You are on page 1of 52

มคอ.

3
รายละเอียดของรายวิชา (Course Specification)

ประสาทกายวิภาคศาสตร์
(พศ.017)

สาขากายวิภาคศาสตร์
สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปี การศึกษา 2563
2

มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คณะ / ภาควิชา สาขากายวิภาคศาสตร์ สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก คณะแพทยศาสตร์

หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป
1. รหัสและชื่อรายวิชา
พศ.017 ประสาทกายวิภาคศาสตร์
MD 017 Neuroanatomy
2. จานวนหน่วยกิต หรือจานวนชั่วโมง
4 หน่วยกิต (3-2-7)
3. หลักสูตรและประเภทรายวิชา
หลักสูตร แพทยศาสตรบัณฑิต
ประเภทของรายวิชา วิชาที่คณะแพทยศาสตร์เปิ ดสอนให้แก่นกั ศึกษาต่างคณะหรือหลักสูตรอื่น ๆ

4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน

4.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา
1. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นัทวรรณ ศูนย์กลาง
2. อาจารย์ ดร.กานต์ แสงไพโรจน์

4.2 อาจารย์ผู้สอน
1. รองศาสตราจารย์ เกล็ดแก้ว ด่านวิวฒั น์
2. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ขจร ลักษณ์ชยปกรณ์
3. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. เดชา บูรณจิตรภิรมย์
4. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ชินวัฒน์ ธาราทรัพย์
5. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. นันทวรรณ ศูนย์กลาง
6. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ธนิศรา ทรงทวีสิน
7. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ณัฎฐกัญญา สุวรรณลิขิต
8. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ พญ.พรรัตน์ ระบิลทศพร
9. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อมรณัฏฐ์ ทับเปี ย
10. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ศภุ เกต แสนทวีสขุ
3

11. อาจารย์ ดร. วิริยา พันธ์ขาว


12. อาจารย์ ดร.น.สพ.ปธานิน จันทร์ตรี
13. อาจารย์ ดร.กานต์ แสงไพโรจน์

5. ภาคการศึกษา/ชั้นปี ทีเ่ รียน


ภาคการศึกษาที่ 2 ชัน้ ปี ท่ี 2
6. รายวิชาทีเ่ รียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี)
ไม่มี

7. รายวิชาทีต่ ้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี)


ไม่มี

8. สถานทีเ่ รียน
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

9. วันทีจ่ ัดทาหรือปรับปรุ งรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด


ธันวาคม 2563
4

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
เพื่อให้นกั ศึกษาทันตแพทย์มีความรู ค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบรวมของระบบประสาท
โครงสร้างและการทางานของไขสันหลัง ก้านสมอง สมองส่วนซีรีบรัม ซีรีเบลลัม เบซาลแกงเกลีย ทา-
ลามัส ไฮโพทาลามัส และระบบประสาทลิมบิก รวมทัง้ เส้นประสาทสมอง เส้นประสาทไขสันหลัง และ
หลอดเลือดที่มาเลีย้ งส่วนต่าง ๆ ของสมองและไขสันหลัง เยื่อหุม้ สมองและไขสันหลัง การสร้างและการ
ไหลเวี ยนของนา้ หล่อสมองและไขสันหลัง วิถีประสาทรับความรู ส้ ึก และวิถีประสาทสั่ง การในการ
ควบคุมการทางานของร่างกาย การทางานของระบบประสาทอิสระ รวมถึง ความผิดปกติ และพยาธิ
สภาพทางคลินิกที่เกิดกับระบบประสาท

2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุ งรายวิชา
ปรับปรุ งเนือ้ หาการเรียนการสอนให้เหมาะสมสาหรับนักศึกษาและสามารถนาความรูท้ ่ีได้ไป
ศึกษาเพิ่มเติมต่อได้
5

