอยางไรจึง
จะไมตองรับโทษ
ลบขอมูลเหลานั้นออก

9. เมื่อพนักงานเจาหนาที่กระทําการโดยประมาท ทําใหผูอื่นลวงรูขอมูล ตองไดรับโทษอยางไร


จําคุกไมเกิน 1 ป หรือปรับไมเกิน 20,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

10. บุคคลผูไดรับขอมูลที่เปนความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ตองไดรับโทษอยางไร


จําคุกไมเกิน 2 ป หรือปรับไมเกิน 40,000 บาท

เฉลยหนวยการเรียนรูที่ 3
ตอนที่ 1 จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว
1. ขอมูลสวนบุคคล มีความหมายตามขอใด
ง. ขอมูลเกี่ยวกับบุคคลซึ่งทําใหสามารถระบุตัวบุคคลนั้นได
2. การรวบรวมขอมูลสวนบุคคลอยางถูกตองตามกฎหมายตองมีลักษณะตามขอใด
ก. ไดรับความยินยอมจากเจาของขอมูล
3. การเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคล ควรปฏิบัติตามขอใด
ค. แจงวัตถุประสงคของการเก็บขอมูล
4. ขอใดสามารถปฏิบัติได
ค. เจาของขอมูลสามารถถอนความยินยอมการจัดเก็บขอมูลสวนบุคคลได
5. หากตองการจัดเก็บขอมูลสวนบุคคลของผูเยาวตองเปนไปตามขอใด
ค. จะตองไดรับความยินยอมจากผูปกครองเสียกอน
6. ขอใดสามารถกระทําไดโดยไมตองไดรับความยินยอมจากเจาของขอมูล
ก. การจัดเก็บขอมูลเพื่อปองกันหรือระงับอันตรายตอชีวิต
7. ขอมูลใดหามรวบรวม
ก. ความคิดเห็นทางการเมือง
8. หากตองจัดเก็บขอมูลสวนบุคคลจากผูอื่นที่ไมใชเจาของขอมูล จะตองปฏิบัติตามขอใด
ข. ตองแจงใหเจาของขอมูลทราบกอน ไมเกิน 30 วัน
9. ขอใดหามปฏิบัติ
ก. เปดเผยขอมูลโดยไมไดรับความยินยอมจากเจาของ
8
10. ขอใดปฏิบัติถูกตอง
ข. จะตองแจงวัตถุประสงคของการเก็บรวบรวมขอมูลใหผูรวบรวมขอมูลทราบ
11. ขอมูลใดสามารถเก็บรวบรวม หรือโอนไดไมตองไดรับความยินยอมจากเจาของ
ค. ขอมูลที่สามารถปองกันหรือระงับอันตรายตอเจาของได
12. ขอใดกลาวถูก
ก. เจาของขอมูลสวนบุคคลมีสิทธิเขาถึงขอมูลของตนเองได
13. เกี่ยวกับผูควบคุมขอมูลสวนบุคคลขอใดกลาวถูกตอง
ข. ตองไปฏิบัติตนตามกฎหมาย
14. หากเจาของขอมูลพบวาผูควบคุมขอมูลสวนบุคคลไมปฏิบัติตามกฎหมาย จะปฏิบัติตามขอใด
ก. ใหลบหรือทําลายขอมูลนั้น
15. หากผูควบคุมขอมูลฝาฝนกฎหมาย ตองไดรับโทษตามขอใด
ค. จําคุกไมเกิน 3 เดือน ปรับไมเกิน 500,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

ตอนที่ 2 จงตอบคําถามตอไปนี้
1. จงบอกหลักการสําคัญของพระราชบัญญัติคุมครองขอมุลสวนบุคคล พ.ศ. 2562
ในการจัดเก็บขอมูลนั้นจะตองกระทําโดยชอบดวยกฎหมาย และมีวัตถุประสงคของการจัดเก็บอยางชัดเจนวาจัด
เก็บเพือ่ อะไร ภายในกําหนดระยะเวลาเทาใด และจะไมเปดเผยขอมูลนัน้ เวนแตจะไดรบั ความยินยอมจากเจาของขอมูล

2. จงอธิบายความหมายของขอมูลสวนบุคคล
ขอมูลเกี่ยวกับบุคคลซึ่งทําใหสามารถระบุตัวบุคคลนั้นได

3. จงอธิบายความหมายของผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล
บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่งมีอํานาจ หนาที่ตัดสินใจเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช หรือเปดเผยขอมูลสวนบุคคล

4. จงอธิบายความหมายของผูประมวลผลขอมูลสวนบุคคล
บุคคลหรือนิตบิ คุ คลซึง่ ดําเนินการเกีย่ วกับการรวบรวม ใช หรือเปดเผยขอมูลสวนบุคคลตามคําสัง่ หรือในนามของ
ผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล

5. การขอความยินยอมจากเจาของขอมูล จะตองปฏิบัติยางไร
ผูควบคุมขอมูลขอมูลสวนบุคคลจะตองแจงวัตถุประสงคของการเก็บขอมูล การใช การเปดเผยขอมูลนั้นดวย
การขอความยินยอมจะตองแยกสวนออกจากขอความอื่นอยางชัดเจน มีแบบหรือขอความที่เขาถึงงายและเขาใจได
ใชภาษาที่อานงาย ไมหลอกลวงหรือทําใหเจาของขอมูลเขาใจผิดในวัตถุประสงคดังกลาว
9
6. การเก็บรวบรวมขอมูลของผูเ ยาว คนไรความสามารถ บุคคลเสมือนไรความสามารถ ตองไดรบั ความยินยอมจากใครบาง
กรณีทเี่ จาของขอมูลเปนผูเ ยาว จะตองไดรบั ความยินยอมจากผูป กครองเสียกอน หรือหากเจาของขอมูลเปนคนไร
ความสามารถ จะตองไดรบั ความยินยอมจากผูอ นุบาลทีม่ อี าํ นาจกระทําการแทนคนไรความสามารถ และกรณีทเี่ จาของ
ขอมูลเปนเสมือนคนไรความสามารถ จะตองไดรับความยินยอมจากผูพิทักษที่มีอํานาจกระทําการแทนคนเสมือนไร
ความสามารถ

7. ขอมูลสวนบุคคลใดบางที่สามารถเก็บรวบรวมไดโดยไมตองไดรับความยินยอมจากเจาของ
1. เพือ่ ใหบรรลุวตั ถุประสงคเกีย่ วกับการจัดทําเอกสารประวัตศิ าสตร จดหมายเหตุ หรือเพือ่ ประโยชนสาธารณะ
หรือเกี่ยวกับงานวิจัยที่ไดมีการปกปองเหมาะสมแลว
2. เพื่อปองกันหรือระงับอันตรายตอชีวิต รางกาย หรือสุขภาพของบุคคล
3. เปนการจําเปนเพื่อปฏิบัติตามสัญญาซึ่งเจาของขอมูลสวนบุคคลเปนคูสัญญา หรือเพื่อใชในการดําเนินการ
ตามคําขอของเจาของขอมุลสวนบุคคลกอนเขาทําสัญญานั้น
4. เปนการจําเปนเพือ่ การปฏิบตั หิ นาทีใ่ นการดําเนินภารกิจเพือ่ ประโยชนแกสาธารณะของผูค วบคุมขอมูลสวน
บุคคล หรือปฏิบัติหนาที่ในการใชอํานาจรัฐที่ไดมอบหมายใหแกผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล
5. เปนการจําเปนเพื่อประโยชนโดยชอบดวยกฎหมายของผูควบคุมขอมูล หรือผูอื่น และประโยชนนั้นตองมี
ความสําคัญมากกวาสิทธิขั้นพื้นฐานในขอมูลสวนบุคคลของเจาของขอมูลสวนบุคคล
6. เปนการปฏิบัติตามกฎหมายของผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล (มาตรา 24)

