You are on page 1of 12

แนวทดสอบ 

ชุดที่ ๕๐
ชุด ๕๐/๑เฉลยข้อ ๑-๓๐
 1.ค 2. ก 3.ข 4. ข 5.ก 6.ง. 7. ค 8.ก 9. ข 10.ง
11.ง 12.ค 13.ง 14.ข 15.ค 16.ข 17.ค 18.ก 19.ง 20.ง
21.ก 22.ก 23.ค 24.ข 25.ง 26.ค 27.ง 28.ง 29.ข 30.ง

1. สิ่งที่ดีงามที่ยึดถือปฏิบัติสืบต่อกันมา เรียกว่า
ก. คุณธรรม
ข. จริยธรรม
ค. วัฒนธรรม
ง. ค่านิยม
2. ข้อใดคือวัฒนธรรมไทย
ก. การเคารพพระสงฆ์
ข. สงกรานต์
ค. ฮีตสิบสอง
ง. การไหลเรื่อไฟ
3. การกราบครัง้ ที่สองของการกราบแบบเบญจางค์ประดิษฐ์ หมายถึง
กราบใคร
ก. กราบเพื่อระลึกถึงองค์พระพุทธเจ้า
ข. กราบพระธรรมคำสั่งสอนพระพุทธเจ้า
ค. กราบพระสงฆ์ตัวแทนพระพุทธเจ้า
ง. กราบพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
4. ข้อใดเป็ นการกระทำที่ไม่ถูกต้อง
ก. เมื่อพระสงฆ์เดินผ่านให้ไหว้โดยให้ปลายนิว้ มือจรดตีนผม
ข. ผู้ชายให้ถวายของให้พระต่อมือพระสงฆ์โดยตรงและคุกเข่ากราบไม่
แบมือครัง้ เดียว
ค. การตักบาตรควรถอดรองเท้าก่อน
ง. ผู้หญิงไปหาพระต้องนั่งพับเพียบให้เรียบร้อย ไม่ควรอยู่ตามลำพัง
กับพระสงฆ์
5. เป็ นครูควรมีมารยาททางใจ โดยนำหลักธรรมพรหมวิหาร 4 มายึด
และปฏิบัติ
ก. เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
ข. ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา
ค. ทุกข์ สมุทัย นิโรจ มรรค์
ง. สัจจะ ทมะ ขันติ จาคะ
6. ข้อใดคือมารยาททางใจที่ถูกต้อง
ก. ในงานมงคลควรแสดงสีหน้าเบิกบานสดชื่นอยู่เสมอ
ข. การไปเยี่ยมคนป่ วยควรใช้คำพูดที่อ่อนโยนปลอบใจผู้ป่วย
ค. ในงานเผาศพควรแสดงกริยาสงบสงวนความรื่นเริงเอาไว้
ง. ถูกทุกข้อ
7. ข้อใดเป็ นมารยาททางกายที่ไม่เหมาะสม
ก. ถ้านั่งต่อหน้าผู้ใหญ่กับพื้นให้นงั่ พับเพียบ หันหน้าไปหาผู้ใหญ่ใน
ลักษณะ
เงยหน้า
ข. ไม่ถือวิสาสะใช้หรือรับประทานของที่เขาจัดไว้สำหรับผู้อ่ น
ื โดย
เฉพาะ
ค. ล้วง แคะ แกะเกา หาว เรอหากจำเป็ น
ง. เห็นของผู้ใหญ่ตก หรืออาจจะเสียหายโดยที่เจ้าตัวไม่ร้ค
ู วรจะบอก
8. การับไหวในขณะที่ยืนและเราอยู่ในฐานะที่อาวุโสกว่า
ก. พนมมือระดับอก
ข. พนมมือเหนือระดับอก นิว้ จรดคาง
ค. พนมมือระดับอก ก้มศรีษะเล็กน้อย
ง. พนมมือระดับอกและพยักหน้าเล็กน้อย
9. หากเราจะผ่านผูค
้ นมากๆและมีผู้ที่อาวุโสนั่งอยู่กับพื้นควรใช้วิธีการ
ใด
ก. เดินก้มหน้า
ข. เดินย่อตัว
ค. หมอบ
ง. คลาน
10. เมื่อใดควรยืนตรง
ก. เมื่อเห็นคนเชิญธงชาติผ่านหน้า
ข. เมื่อเห็นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จมาถึงบริเวณพิธี
ค. เมื่อได้ยินเสียงเพลงสรรเสริญพระบารมี
ง. ถูกทุกข้อ
11. ข้อใดคือมารยาทแบบสากลทางกายแสดงการทักทาย
ก. การยิม