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ
1. คาอธิบายรายวิชา
รายวิชานีเ้ ป็ นการสอนบรรยายเกี่ยวกับองค์ประกอบรวมของระบบประสาท โดยเน้นให้รูจ้ ัก
โครงสร้างและการทางานของไขสันหลัง ก้านสมอง สมองส่วนซีรีบรัม สมองส่วนซีรีเบลลัม เบซาลแกง-
เกลีย ทาลามัส ไฮโพทาลามัส และระบบประสาทลิมบิก รวมทัง้ เส้นประสาทสมอง เส้นประสาทไขสัน-
หลัง และหลอดเลือดที่มาเลีย้ งส่วนต่าง ๆ ของสมองและไขสันหลัง เยื่อหุม้ สมองและไขสันหลัง การ
สร้างและการไหลเวียนของนา้ หล่อสมองและไขสันหลัง วิถีประสาทรับความรูส้ กึ และวิถีประสาทสั่งการ
ในการควบคุมการทางานของร่างกาย การทางานของระบบประสาทอิสระ รวมถึงความผิ ดปกติ และ
พยาธิ ส ภาพทางคลิ นิ ก ที่ เ กิ ด กับ ระบบประสาท ภาคปฏิ บัติจ ะศึก ษาจากสมองและชิ น้ ส่ว นสมอง
หุน่ จาลอง แผ่นภาพส่วนต่างๆ ของสมอง และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน
This course provides a broad overview of the structures and functions of the central
nervous system by means of a series of formal lectures with an attempt to introduce the
students to the normal structures and functions of the spinal cord, brainstem, cerebrum,
cerebellum, basal ganglia, thalamus, hypothalamus, and limbic system as well as cranial
nerves, spinal nerves and blood supplies to various brain parts, spinal cord, cranial and spinal
meninges, production and circulation of cerebrospinal fluid (CSF), sensory pathways, and
motor pathways which play their roles in controlling body movements. The function of
autonomic nervous system as well as abnormalities and clinical pathology of the nervous
system are included. The practical section is held by utilizing a variety of teaching formats,
including wet brains, brain models, brain atlases, and computer-assisted instructions.
2. จานวนชั่วโมงทีใ่ ช้ต่อภาคการศึกษา
1. บรรยาย 39 ชั่วโมง (38.62%)
2. ปฏิบตั ิการ 27 ชั่วโมง (26.73%)
3. Talk lab 5 ชั่วโมง (4.95%)
4. Formative evaluation 6 ชั่วโมง (5.94%)
5. Summative evaluation 6 ชั่วโมง (5.94%)
6. SDL 18 ชั่วโมง (17.82%)
รวม 101 ชั่วโมง
6

3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ทอี่ าจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็ น
รายบุคคล
กาหนดเวลาพบนักศึกษา ทุกวันพุธ เวลา 13.00 -14.00 น. (1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์) (เฉพาะ
นักศึกษาที่ตอ้ งการ และได้นดั หมายเวลาล่วงหน้า)

หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา

1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรมทีต่ ้องพัฒนา
- พัฒนาผูเ้ รียนให้มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ มีวินยั ตรงต่อเวลา และสามัคคีในหมูค่ ณะ
1.2 วิธีการสอน
- การเรียนภาคทฤษฎี
- การเรียนปฏิบตั กิ ารเป็ นกลุม่
1.3 วิธีการประเมินผล
- การสอบภาคทฤษฎี
- พฤติกรรมการเข้าเรียนปฏิบตั กิ าร
- ตอบคาถามหลังการเรียนปฏิบตั กิ ารได้อย่างถูกต้อง
- การแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้าในการเรียนปฏิบตั กิ ารได้อย่างเหมาะสม

2. ความรู้
2.1 ความรู้ทตี่ ้องได้รับ
เมื่อสิน้ สุดรายวิชานีแ้ ล้ว นักศึกษามีความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบรวมของระบบ
ประสาท โครงสร้างและการทางานของไขสันหลัง ก้านสมอง สมองส่วนซีรีบรัม ซีรีเบลลัม เบซาลแกง-
เกลีย ทาลามัส ไฮโพทาลามัส และระบบประสาทลิมบิก รวมทัง้ เส้นประสาทสมอง เส้นประสาทไขสัน -
หลัง และหลอดเลื อ ดที่ ม าเลี ย้ งส่ว นต่า ง ๆ ของสมองและไขสัน หลัง เยื่ อ หุ้ม สมองและไขสัน หลัง
การสร้างและการไหลเวียนของนา้ หล่อสมองและไขสันหลัง วิถีประสาทรับความรูส้ กึ และวิถีประสาทสั่ง
การในการควบคุมการทางานของร่างกาย การทางานของระบบประสาทอิสระ รวมถึงความผิดปกติ
และพยาธิสภาพทางคลินิกที่เกิดกับระบบประสาท
2.2 วิธีการสอน
- การเรียนบรรยาย
- การเรียนปฏิบตั กิ าร
7

2.3 วิธีการประเมินผล
1. ทฤษฎี ร้อยละ 70 : ข้อสอบโจทย์คาถามแบบ 4 ตัวเลือก
ทดสอบท้ายบท ร้อยละ 20
สอบปลายภาค ร้อยละ 50
2. ปฏิบตั กิ าร ร้อยละ 30 : ชีแ้ สดงตัวอย่างเนือ้ เยื่อและอวัยวะในระบบประสาท