7. หากจําเปนตองเก็บขอมูลสวนบุคคลจากแหลงอื่นที่ไมใชเจาของขอมูลสวนบุคคลโดยตรง จะตองปฏิบัติอยางไร
จะตองแจงใหเจาของขอมูลทราบกอน แตตอ งไมเกิน 30 วัน นับแตวนั ทีเ่ ก็บรวบรวมขอมูล และจะตองไดรบั ความ
ยินยอมจากเจาของขอมูล

8. จงอธิบายสิทธิของเจาของขอมูลสวนบุคคล
1. มีสทิ ธิเขาถึงขอมูล และขอรับสําเนาขอมูลสวนบุคคลของตนทีอ่ ยูใ นในความดูแลและความรับผิดชอบของผู
ควบคุมขอมูลสวนบุคคล หรือขอใหเปดเผยถึงการไดมาซึง่ ขอมูลสวนบุคคลทีต่ นไมไดใหความยินยอม ซึง่ หากผูค วบคุม
ขอมูลสวนบุคคลจะตองปฏิบัติตาม หากจะปฏิเสธจะตองเปนไปตามกฎหมาย หรือตามคําสั่งศาล หรือการเขาถึงหรือ
การขอสําเนานั้นอาจกอใหเกิดความเสียหายตอสิทธิและเสรีภาพของบคคลอื่น
2. มีสิทธิขอรับขอมูลสวนบุคคลที่เกี่ยวกับตนจากผูควบคุมขอมูลสวนบุคคลได ในกรณีที่ผูควบคุมขอมูลสวน
บุคคลนําขอมูลไปอยูใ นรูปแบบทีส่ ามารถอานไดและใชงานไดดว ยเครือ่ งมือหรืออุปกรณทที่ าํ งานโดยอัตโิ นมัติ และยัง
มีสทิ ธิขอใหผคู วบคุมขอมูลสวนบุคคลโอนขอมูลในรูปแบบดังกลาวไปยังผูค วบคุมขอมูลสวนบุคคลอืน่ หรืออาจโอนได
ดวยตนเอง
3. ในกรณีทผี่ คู วบคุมขอมูลสวนบุคคลไมปฏิบตั ติ ามกฎหมาย เจาของขอมูลสวนบุคคลมีสทิ ธิใหผคู วบคุมขอมูล
สวนบุคคลลบ หรือทําลาย ระงับการใชชั่วคราว หรือทําใหขอมูลสวนบุคคลนั้นเปนขอมูลที่ไมสามารถระบุตัวบุคคลที่
เปนเจาของขอมูลสวนบุคคลได
10
4. มีสทิ ธิขอใหผคู วบคุมขอมูลสวนบุคคลระงับการใชขอ มูลได หากขอมูลนัน้ อยูใ นระหวางการตรวจสอบตามที่
เจาของขอมูลสวนบุคคลรองขอ หรือขอมูลนัน้ เปนขอมูลทีต่ อ งลบหรือทําลาย แตเจาของขอมูลขอใหระงับการใชแทน

9. จงอธิบายบทลงโทษตามพระราชบัญญัตินี้
ผูควบคุมสวนบุคคลไมปฏิบัติตามหนาที่ จะตองไดรับโทษ ดังนี้
๏ ผูค วบคุมสวนบุคคลไมปฏิบตั ติ ามกฎหมาย จะตองใชคา สินไหมทดแทน หรือคาเสียหายแกเจาของขอมูลสวน
บุคคลนัน้ ไมวา จะเปนการกระทําโดยจงใจ หรือประมาท เลินเลอ นอกจากสามารถพิสจู นไดวา เกิดจากเหตุสดุ วิสยั หรือ
ปฏิบัติตามคําสั่งของเจาหนาที่ตามกฎหมาย
๏ ผูควบคุมขอมูลสวนบุคคลที่ฝาฝนกฎหมาย มีความผิดตองรับโทษอาญา จําคุกไมเกิน 6 เดือน หรือปรับไม
เกิน 500,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

10. รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้คือรัฐมนตรีวาการกระทรวงใด
รัฐมนตรีวาการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

เฉลยหนวยการเรียนรูที่ 4
ตอนที่ 1 จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว
1. ขอใดเปนเหตุสําคัญที่ทําใหตองมีการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส
ก. ทําใหคูสัญญาที่อยูหางกันสามารถทําสัญญากันไดสะดวกและรวดเร็วขึ้น
2. พระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2544 มีความสําคัญตามขอใด
ค. ใหการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสเปนที่ยอมรับทั่วไป
3. ขอมูลในธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสตองมีลักษณะตามขอใด
ง. เขาถึงไดและนํากลับมาใชใหมไดโดยความหมายไมเปลี่ยนแปลง
4. สัญญาธุรกรรมทางอิเลกทรอนิกสจะเกิดขึ้นไดตามขอใด
ค. ดวยความยินยอมของคูสัญญาทั้งสองฝาย
5. เกี่ยวกับการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสขอใดกลาวถูก
ข. มีบางขอความที่สามารถเพิ่มเติมตอนหลังได
6. ขอความในธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสมีลักษณะตามขอใด
ง. เปนไดทุกขอ
7. ขอความที่ไดสราง สง รับ เก็บรักษา หรือประมวลผลดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส โทรเลข โทรพิมพ โทรสาร
มีความหมายตรงกับขอใด
ข. ขอมูลอิเล็กทรอนิกส
11
8. ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสมีความสําคัญตามขอใด
ค. เปนการยอมรับขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้น
9. ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสที่เชื่อถือได มีลักษณะตามขอใด
ก. เชื่อมโยงกับเจาของลายมือชื่อ
10. เจาของลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสควรปฏิบัติตามขอใด
ง. ระมัดระวังตามสมควรเพื่อไมใหผูอื่นนําไปใชโดยไมไดรับอนุญาต
11. ผูใหบริการออกใบรับรองเพื่อสนับสนุนลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสควรปฏิบัติตามขอใด
ค. ใชความระมัดระวังตามสมควรเพื่อความถูกตองและสมบูรณ
12. ผูใหบริการออกใบรับรองเพื่อสนับสนุนลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสจะตองมีสิ่งใดเปนสําคัญ
ข. ระบบฮารดแวร ซอฟแวรที่มีคุณภาพ
13. เกี่ยวกับใบรับรองหรือลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส ขอใดกลาวถูก
ก. ถือวามีผลทางกฎหมายโดยไมคํานึงถึงสถานที่ออกใบรับรอง
14. การประกอบธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมอิเล็กทรอนิกสขอใดสําคัญที่สุด
ง. ตองไดรับใบอนุญาตใหประกอบกิจการได
15. ผูประกอบธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมอิเล็กทรอนิกสที่ฝาฝนคําสั่งจะไดรับผลตามขอใด
ข. ไดรับโทษที่ตามกฎหมายกําหนด