ข. การไหว้
ค. การคำนับ
ง. การจับมือ
12. ข้อใดคือมารยาทในการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกต้อง
ก. ให้ผู้อาวุโสรับประทานก่อนเราจึงรับประทาน
ข. ไม่ท้าวศอกบนโต๊ะอาหาร และนัง่ ตัวตรง
ค. แตะต้องหรือหยิบอาหารให้ผู้อาวุโสกว่าตามสมควร
ง. ควรถือช้อนด้วยมือขวาและส้อมด้วยมือซ้าย
13. มารยาทในการใช้วาจาที่ถูกต้องได้แก่ข้อใด
ก. ต้องระวังมิใช้วาจาเท็จ ยุยงส่อเสียดให้ผู้อ่ น
ื แตกร้าว
ข. ไม่พูดเสียงดังเกินไปหรือพูดพลางหัวเราะพลาง
ค. รู้จักพูดให้ผฟ
ู้ ั งพอใจและเป็ นนักฟั งที่สนใจ
ง. ถูกทุกข้อ
14. “ฮีตสิบสอง” จัดไว้ในข้อใด
ก. วัฒนธรรมไทย
ข. ประเพณี
ค. ความเชื่อ
ง. ค่านิยม
15. เทศกาลไหมและประเพณีผูกเสี่ยวเป็ นประเพณีท้องถิ่นของ
จังหวัดใด
ก. กาฬสินธุ์
ข. มหาสารคาม
ค. ขอนแก่น
ง. อุดรธานี
16. ประเพณีไหลเรื่อไฟของจังหวัดนครพนม เป็ นประเพณีที่เกิดจาก
ความเชื่อของประเทศใด
ก. จีน
ข. อินเดีย
ค. เนปาล
ง. อียีป
17. ประเพณีขน
ึ ้ เขาพนมรุ้งของจังหวัดบุรีรัมย์จัดในเดือนใด
ก. ธันวาคม
ข. มกราคม
ค. เมษายน
ง. กรกฏาคม
18. ประเพณีบวชลูกแก้วนิยมจัดในภาคใด
ก. ภาคเหนือ
ข. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ค. ภาคกลาง
ง. ภาคใต้
19. ประเพณีท้องถิ่นที่นิยมจัดทุกภาคของไทย
ก. บวชนาค
ข. สงกรานต์
ค. ลอยกระทง
ง. ถูกทุกข้อ
20. หากจะรักษาประเพณีไทยโดยการทำบุญ ควรปฏิบัติตามข้อใด
ก. การให้ทาน
ข. การรักษาศีล
ค. ภาวนา
ง. ถูกทุกข้อ
21.ข้อใดต่อไปนีไ้ ม่เกี่ยวข้องกับประเพณีแต่งงาน
ก. ขึน
้ หอ
ข. สู่ขวัญ
ค. ขันหมาก
ง. หมัน