3. ทักษะทางปั ญญา
3.1 ทักษะทางปั ญญาทีต่ ้องพัฒนา
- พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่าง
สร้างสรรค์
3.2 วิธีการสอน
- การสอนบรรยาย
- การเรียนปฏิบตั กิ ารเป็ นกลุม่
3.3 วิธีการประมวลผล
- ตอบคาถามระหว่างและหลังการเรียนปฏิบตั กิ ารได้อย่างถูกต้อง
- การแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้าระหว่างเรียนได้อย่างเหมาะสม

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบทีต่ ้องพัฒนา
- มีทกั ษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผูเ้ รียนด้วยกัน
- แสดงภาวะความเป็ นผูน้ าและผูต้ ามในการทางานเป็ นทีม
- รับผิดชอบในการงานที่ได้รบั มอบหมายให้สาเร็จและตรงตามเวลาที่กาหนด
4.2 วิธีการสอน
- การเรียนปฏิบตั กิ ารเป็ นกลุม่ มีการแลกเปลี่ยนความรูซ้ ่งึ กันและกันระหว่างสมาชิกภายในกลุม่
- มอบหมายให้ศกึ ษาค้นคว้าหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.3 วิธีการประเมินผล
- สังเกตพฤติกรรมการเรียน

5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์ตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้อง
พัฒนา
- ทักษะในการสื่อสารทัง้ การพูด การฟั ง การเขียน โดยการตอบข้อซักถามระหว่างเรียน
8

- ทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เนต เพื่อค้นคว้าหาข้อมูล
5.2 วิธีการสอน
- ซักถามนักศึกษา เพื่อให้ศกึ ษาด้วยตนเองทัง้ จาก web site และ จาก e-learning
5.3 วิธีการประเมินผล
- อาจารย์ทาการตรวจสอบความเข้าใจของนักศึกษา พร้อมทัง้ ให้คาแนะนาเพิ่มเติม
9

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
- เรียนบรรยาย : ห้อง 4429 อาคารคุณากร ชั้น 4 ห้อง 214 อาคารปิ ยชาติ
- เรียนปฏิบัตกิ าร: ห้องปฏิบัตกิ ารกายวิภาคศาสตร์ อาคารคุณากร ชั้น 9

วันที่ เวลา ชม. หัว้อ/รายละเอี


ข ยด ้สอน
ผู ้อง

พ. 20 ม.ค 64 8.30 – 9.30 1 Introduction to neuroanatomy ดร.กานต

9.30 – 11.30 2 Anatomy of head ผศ.อมรณัฏ์ฐ Online
11.30 – 12.00 0.5 Talk Lab
พฤ. 21 ม.ค 64 9.00 – 12.00 3 Lab 1: Anatomy of head ผศ.อมรณัฏ์ฐ
ผศ.ดร.กมลทิพ์ย Online
ผศ.ดร.สุมน
ผศ.ดร.ณัฏฐกัญญา

พ. 27 ม.ค 64 8.30 – 11.30 3 Spinal cord ผศ.ดร.ธนิศรา Online


11.30 – 12.00 0.5 Talk Lab
พฤ. 28 ม.ค 64 9.00 – 12.00 3 Lab 2: Spinal cord ผศ.ดร.ธนิศรา
ผศ.ดร.กมลทิพ์ย Online
ผศ.ดร.สุมน
ผศ.ดร.ณัฏฐกัญญา

พ. 3 ก.พ 64 8.30 – 11.30 3 Motor and sensory tracts รศ.เกล็ดแก


์ว Online
11.30 – 12.00 0.5 Talk Lab
พฤ. 4 ก.พ 64 9.00 – 12.00 3 Lab 3: Motor and sensory ผศ.ดร.ธนิศรา
tracts ผศ.อมรณัฏ์ฐ
ผศ.ดร.กมลทิพ์ย Online
ผศ.ดร.สุมน

พ. 10 ก.พ 64 8.30 – 11.30 3 Cerebrum, basal ganglia and รศ.เกล็ดแก


์ว
Online
cerebellum
11.30 – 12.00 0.5 Talk Lab
พฤ. 11 ก.พ 64 9.00 – 12.00 3 Lab 4: Cerebral cortex ผศ.ดร.กมลทิพ์ย
ผศ.ดร.สุมน Online
ดร.นสพ.ปธานิน
ดร.กานต