ตอนที่ 2 จงตอบคําถามตอไปนี้
1. จงอธิบายความหมายของอิเล็กทรอนิกส
การประยุกตใชวิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟา คลื่นแมเหล็กไฟฟา หรือวิธีอื่นใดในลักษณะคลายกัน และหมายถึง
การประยุกตใชวิธีการทางแสง วิธีการทางแมเหล็ก หรืออุปกรณที่เกี่ยวของกับการประยุกตใชวิธีตาง ๆ ดังกลาว

2. จงอธิบายความหมายของธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส
ธุรกรรมที่กระทําขึ้นโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสทั้งหมดหรือบางสวน

3. จงอธิบายความหมายของการแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส
การสงหรือรับขอความดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสระหวางเครื่องคอมพิวเตอรโดยใชมาตรฐานที่กําหนดไว
ลวงหนา

4. จงอธิบายความหมายของบุคคลที่เปนสื่อกลาง
บุคคลที่ทําหนาที่รับ สง หรือเก็บรักษาขอมูลอิเล็กทรอนิกสในนามผูอ่ืน รวมถึงใหบริการอื่น ๆ เกี่ยวกับขอมูล
อิเล็กทรอนิกสดวย
12
5. จงอธิบายความหมายของใบรับรอง
ขอมูลอิเล็กทรอนิกสหรือบันทึกอื่นใด ที่ยืนยันความเชื่อมโยงระหวางเจาของลายมือชื่อกับขอมูลสําหรับใชสราง
ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส

6. จงอธิบายรายละเอียดของการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส
1. หากกฎหมายไดมีการกําหนดใหธุรกรรมที่ทํา ตองทําเปนหนังสือหรือจะตองมีการแสดงเอกสาร ก็จะตองทํา
ตามนั้น โดยทําเปนขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่สามารถเขาถึงไดและนํากลับมาใชไดโดยความหมายไมเปลี่ยนแปลง กรณีที่
มีการลงลายมือชื่อ ใหถือวาขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้นไดมีการลงลายมือชื่อแลว
2. หากกฎหมายกําหนดใหมกี ารเก็บขอมูล ก็จะตองเก็บขอมูลนัน้ โดยไมมกี ารเปลีย่ นแปลงใด ยกเวนกรณีทตี่ อ ง
มีการรับรอง หรือการบันทึกเพิ่มเติม หรือมีบางขอความที่สามารถแสดงตอนหลังได
3. ในกระบวนการพิจารณาตามกฎหมาย อนุญาตใหใชขอ มูลอิเล็กทรอนิกสได ซึง่ จะตองมีการวิเคราะหถงึ ความ
นาเชื่อถือในการรักษาขอมูลที่จะตองมีวิธีการเก็บรักษาอยางครบถวน ไมมีการเปลี่ยนแปลง
4. คําเสนอและคําสนองในการทําสัญญาอาจทําเปนขอมูลอิเล็กทรอนิกสได ไดตอ งไดรบั การยินยอมของทัง้ สอง
ฝาย และไดมีการปฏิบัติตามที่กฎหมายกําหนด

7. ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสที่เชื่อถือไดตองมีลักษณะอยางไร
1. เชื่อมโยงกับเจาของลายมือชื่อ
2. ขณะสรางลายมือชื่ออิเลกทรอนิกสนั้น ขอมูลสําหรับการสรางลายมือชื่ออยูภายใตการควบคุมของเจาของ
ลายมือชื่อโดยไมมีการควบคุมของบุคคลอื่น
3. หากมีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ จะตองมีหลักฐานการเปลี่ยนแปลงชัดเจน
4. กรณีทกี่ ฎหมายกําหนดใหมกี ารลงลายมือชือ่ อิเล็กทรอนิกส เพือ่ รับรองความครบถวนและไมมกี ารเปลีย่ นแปลง
ขอความ การเปลี่ยนแปลงใดแกขอความนั้น สามารถตรวจพบไดแตนับเวลาที่ลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส ซึ่งอาจยัง
มีวิธีอื่นที่แสดงไดวาเปนลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสที่เชื่อถือได

8. จงอธิบายรายละเอียดของใบรับรองหรือลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสที่ถือวามีผลทางกฎหมาย
ใบรับรองหรือลายมือชือ่ อิเล็กทรอนิกส ถือวามีผลทางกฏหมาย โดยไมตอ งคํานึงถึง สถานทีอ่ อกใบรับรอง หรือสถาน
ทีส่ รางหรือใชลายมือชือ่ อิเล็กทรอกนิกส หรือสถานทีท่ าํ งานของผูอ อกใบรับรอง หรือเจาของลายมือชือ่ อิเล็กทรอนิกส
ใบรับรองที่สรางหรือใชในตางประเทศใหมีผลตามกฎหมายเชนเดียวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสที่สรางหรือใชใน
ประเทศ

9. จงอิบายรายละเอียดของธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส
บุคคลมีสิทธิประกอบธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสเฉพาะแตในกรณีที่จําเปน เพื่อรักษา
ความมั่นคงทางการเงินและการพาณิชย หรือเพื่อประโยชนในการเสริมสรางความเชื่อถือและยอมรับในระบบขอมูล
อิเล็กทรอนิกส หรือเพือ่ ปองกันความเสียหายตอสาธารณชนโดยจะมีการตราพระราชกฤษฎีกากําหนดใหการประกอบ
ธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสใดเปนกิจการที่ตองแจงใหทราบ ตองขึ้นทะเบียนหรือตองไดรับใบ
อนุญาต และจะตองยื่นคําขอรับใบอนุญาตตอเจาหนาที่ ตามที่กฎหมายกําหนด
13
10. จงอธิบายบทกําหนดโทษตามพระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2544
ผูใ ดประกอบธุรกิจบริการเกีย่ วกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสโดยไมแจงหรือขึน้ ทะเบียนตอพนักงานเจาหนาทีต่ าม
ทีก่ าํ หนดในพระราชกฤษฎีกา หรือฝาฝนคําสัง่ หามการประกอบธุรกิจของคณะกรรมการหรือประกอบธุรกิจบริการเกีย่ ว
กับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสโดยไมไดรบั ใบอนุญาต ตองไดรบั โทษตามทีก่ ฎหมายกําหนด โดยความผิดดังกลาวนี้ รวม
ถึงการกระทําโดยนิติบุคคล ผูจัดการหรือผูแทนนิติบุคคล หรือผูซึ่งมีสวนรวมในการดําเนินงานของนิติบุคคลดวย เวน
แตจะพิสูจนไดวาตนมิไดรูเห็นหรือมีสวนรวมในการกระทําความผิดนั้น