22.” ไม้เท้ายอดทองกระบองยอดเพชร” สัมพันธ์กับประเพณีใด
ก. แต่งงาน
ข. บวช
ค. ลอยกระทง
ง. สงกรานต์
23. ประเพณีบายศรีสู่ขวัญมักพบอยู่ทุกจังหวัดทัง้ ภาคเหนือและอีสาน
คำว่า “บายศรี”หมายถึงสิ่งใด
ก. ดอกไม้
ข. พาน
ค. ข้าว
ง. ด้ายขาว
24. ความเชื่อตามประเพณีบญ
ุ ป้ องไฟสัมพันธ์กับอาชีพใด
ก. ค้าขาย
ข. ทำนา
ค. อุตสาหกรรม
ง. ทุกอาชีพที่กล่าว
25. ประเพณีผีตาโขนเป็ นของจังหวัดใด
ก. ลำปาง
ข. พะเยา
ค. อุบลราชธานี
ง. เลย
26. “วันเนา” ของประเพณีสงกรานต์ตรงกับวันใด
ก. 12 เมษายน
ข. 13 เมษายน
ค. 14 เมษายน
ง. 15 เมษายน
27.เหล้า ต้นกล้วย ต้นอ้อย จัดอยู่ในส่วนใดของประเพณีแต่งงาน
ก. ค่าดอง
ข. สู่ขวัญ
ค. ขันหมากเอก
ง. ขันหมากโท
28. ประเพณีชักพระหรือลากพระมักนิยมจัดในภูมิภาคใด
ก. ภาคเหนือ
ข. ตะวันออกเฉียงเหนือ
ค. ภาคกลาง
ง. ภาคใต้
29. ประเพณีอุ้มน้ำดำพระเป็ นของจังหวัดใด
ก. ตาก
ข. เพชรบูรณ์
ค. ปั ตตานี
ง. นครศรีธรรมราช
30. ประเพณีท้องถิ่นต่อไปนีข
้ ้อใดต่างจากกลุ่ม
ก. สู่ข้าวขวัญ
ข. ก่อพระเจดีย์ทราย
ค. ทอดกฐิน
ง. บุญเบิกฟ้ า

แบบทดสอบเรื่อง วัฒนธรรม
1. ข้อใดเป็ นความหมายของคำว่า วัฒนธรรมตามพจนานุกรม ฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
        ก. สิ่งดี ๆ  ที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา 
        ข. ความเจริญในทางวิชาความรู้
        ค. ระเบียบแบบแผนในการปฏิบัติ 
        ง. สิ่งที่ทำให้เจริญงอกงามแก่หมู่คณะ
2. ข้อใด ไม่เกี่ยวข้องกับสาขาของวัฒนธรรมไทยตามความเป็ นของ
คณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ
        ก. วัฒนธรรมทางวัตถุ                     
        ข. วัฒนธรรมทางสุนทรียะ
        ค. วัฒนธรรมทางการบริโภค             
        ง. วัฒนธรรมทางภาษาและวรรณคดี
3. ความเจริญในทางวิชาความรู้ที่เกี่ยวกับความนิยม  ความงดงาม แล
ะความไพเราะจัดเป็ นวัฒนธรรมทางใด
        ก. ทางจิตใจ                      
        ข. ทางสุนทรียะ                        
        ค. ทางภาษาและวรรณคดี  
        ง. ทางขนบธรรมเนียมประเพณี
4. ประเพณีที่บรรพชนได้ถือปฏิบัติกันมาตัง้ แต่อดีตกาลถ้าใครฝ่ าฝื น
ไม่ปฏิบัติตามถือว่าเป็ นความผิด  และถูกสังคมลงโทษ เป็ นความ
หมายของข้อใด
        ก. ประเพณี                         
        ข. ขนบประเพณี                       
        ค. จารีตประเพณี                  
        ง. ธรรมเนียมประเพณี
5. ข้อใด ไม่ จัดเป็ นองค์ประกอบสำคัญของวัฒนธรรมทางจิตใจ
        ก.ศาสนา
        ข.  ศีลธรรม                               
        ค. คติรรม    
        ง. มนุษยธรรม
6. เครื่องมือหาปลาเช่น ลอบ  ไซ  แห จัดเป็ นวัฒนธรรมทางใด
        ก. ทางวัตถุ                         
        ข. ทางสุนทรียะ                       
        ค. ทางภาษาและวรรณคดี 