เฉลยหนวยการเรียนรูที่ 5
ตอนที่ 1 จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว
1. การเกิดสัญญาตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยจะตองเปนไปตามขอใด
ค. มีคําเสนอและคําสนองที่ตรงกัน
2. ธุรกิจใดใชธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสนอยที่สุด
ง. ธุรกิจอาหารตามสั่ง
3. ขอใดเปนประโยชนที่ไดรับจากการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส
ง. เปนประโยชนทุกขอ
4. เกี่ยวกับสัญญาอิเล็กทรอนิกสขอใดกลาวถูก
ข. ทําใหสถิติการซื้อขายสินคาพาณิชยอิเล็กทรอนิกสในประเทศไทยเพิ่มขึ้น
5. ขอใดเปนการแสดงเจตนาทางอิเล็กทรอนิกสแบบ Real Time
ค. Face Time
6. ขอดีของการแสดงเจตนาทางอิเล็กทรอนิกสแบบ Real Time คือขอใด
ข. โตตอบกันไดทันที
7. ขอใดเปนเงื่อนไขของการแสดงเจตนาทางอิเล็กทรอนิกสแบบ Non-Real Time
ก. ผูรับคําเสนอตองเปดบัญชีขึ้นมากอนจึงรับการแสดงเจตนานั้นได
8. การแสดงเจตนาทางอิเล็กทรอนิกสแบบ Non-Real Time กฎหมายกําหนดไววาจะมีผลเมื่อใด
ข. เมื่อคําเสนอไดเขาสูระบบของผูรับ
9. ขอใดถือวาเปนสถานที่การแสดงเจตนาทางอิเล็กทรอนิกส
ก. สํานักงานใหญของผูสงคําเสนอ
10. Interactive Application หมายถึงขอใด
ข. โตตอบกันทันที
11. เครื่องมือขอใดชวยใหการทําสัญญาอิเล็กทรอนิกสมีความสะดวกมากขึ้น
ค. Smart phone
14
12. ขอใดเปน Application ที่ใชในการซื้อขายสินคา
ข. Lazada
13. ขอมูลการซื้อขายในสัญญาอิเล็กทรอนิกสควรเปนไปตามขอใด
ค. จะตองไมมีการเปลี่ยนแปลง
14. เกี่ยวกับการแสดงเจตนาทางออนไลน ขอใดควรปฏิบัติ
ข. มีปุมยืนยันอีกครั้งหลังจากตรวจทานขอมูลการสั่งซื้อแลว
15. Online Dispute Resolution หมายถึงขอใด
ค. การระงับขอพิพาททางออนไลน

ตอนที่ 2 จงตอบคําถามตอไปนี้
1. จงอธิบายรายละเอีดยของ “เปนการกระทําของบุคคลโดยการแสดงเจตนา”
เปนการแสดงเจตนาโดยชัดแจงทั้งดวยวาจา ลายลักษณอักษร หรือการแสดงอื่นใดที่อนุมานไดวาเปนการแสดง
เจตนาในการกระทําตามคําเสนอหรือคําสนองนั้น

2. จงอิบายรายละเอียดของ “เปนการกระทําโดยชอบดวยกฎหมาย”
เปนการกระทําที่ไมขัดตอกฎหมาย ศีลธรรมอันดี และความสงบเรียบรอยของประชาชน

3. จงอิบายรายละเอียดของ “มุงประสงคใหเกิดผลทางกฎหมาย”
มีความมุงหมายที่จะผูกนิติสัมพันธที่จะสามารถบังคับกันไดตามกฎหมาย

4. จงอิบายรายละเอียดของ “กระทําโดยสมัครใจ”
เปนการสมัครใจของคูสัญญาทั้งสองฝายไมเกิดจากการบังคับ

5. การเกิดสัญญาทั้งตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยและสัญญาอิเล็กทรอนิกส คําเสนอและคําสนองตองเปน
อยางไร
คําเสนอและคําสนองจะตองตรงกัน

6. จงอธิบายรายละเอียดของการแสดงเจตนาทางอิเล็กทรอนิกสแบบ Real Time


คูสนทนาสามารถพูดคุย โตตอบกันไดทันที สามารถเห็นหนาคูสนทนาได

7. จงอธิบายรายละเอียดของการแสดงเจตนาทางอิเล็กทรอนิกสแบบ Non-Real Time


ผูรับคําเสนอจะไมไดรับคําเสนอทันที จะตองเปดบัญชี E-mail , Line หรือ Facebook ของตนขึ้นมากอน จึงจะ
สามารถรับการแสดงเจตนานั้นได
15
8. จงบอกเหตุผลของการระงับขอพิพาททางอิเล็กทรอนิกส
คูส ญ
ั ญาตางฝายไมไดพบหนากัน อาจหางไกลกันดวยระยะทาง จึงไมสะดวกทีจ่ ะใหทงั้ สองฝายมาพบหนากันเมือ่
เกิดกรณีพิพาท

9. จงบอกวิธีการรองเรียนในระบบ Online Dispute Resolution


ผูรองเรียนสามารถแจงเรื่องราวพรอมแนบเอกสารบนหนาเว็บไซต หรือผานแอพพลิเคชั่น บนอุปกรณมือถือ ซึ่ง
สามารถสงถึงผูดําเนินงานจัดการขอรองเรียน หรือผูระงับกรณีพิพาท ไดอยางสะดวกและปลอดภัย

10. จงบอกหลักการสําคัญของการระงับขอพิพาททางออนไลน
หลักการสําคัญในการนําเทคโนโลยีมาใชในการระงับขอพิพาทออนไลน คือ ความเปนกลางของระบบ และความ
เปนอิสระของผูที่ทําหนาที่ระงับขอพิพาท (Impartiality and Independence) คาบริการอยูในเกณฑที่สมเหตุสม
ผลสําหรับผูบริโภค (Affordability) ผูใหบริการระบบมีความโปรงใสและมีกระบวนการดําเนินการ อยางเปนธรรม
(Fairness) นอกจากนีใ้ นสวนของเทคโนโลยีทนี่ าํ มาใชตอ งมีประสิทธิภาพและมีการรักษาความลับและความปลอดภัย
อยางเหมาะสมดวย

เฉลยหนวยการเรียนรูที่ 6
ตอนที่ 1 จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว
1. พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร พ.ศ. 2562 มีความสําคัญตามขอใด
ค. เพื่อใหการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรมีประสิทธิภาพ
2. เหตุผลที่ตองมีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรคือขอใด
ก. เพื่อความสงบเรียบรอยภายในประเทศ
3. ขอใดหมายถึงไซเบอร
ค. ขอมูลและการสื่อสารผานเครื่อขายคอมพิวเตอร ระบบอินเทอรเน็ต
4. ขอใดเปนเหตุการณที่เกี่ยวกับความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร
ก. การทําลายขอมูลที่เกี่ยวกับความปลอดภัยของประเทศในคอมพิวเตอร
5. คอมพิวเตอรหรือระบบคอมพิวเตอรที่หนวยงานใชในกิจการของตนเองที่เกี่ยวของกับความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
ของประเทศ สอดคลองกับขอใด
ข. โครงสรางพื้นฐานสําคัญทางสารสนเทศ
6. พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร พ.ศ. 2562 เสริมสรางความมั่นคงปลอดภัยของสิ่งใด
ง. ขอมูลคอมพิวเตอร และระบบคอมพิวเตอร
16
7. คณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลดภัยไซเบอรมีใครเปนประธานกรรมการ
ก. นายกรัฐมนตรี
8. สํานักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลดภัยไซเบอรหงชาติมีฐานะตามขอใด
ง. นิติบุคคล
9. การกําหนดแผนและนโยบายการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร ตองคํานึงถึงขอใด
ก. ความเปนเอกภาพและการบูรณาการในการดําเนินงาน
10. การบริหารจัดการ รักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรใหความสําคัญขอใด
ข. รับมือ และลดความเสี่ยงจากภัยคุกคามทางไซเบอร
11. หนวยงานโครงสรางพื้นฐานความสําคัญทางสารสนเทศมีลักษณะตามขอใด
ง. ถูกทุกขอ
12. หนวยงานโครงสรางพื้นฐานสําคัญทางสารสนเทศจะตองใหหนวยงานที่กํากับดูแล ดําเนินการเรื่องใด
ข. ตรวจสอบมาตรฐานขั้นตําเรื่องความปลอดภัยไซเบอร
13. หนวยงานโครงสรางพื้นฐานสําคัญทางสารสนเทศ ตองไดรับการประเมินและตรวจสอบตามขอใด
ก. ปละ 1 ครั้ง
14. ขอใดเปนภัยคุกคามทางไซเบอรระดับวิกฤติ
ค. ภัยคุกคามทางไซเบอรหรือเหตุการณที่เกี่ยวของกับความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรที่ฉุกเฉิน
15. หากเจาหนาที่เปดเผยหรือสงมอบขอมูลคอมพิวเตอร จราจรคอมพิวเตอรของผูมาใชบริการใหแกผูอื่น ตองไดรับโทษ
ตามขอใด
ง. จําคุกไมเกิน 3 ป ปรับไมเกิน 60,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

ตอนที่ 2 จงตอบคําถามตอไปนี้
1. จงบอกความหมายของ “การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร”
มาตรการหรือการดําเนินการทีก่ าํ หนดขึน้ เพือ่ ปองกัน รับมือ และลดความเสีย่ งจากภัยคุกคามทางไซเบอรทงั้ จาก
ภายในและภายนอกประเทศ อันกระทบตอความมั่นคงของรัฐ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ความมั่นคงทางทหาร และ
ความสงบเรียบรอย ภายในประเทศ

2. จงบอกความหมายของ “ภัยคุกคามทางไซเบอร”
การกระทําหรือการดําเนินการใด ๆ โดยมิชอบ โดยใชคอมพิวเตอรหรือระบบคอมพิวเตอรหรือโปรแกรมไมพึง
ประสงคโดยมุง หมายใหเกิดการประทุษราย ตอระบบคอมพิวเตอร ขอมูลคอมพิวเตอร หรือขอมูลอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ และเปน
ภยันตรายทีใ่ กลจะถึง ทีจ่ ะกอใหเกิดความเสียหายหรือสงผลกระทบตอการทํางานของคอมพิวเตอร ระบบคอมพิวเตอร
หรือ ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ
17
3. จงบอกความหมายของ “ไซเบอร”
ขอมูลและการสื่อสารที่เกิดจากการใหบริการหรือการประยุกตใช เครือขายคอมพิวเตอร ระบบอินเทอรเน็ต หรือ
โครงขายโทรคมนาคม รวมทั้งการใหบริการโดยปกติของ ดาวเทียมและระบบเครือขายที่คลายคลึงกัน ที่เชื่อมตอกัน
เปนการทั่วไป

4. จงบอกความหมายของ “เหตุการณที่เกี่ยวกับความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร”
เหตุการณที่เกิดจากการกระทําหรือการดําเนินการใด ๆ ที่มิชอบซึ่งกระทําการผานทางคอมพิวเตอรหรือระบบ
คอมพิวเตอร ซึ่งอาจเกิดความเสียหายหรือผลกระทบตอการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร หรือความมั่นคง
ปลอดภัย ไซเบอรของคอมพิวเตอร

5. จงบอกความหมายของ “โครงสรางพื้นฐานสําคัญทางสารสนเทศ”
คอมพิวเตอรหรือระบบคอมพิวเตอร ซึง่ หนวยงานของรัฐหรือหนวยงานเอกชนใชในกิจการของตนทีเ่ กีย่ วของกับ
การรักษาความมัน่ คงปลอดภัย ของรัฐ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมัน่ คงทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือโครงสราง
พื้นฐานอันเปน ประโยชนสาธารณะ

6. จงบอกความหมายของ “หนวยงานโครงสรางพื้นฐานสําคัญทางสารสนเทศ”
หนวยงานของรัฐหรือ หนวยงานเอกชน ซึ่งมีภารกิจหรือใหบริการโครงสรางพื้นฐานสําคัญทางสารสนเทศ

7. คณะกรรมการการรักษาความมัน่ คงปลอดภัยไซเบอรแหงชาติ มีอาํ นาจประกาศกําหนดใหหนวยงานทีม่ ลี กั ษณะอยางไร


เปนหนวยงานโครงสรางพื้นฐานสําคัญทางสารสนเทศ
1. ดานความมั่นคงของรัฐ
2. ดานบริการภาครัฐที่สําคัญ
3. ดานการเงินการธนาคาร
4. ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและโทรคมนาคม
5. ดานการขนสงและ โลจิสติกส
6. ดานพลังงานและสาธารณูปโภค
7. ดานสาธารณสุข
8. ดานอื่นตามที่คณะกรรมการประกาศกําหนดเพิ่มเติม

8. ภัยคุกคามทางไซเบอรระดับเฝาระวัง มีลักษณะเปนอยางไร
เปนภัยทีอ่ าจกอใหเกิดความเสียหาย แตยงั ไมเกิดผลกระทบตอบุคล ทรัพยสนิ หรือขอมูลสําคัญในระดับทีร่ า ยแรง
18
9. ภัยคุกคามทางไซเบอรระดับรายแรง มีลักษณะเปนอยางไร
1. ภัยคุกคามทีเ่ สีย่ งตอความเสียหายตอขอมูล ระบบขอมูล หรือขอมูลอืน่ ทีเ่ กียวของกับระบบคอมพิวเตอรหรือ
การใหบริการของโครงสรางพื้นฐานสําคัญทางสารสนเทศ
2. ภัยคุกคามที่สงผลตอความมั่นคงของรัฐ การปองกันประเทศ ความสัมพันธ
ระหวางประเทศ เศรษฐกิจสาธารณสุข ความปลอดภัยสาธารณะ
3. ภัยคุกคามที่มีความรุนแรงที่กอหรืออาจกอใหเกิดความเสี่ยงภัย หรือความ
เสียหายตอบุคคล หรือตอขอมูลคอมพิวเตอร ระบบคอมพิวเตอร หรือขอมูลอื่นที่เกี่ยวของกับระบบ คอมพิวเตอรที่
สําคัญหรือมีจํานวนมาก