        ง. ทางขนบธรรมเนียมประเพณี
7. ความสามารถของมนุษย์ในข้อใดถือว่าเป็ นปั จจัยสำคัญที่สุดที่ก่อให้
เกิดวิวัฒนาการทางวัฒนธรรม
        ก. ความสามารถในการประดิษฐ์
คิดค้น                                  
        ข. ความสามารถในการใช้สัญลักษณ์
        ค. ความสามารถในการ
จดจำ                                               
        ง.  ความสามารถในการติดต่อสื่อสาร
8. ข้อใด มิใช่ ลักษณะของวัฒนธรรม
        ก. แบบพฤติกรรมของพฤติกรรมของ
มนุษย์                          
        ข. เกิดจากการเรียนรู้
        ค. เป็ นมรดกทางสังคม 
        ง. เป็ นสิ่งที่แก้ไขเปลี่ยนแปลงไม่ได้
9. ข้อใด ไม่ใช่ ค่านิยมดัง้ เดิมของไทย (O-net 52)
         ก. ความ
กตัญญู                                                                    
         ข. ความเสมอภาค
         ค. ความเป็ น
อิสระ                                                                
         ง. ความเมตตากรุณา
10. ข้อใดอธิบายความหมายของคำว่า “วัฒนธรรม” ในเชิง
สังคมวิทยาได้ถูกต้องที่สุด 
         ก. สิ่งจำเป็ นในการดำรงชีวิตของมนุษย์ 
         ข. สิ่งดีที่สร้างความเจริญงอกงามให้แก่สังคม
         ค. สิ่งที่มนุษย์สร้างขึน
้ และมีการถ่ายทอดไปสู่ร่น
ุ อื่น
         ง. วิถีชีวิตและความคิดดีงามของคนในอดีตที่ควรแก่การ
อนุรักษ์ไว้
11. “มาบรี” คือกลุ่มชาติพันธุ์ใด 
         ก.
ลัวะ                                                                              
     
         ข. เม็ง                  
         ค. มอ
แกน                                                                             
         ง. ผีตองเหลือง
12. ความหมายของคำว่า “วัฒนธรรม” ที่ถูกต้องที่สุดคือข้อใด 
         ก. ประเพณีหรือธรรมเนียมปฏิบัติที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์
         ข. ความสัมฤทธิผลของมนุษย์ที่อนุชนรุ่นหลังควรให้การ
อนุรักษ์
         ค. แบบอย่างพฤติกรรมที่ได้มาทางสังคมและถ่ายทอดต่อไป
ในสังคม
         ง.  แบบแผนพฤติกรรมที่เน้นค่านิยมที่ดีงามของประเทศเพื่อ
จรรโลงความดีงามของชาติ
13. ข้อใด ไม่ใช่ วัฒนธรรม ประเภทเดียวกัน 
         ก. เสื้อผ้า รองเท้า รถมอเตอร์ไซด์                              
         ข. บ้านทรงไทย ไม้แกะสลัก เสื่อจันทรบูร
         ค. ทองหยิบ ทองหยอด ข้าวเกรียบปากหม้อ
         ง.  ความเชื่อเรื่องพรหมจรรย์ การรักนวลสงวนตัว เรือนหอ
14. สถานการณ์ที่เอื้อต่อการผสมผสานทางวัฒนธรรม คือข้อใด 
         ก. ศักยะของวัฒนธรรมที่สนองต่อการการเกื้อกูลต่อกัน
         ข. สมาชิกในสังคมตระหนักถึงการปกป้ องค่านิยมและ
ประเพณีเดิม
         ค. ความภูมิใจของสมาชิกในสังคมที่มีต่อการอนุรักษ์
วัฒนธรรมให้ดำรงอยู่
         ง. ปริมาณของวัฒนธรรมที่เป็ นวัตถุมีพอเหมาะกับปริมาณของ
วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ

ประเพณี (อังกฤษ: tradition) เป็ นกิจกรรมที่มีการปฏิบัติสืบ


เนื่องกันมา เป็ นเอกลักษณ์และมีความสำคัญต่อสังคม เช่น การแต่ง
กาย ภาษา วัฒนธรรม ศาสนา ศิลปกรรม กฎหมาย คุณธรรม ความ
เชื่อ ฯลฯ อันเป็ นบ่อเกิดของวัฒนธรรมของสังคมเชื้อชาติต่างๆ กลาย
เป็ นประเพณีประจำชาติและถ่ายทอดกันมาโดยลำดับ หากประเพณี
นัน
้ ดีอยู่แล้วก็รักษาไว้เป็ นวัฒนธรรมประจำชาติ หากไม่ดีกแ
็ ก้ไข
เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเทศะ

ประเพณีล้วนได้รับอิทธิพลมาจากสิ่งแวดล้อมภายนอกที่เข้าสู่
สังคม รับเอาแบบปฏิบัติที่หลากหลายเข้ามาผสมผสานในการดำเนิน
ชีวิต ประเพณีจึงเรียกได้ว่าเป็ น วิถีแห่งการดำเนินชีวิตของสังคม โดย
เฉพาะศาสนาซึง่ มีอิทธิพลต่อประเพณีไทยมากที่สุด วัดวาอารามต่างๆ
ในประเทศไทยสะท้อนให้เห็นถึงอิทธิพลของพุทธศาสนาที่มีต่อสังคม
ไทย และชีใ้ ห้เห็นว่าชาวไทยให้ความสำคัญในการบำรุงพุทธศาสนา
ด้วยศิลปกรรมที่งดงามเพื่อใช้ในพิธีกรรมทางศาสนาตัง้ แต่โบราณกาล
เป็ นต้น
ความหมายของประเพณี

พระยาอนุมานราชธน ได้ให้ความหมายของคำว่าประเพณีไว้ว่า
ประเพณี คือ ความประพฤติที่ชนหมู่หนึ่งอยู่ในที่แห่งหนึ่งถือเป็ น
แบบแผนกันมาอย่างเดียวกัน และสืบต่อกันมานาน ถ้าใครในหมู่
[1]
ประพฤติออกนอกแบบก็ผิดประเพณี หรือผิดจารีตประเพณี 

คำว่าประเพณี ตามพจนานุกรมภาษาไทยฉบับบัณฑิตยสถาน ได้


กำหนดความหมายประเพณีไว้ว่า ขนบธรรมเนียมแบบแผน ซึ่ง
สามารถแยกคำต่างๆ ออกได้เป็ น ขนบ มีความหมายว่า ระเบียบแบบ
อย่าง ธรรมเนียมมีความหมายว่า ที่นิยมใช้กันมา และเมื่อนำมารวม
กันแล้วก็มีความหมายว่า ความประพฤติที่คนส่วนใหญ่ ยึดถือเป็ น
แบบแผน และได้ทำการปฏิบัติสืบต่อกันมา จนเป็ นต้นแบบที่จะให้คน
รุ่นต่อๆ ไปได้ประพฤติปฏิบัติตามกันต่อไป

โดยสรุปแล้ว ประเพณี หมายถึง ระเบียบแบบแผนที่กำหนด
พฤติกรรมในสถานการณ์ต่างๆ ที่คนในสังคมยึดถือปฏิบัติสืบกันมา ถ้า
คนใดในสังคมนัน
้ ๆฝ่ าฝื นมักถูกตำหนิจากสังคม ลักษณะประเพณีใน
สังคมระดับประเทศชาติ มีทงั ้ ประสมกลมกลืนเป็ นอย่างเดียวกัน และ
มีผิดแผกกันไปบ้างตามความนิยมเฉพาะท้องถิ่น แต่โดยมากย่อมมีจุด
ประสงค์ และวิธีการปฏิบัติเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน มีเฉพาะส่วนปลีก
ย่อยที่เสริมเติมแต่งหรือตัดทอนไปในแต่ละท้องถิ่น สำหรับประเพณี
ไทยมักมีความเกี่ยวข้องกับความเชื่อในคติพระพุทธศาสนาและ
พราหมณ์มาแต่โบราณ

You might also like