10. ภัยคุกคามทางไซเบอรระดับวิกฤติ มีลักษณะเปนอยางไร


1. ภัยคุกคามทางไซเบอรหรือเหตุการณที่เกี่ยวของกับความมั่นคง ปลอดภัย
ไซเบอรที่ฉุกเฉิน เรงดวน ที่ใกลจะเกิด และสงผลกระทบตอโครงสรางพื้นฐานสําคัญทางสารสนเทศ สาธารณูปโภค
ขั้นพื้นฐาน ความมั่นคงของรัฐ หรือชีวิตความเปนอยูของประชาชน
2. ภัยคุกคามทางไซเบอรที่ฉุกเฉิน เรงดวน ที่ใกลจะเกิดอันอาจ เปนผลให
บุคคลจํานวนมากเสียชีวิต หรือระบบคอมพิวเตอรจํานวนมากถูกทําลายในวงกวางในระดับประเทศ
3. ภัยคุกคามทางไซเบอรอนั ทีก่ อ ใหเกิดกระทบตอความสงบ เรียบรอยของประชาชน หรือเปนภัยตอความมัน่ คง
ของรัฐหรืออาจทําใหประเทศหรือสวนใดสวนหนึ่งของ ประเทศตกอยูในภาวะคับขันหรือมีการกระทําความผิดเกี่ยว
กับการกอการรายตามประมวลกฎหมายอาญา การรบหรือการสงคราม ซึ่งจําเปนตองมีมาตรการเรงดวนเพื่อรักษา
ไวซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
เอกราชและบูรณภาพแหง อาณาเขต ผลประโยชนของชาติ การปฏิบัติตามกฎหมาย ความปลอดภัยของประชาชน
การดํารงชีวิต โดยปกติสุขของประชาชน การคุมครองสิทธิเสรีภาพ ความสงบเรียบรอยหรือประโยชนสวนรวม หรือ
การปองปด หรือแกไขเยียวยาความเสียหายจากภัยพิบัติสาธารณะอันมีมาอยางฉุกเฉินและรายแรง
19

เฉลยหนวยการเรียนรูที่ 7
ตอนที่ 1 จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว
1. กฎหมายลิขสิทธิ์ใหความคุมครองสิ่งใด
ค. งานที่บุคคลสรางสรรคขึ้นมาดวยสติปญญา ความรู ความสามารถของตนเอง
2. บุคคลใดตอไปนี้เปนผูสรางสรรค
ง. นอยเปนผูคิดคนเครื่องตีแปงไฟฟา
3. ลิขสิทธิ์ หมายถึงขอใด
ข. สิทธิในการกระทําการใด ๆ กับงานที่สรางสรรค
4. ขอใดสามารถกระทําไดโดยไมผิดกฎหมายลิขสิทธิ์
ง. การชื่นชมงานจิตรกรรมของจิตรกรที่มีชื่อเสียง
5. ขอใดเปนงานลิขสิทธิ์
ก. ภาพจิตรกรรมฝาผนัง
6. ขอใดเรียกวานาฏกรรม
ข. ทารํา
7. อาคารที่มีการออกแบบอยางสวยงาม แปลกตา ไมซํ้ากับงานเดิมที่มีอยู หมายถึงขอใด
ค. งานสถาปตยกรรม
8. ขอใดหมายถึงงานดนตรีกรรม
ข. งานเพลงที่แตงขึ้นเพื่อบรรเลงหรือขับรอง
9. งานขอใดไมมีลิขสิทธิ์
ค. ขาวประจําวัน
10. ผูสรางสรรคงานที่สามารถขอจดลิขสิทธิ์ไดตองมีคุณสมบัติตามขอใด
ข. เปนผูมีสัญชาติไทย
11. ขณะที่ลูกจางทํางานอยูกับนายจางโดยมีสัญญาจางงานอยางถูกตองตามกฎหมาย ไดมีการสรางสรรคงานขึ้นมา
งานนั้นเปนลิขสิทธิ์ของใคร
ข. ลูกจาง
12. งานที่ลูกจางตามสัญญาจางทําของไดสรางสรรคขึ้น งานนั้นเปนลิขสิทธิ์ของใคร
ก. ผูวาจาง
13. งานที่ขาราชการสรางสรรคขึ้นตามคําสั่งของผูบังคับบัญชา เปนลิขสิทธิ์ของใคร
ค. หนวยงาน
14. บุคคลใดตอไปนี้เปนผูละเมิดลิขสิทธิ์
ง. ราตรีนําเพลงฮิตไปบันทึกลงแผนซีดีขายใหเพื่อน
15. ผูละเมิดลิขสิทธิ์โดยเปนการกระทําเพื่อการคา ตองไดรับโทษตามขอใด
ก. จําคุกตั้งแต 3 เดือน – 2 ป หรือปรับตั้งแต 50,000-400,000 บาท
20

ตอนที่ 2 จงตอบคําถามตอไปนี้
1. งานที่ผูสรางสรรคไดสรางสรรคขึ้นมามีลักษณะอยางไร
1. เปนงานที่สรางสรรคขึ้นมาใหม หรือไมก็ได
2. เปนการกระทําที่เกิดจากความวิริยะ อุตสาหะในการสรางสรรค และงานดังกลาวมีที่มาหรือตนกําเนิดจาก
บุคคลผูนั้นโดยมิไดคัดลอก หรือดัดแปลงมาจากงานลิขสิทธิ์ของผูอื่น
3. ผูส รางสรรค ตองมีการแสดงออกซึง่ ความคิด เนือ่ งจากกฎหมายคุม ครองสิง่ ทีแ่ สดงออกเทานัน้ ไมไดคมุ ครอง
ความคิดหรือแนวความคิด
4. การแสดงออกซึ่งความคิดของผูสรางสรรค อาจแสดงออกโดยรูปแบบหรือวิธีอื่นใดก็ได ดดยไมตองมีการ
บันทึก
5. ตองเปนงานสรางสรรคอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ไดแก งานวรรณกรรม งานนาฏกรรม งาน
ศิลปกรรม งานดนตรีกรรม งานโสตทัศนวัสดุ งานภาพยนตร สิ่งบันทึกเสียง งานแพรเสียงแพรภาพ และงานอื่นใดใน
แผนกวรรณคดี วิทยาศาตรและศิลปะ

2. จงอธิบายความหมายของลิขสิทธิ์
สิทธิแตผูเดียวในการกระทําการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ไดสรางสรรคขึ้นจากสติปญญา ความรู ความสามารถ และ
ดวยความวิรยิ ะอุตสาหะของตนโดยไมไดลอกเลียนแบบงานของผูอ น่ื โดยผูส รางสรรค จะไดรบั ความคุม ครองทันทีโดย
ไมตองจดทะเบียน สิทธิแตผูเดียวในการกระทําการใด ๆ

3. เจาของลิขสิทธิ์มีสิทธิในงานของตนอยางไรบาง
1. สิทธิในการทําซํ้า
2. สิทธิในการดัดแปลง
3. สิทธิในการเผยแพรตอสาธารณชน
4. ใหเชาตนฉบับหรือสําเนางาน
5. ใหประโยชนอันเกิดจากลิขสิทธิ์
6. อนุญาตใหผูอื่นนํางานนั้นไปทําซํา ดัดแปลง เผยแพรตอสาธารณชน หรือใชเชาตนฉบับหรือสําเนางาน

4. สิทธิในการทําซํ้าหมายความวาอยางไร
หมายถึง มีสิทธิในการคัดลอกไมวาโดยวิธีใด ไดแก การทําสําเนา ทําแมพิมพ บันทึกเสียง บันทึกภาพ หรือบันทึก
เสียงและภาพจากตนฉบับ สําเนา หรือจากการโฆษณาในสวนอันเปนสาระสําคัญทั้งหมดหรือบางสวน หากเปน
โปรแกรมคอมพิวเตอร หมายถึง การคัดลอกหรือทําสําเนาโปรแกรมคอมพิวเตอรจากสื่อบันทึกใด ไมวาดวยวิธีการ
ใด ที่ไมเปนการสรางงานใมขึ้นมา
21
5. สิทธิในการดัดแปลง หมายความวาอยางไร
หมายถึง การทําซํ้าโดยเปลี่ยนรูปแบบใหม ปรับปรุง แกไข เพิ่มเติม หรือจําลองงานตนฉบับในสวนที่เปนสาระ
สําคัญไมวาจะทั้งหมดหรือบางสวน

6. จงอธิบายรายละเอียดของงานวรรณกรรม
งานนิพนธที่ทําขึ้นทุกชนิด เชน หนังสือ จุลสาร สิ่งเขียน สิ่งพิมพ คําปราศรัย สุนทรพจน ปาฐการเทศนา รวมถึง
โปรแกรมคอมพิวเตอรดวย

7. งานศิลปกรรมมีอะไรบาง
1. งานจิตรกรรม เปนงานสรางสรรครูปทรงที่ประกอบกันดวยเสน แสง สี หรือสิ่งอื่นอยางใดอยางหนึ่ง หรือ
หลายอยางรวมกันลงบนนวัสดุอยางเดียวหรือหลายอยาง
2. งานประติมากรรม เปนงานที่สรางสรรครูปทรงที่เกี่ยวกับปริมาตรที่สัมผัสและจับตองได
3. งานภาพพิมพ เปนงานสรางสรรคภาพดวยวิธีการพิมพ และหมายรวมถึงแมพิมพหรือแบบพิมพที่ใชในการ
พิมพดวย
4. งานสถาปตยกรรม เปนงานออกแบบอาคารหรือสิง่ ปลูกสราง งานออกแบบตกแตงภายในหรือภายนอกตลอด
จนบริเวณของอาคารหรือสิ่งปลูกสราง หรือการสรางสรรคหุนจําลองของอาคารหรือสิ่งปลูกสราง
5. งานภาพถาย เปนงานสรางสรรคภาพที่เกิดจากการใชเครื่องมือบันทึกภาพโดยใหแสงผานเล็นซไปยังฟลม
หรือกระจก และลางดวยนํ้ายาซึ่งมีสูตรเฉพาะ หรือดวยกรรมวิธีใด ๆ อันทําใหเกิดภาพขึ้น หรือการบันทึกภาพโดย
เครื่องมือหรือวิธีการอยางอื่น
6. งานภาพประกอบ แผนที่ โครงสราง ภาพราง หรืองานสรางสรรครูปทรงสามมิติอันเกี่ยวกับภูมิศาสตร
ภูมิประเทศ หรือวิทยาศาสตร
7. งานศิลปะประยุกต เปนงานทีน่ าํ เอางานตัง้ แต 1-6 อยางใดอยางหนึง่ หรือหลายอยางรวมกันไปใชประโยชน
อยางอื่นที่นอกเหนือจากการชื่นชมคุณคาของตัวงาน เชน นําไปใชสอย นําไปตกแตงวัสดุหรือเปนเครื่องมือเครื่องใช
เพื่อประโยชนทางการคา

8. งานที่ไมมีลิขสิทธิ์มีอะไรบาง
1. ขาวประจําวัน ขอเท็จจริงตาง ๆ ที่มีลักษณะเปนขาวสาร ไมใชงานในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร หรือ
ศิลปะ
2. รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย
3. ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ คําสั่ง คําชี้แจง และหนังสือโตตอบของกระทรวง ทบวง กรม หรือหนวยงานอื่น
ใดของรัฐหรือของทองถิ่น
4. คําพิพากษา คําสั่ง คําวินิจฉัย และรายงานของทางราชการ
5. คําแปลและการรวบรวมสิ่งตาง ๆ ตั้งแต 1-4 ที่กระทรวง ทบวง กรม หรือหนวยงานอื่นใดของรัฐ หรือของ
ทองถิ่นจัดทําขึ้น
22
9. จงบอกอายุของการคุมครองลิขสิทธิ์ของบุคคลธรรมดา และนิติบุคคล
1. บุคคลธรรมดา กําหนดไวตลอดอายุของผูสรางสรรค และตอไปอีกเปนเวลา 50 ปนับจากผูสรางสรรคถึงแก
ความตาย
2. นิติบุคคล กําหนดอายุการคุมครองไว 50 ป
3. กรณีเปนผูส รางสรรครว ม กําหนดไวตลอดอายุของผูส รางสรรครว ม และมีอายุตอ อีก 50 ปนบั จากผูส รางสรรค
รวมคนสุดทายถึงแกความตาย

10. จงอธิบายรายละเอียดของบทลงโทษตามกฎหมายลิขสิทธิ์
1. ผูที่รูอยูแลว หรือควรรูวาสิ่งที่กระทําเปนการละเมิดลิขสิทธิ์ หากเปนการกระทําโดยไมแสวงหากําไร ปรับ
ตั้งแต 10,000 – 100,000 บาท หากเปนการกระทําเพื่อการคา จําคุกตั้งแต 3 เดือน ถึง 2 ป หรือปรับตั้งแต 50,000
– 400,000 บาท
2. หรือวัตถุใด ๆ ตามที่คณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการสั่ง ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 3 เดือน หรือปรับ
ไมเกิน 50,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
3. คาปรับที่ไดชําระตามคําพิพากษา ใหจายแกเจาของลิขสิทธิ์เปนจํานวนกึ่งหนึ่ง

เฉลยหนวยการเรียนรูที่ 8
ตอนที่ 1 จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว
1. สิทธิบัตรเปนหนังสือสําคัญออกเพื่อคุมครองสิ่งใด
ค. สิ่งประดิษฐ
2. ขอใดเปนเหตุผลที่ตองใหความคุมครองสิทธิบัตร
ข. เพื่อเปนการใหรางวัลตอบแทนผูประดิษฐ
3. ขอใดเปนการออกแบบผลิตภัณฑ
ง. สายสุนียสรางสรรคผลิตภัณฑขึ้นโดยมาเองโดยผลิตภัณฑนั้นยังไมเคยมีแพรหลาย
4. ขอใดเปนลักษณะของสิทธิบัตร
ก. หนังสือสําคัญ
5. ผูขอสิทธิบัตรการประดิษฐตองมีคุณสมบัติตามขอใด
ค. มีสัญชาติไทย
6. นอกจากผลิตภัณฑแลว สิ่งใดที่สามารถขอรับสิทธิบัตรได
ก. กรรมวิธี
7. ขอใดหมายถึงผลิตภัณฑที่ประดิษฐขึ้นมาใหม
ข. ผลิตภัณฑที่ยังไมเคยมีแพรหลาย
23
8. เกี่ยวกับสิทธิบัตรขอใดกลาวถูก
ค. สามารถโอนกันทางมรดกได
9. ศรัณูเปนนายจาง จางใหสมรศรีประดิษฐผลิตภัณฑใหมขึ้นมา ผลิตภัณฑใหมนั้นเปนสิทธิของใคร
ก. นายจาง
10. สิ่งใดไมสามารถของรับสิทธิบัตรได
ข. สัตว พืช ที่มีอยูตามธรรมชาติ
11. อนุสิทธิบัตรใหความคุมครองสิ่งประดิษฐขอใด
ก. สิ่งประดิษฐที่มีการคิดคนไมซับซอน
12. ขอใดหมายถึงผูทรงสิทธิบัตร
ข. ผูที่ไดรับจดชื่อในทะเบียนสิทธิบัตร
13. ผูใดสามารถเปนผูทรงสิทธิบัตรได
ง. เปนไดทุกขอ
14. เกี่ยวกับการเพิกถอนสิทธิบัตรขอใดกลาวถูก
ค. หากพบวาผูทรงสิทธิบัตรมีคุณสมบัติไมเหมาะสมสามารถเพิกถอนสิทธิบัตรได
15. ผูที่ใชคําวา “สิทธิบัตรไทย” หรือ “อนุสิทธิบัตรไทย” โดยไมไดรับอนุญาตตองไดรับโทษตามขอใด
ก. จําคุกไมเกิน 1 ป หรือปรับไมเกิน 200,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

ตอนที่ 2 จงตอบคําถามตอไปนี้
1. จงอธิบายความหมายของสิทธิบัตร
หนังสือสําคัญที่ออกเพื่อใหความคุมครองการประดิษฐ หรือการออกแบบผลิตภัณฑที่เปนการประดิษฐขึ้นใหม
หรือเปนการประดิษฐที่มีขั้นตอนการประดิษฐสูงขึ้นและสามารถประยุกตทางอุตสาหกรรมได สิทธิบัตรอยูในรูปของ
หนังสือสําคัญ การจะไดรับสิทธิบัตรหรือไมนั้น จะตองผานการพิจารณาหลักเกณฑตามกฎหมาย

2. จงอธิบายประเภทของสิทธิบัตร
สิทธิบัตร เปนรูปแบบการใหความคุมครองสิทธิตามกฎหมายในลักษณะที่เปนเอกสาร แบงออกเปน 3 ประเภท
ไดแก สิทธิบัตรการประดิษฐ สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ และอนุสิทธิบัตร

3. จงอธิบายรายละเอียดของสิทธิบัตรการประดิษฐ
สิทธิบตั รการประดิษฐ เปนทรัพยสนิ ทางปญญาทีเ่ กิดจากผลงานสรางสรรคจากการประดิษฐทมี่ ลี กั ษณะของการ
แกปญหาทางเทคนิคที่ไมสามารถคิดขึ้นโดยงาย มีระยะเวลาในการคุมครอง 20 ป

4. จงอธิบายรายละเอียดของสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ
สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ หมายถึง สิทธิที่รัฐออกใหเพื่อคุมครองการออกแบบผลิตภัณฑ ที่มีลักษณะตาม
กฎหมายกําหนดเปนพิเศษ โดยใหสิทธิที่จะผลิตสินคา และจําหนายสินคาแตเพียงผูเดียว ภายในชวงระยะเวลาหนึ่ง
24

5. จงอธิบายรายละเอียดของอนุสิทธิบัตร
อนุสทิ ธิบตั ร เปนทรัพยสนิ ทางปญญาทีเ่ กิดจากผลงานสรางสรรคจากการประดิษฐคดิ คนทีไ่ มมคี วามซับซอน มีการ
ใชเทคโนโลยีไมสูงมากนัก หรือเปนการประดิษฐที่มีการคิดคนเพียงเล็กนอย แตตองเปนการประดิษฐใหมและสามารถ
ประยุกตใชทางอุตสาหกรรมไดและมีประโยชนใชสอยมากขึ้น

6. การประดิษฐที่จะขอรับสิทธิบัตร ตองมีลักษณะอยางไร
การประดิษฐ ที่เปนการคิดคนหรือการทําขึ้น อันเปนผลใหไดมาซึ่งผลิตภัณฑหรือกรรมวิธีใดขึ้นใหม หรือการกระ
ทําใด ๆ ที่ทําใหดีขึ้นซึ่งผลิตภัณฑหรือกรรมวิธีการประดิษฐเนนเรื่องการใชความคิด

7. จงบอกสิ่งประดิษฐที่ขอรับสิทธิบัตรไมได
1. จุลชีพและสวนประกอบสวนใดสวนหนึง่ ของจุลชีพทีม่ อี ยูต ามธรรมชาติ สัตว พืช หรือสารสกัดจากสัตวหรือพืช
2. กฎเกณฑและทฤษฎีทางวิทยาศาสตร และคณิตศาสตร
3. ระบบขอมูลสําหรับการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร
4. วิธีการวินิจฉัย บําบัด หรือรักษาโรคมนุษย หรือสัตว
5. การประดิษฐที่ขัดตอความสงบเรียบรอย ศีลธรรมอันดี อนามัยหรือสวัสดิภาพของประชาชน

8. จงบอกความหมายของแบบผลิตภัณฑ
รูปรางของผลิตภัณฑภายนอกหรือองคประกอบของลวดลายหรือสีของผลิตภัณฑอันมีลักษณะพิเศษสําหรับ
ผลิตภัณฑซึ่งสามารถใชเปนแบบสําหรับอุตสาหกรรมรวมทั้งหัตถกรรมได

9. จงอธิบายอายุของอนุสิทธิบัตร
อนุสทิ ธิบตั รมีอายุ 6 ป นับแตวนั ขอรับอนุสทิ ธิบตั รในราชอาณาจักร ในกรณีทมี่ กี ารดําเนินคดีทางศาล มิใหนบั นับ
ระยะเวลาในการดําเนินคดีดังกลาวเปนอายุของอนุสิทธิบัตร ผูทรงอนุสิทธิบัตร สามารถขอตออนุสิทธิบัตรได 2 คราว
มีกําหนดคราวละ 2 ป รวมเปน 10 ป

10. จงอธิบายรายละเอียดของผูทรงสิทธิบัตร
ผูทรงสิทธิบัตร หมายถึง เจาของสิทธิบัตร หรือผูที่ไดรับจดชื่อลงในทะเบียนสิทธิบัตรไดแกบุคคลเหลานี้
1. ผูประดิษฐ
2. ผูรับโอนสิทธิบัตร
3. นายจางของผูประดิษฐ
4. สวนราชการสําหรับขาราชการ

You might also like