พ. 17 ก.พ 64 9.00 – 12.00 3 Spinal reflex and receptors ดร.กานต


์ Online
10

วันที่ เวลา ชม. หัว้อ/รายละเอี


ข ยด ้สอน
ผู ้อง

พฤ. 18 ก.พ 64 9.00 – 12.00 3 Lab 5: Basal ganglia and ผศ.ดร.กมลทิพ์ย


cerebellum ผศ.ดร.สุมน
Online
ผศ.พญ.พรรัต์น
ดร.กานต ์
พ. 24 ก.พ 64 9.00 – 12.00 3 ANS ดร.วิรยิ า Online
พฤ. 25 ก.พ 64 9.00 – 12.00 3 SDL
พ. 3 มี.ค 64 9.00 – 12.00 3 Formative examination I ผศ.ดร.นันทวรรณ Online
ดร.กานต

พฤ. 4 มี.ค 64 9.00 – 12.00 3 SDL
พ. 10 มี.ค 64 9.00 – 12.00 3 SDL
พฤ. 11 มี.ค 64 9.00 – 12.00 3 SDL
พ. 17 มี.ค 64 9.00 – 12.00 3 Midterm examination ผศ.ดร.นันทวรรณ, ดร.กานต
์ Online
Diencephalon and limbic
8.30 – 11.30 3
พ. 24 มี.ค 64 system รศ.เกล็ดแก
์ว Online
11.30 – 12.00 0.5
Talk lab
พฤ. 25 มี.ค 64 9.00 -12.00 3 Lab 6: Diencephalon and ผศ.ดร.กมลทิพ์ย Online
limbic system ผศ.ดร.สุมน
ผศ.พญ.พรรัต์น
ดร.นสพ.ปธานิน
พ. 31 มี.ค 64 8.30 – 11.30 3 Special senses รศ.เกล็ดแก
์ว
11.30 – 12.00 0.5 Talk lab Online
พฤ. 1 เม.ย 64 9.00 – 12.00 3 Lab 7: Special senses ผศ.ดร.เดชา
ผศ.ดร.กมลทิพ์ย
Online
ผศ.ดร.สุมน
ดร.วิรยิ า

พ. 7 เม.ย 64 8.30 – 11.30 3 Brainstem ผศ.ดร.นันทวรรณ


11.30 – 12.00 0.5 Talk Lab Online
พฤ. 8 เม.ย 64 9.00 – 12.00 3 Lab8: Brain stem ผศ.ดร.นันทวรรณ
ผศ.ดร.กมลทิพ์ย
Online
ผศ.ดร.สุมน
ผศ.ศุภเกต

พ. 14 เม.ย 64
พฤ. 15 เม.ย 64 หยุดเทศกาลสงกรานต
้ตามประกาศมหาวิทยาลัย
11

วันที่ เวลา ชม. หัว้อ/รายละเอี


ข ยด ้สอน
ผู ้อง

พ. 21 เม.ย 64 8.30 – 11.30 3 CN. V, VII and their nuclei ผศ.ศุภเกต Online
11.30 – 12.00 0.5 Talk Lab
พฤ. 22 เม.ย 64 8.30 – 11.30 3 CN. III, IV, VI, IX-XII and their ดร.วิรยิ า
11.30 – 12.00 0.5 nuclei Online
Talk Lab
พ. 28 เม.ย 64 9.00 – 12.00 3 Brainstem reflexes and reflexes ดร.กานต ์ Online
involving cranial nerves
พฤ. 29 เม.ย 64 9.00 – 12.00 3 Lab 9: Cranial nerves ผศ.ดร.กมลทิพ์ย
ผศ.ดร.สุมน Online
ผศ.ศุภเกต
ดร.วิรยิ า
8.30 -11.30 3 Meninges, blood circulation &
ventricular system ผศ.ดร.นันทวรรณ Online
พ. 5 พ.ค 64
11.30 – 12.00 0.5 Talk lab

พฤ. 6 พ.ค 64 9.00 – 12.00 3 Lab 10: Meninges, blood รศ.นพ.ขจร


supply of CNS & ventricular ผศ.ดร.นันทวรรณ
system ผศ.ดร.กมลทิพ์ย Online
ผศ.ดร.สุมน

พ. 12 พ.ค 64 9.00 – 12.00 3 Formative evaluation II ผศ.ดร.นันทวรรณ, Online


ดร.กานต

พฤ. 13 พ.ค 64 9.00 – 12.00 3 SDL

พฤ. 20 พ.ค 64 9.00 – 12.00 3 Final examination ผศ.ดร.นันทวรรณ, ์องบรรยาย


ห ชั้น9
ดร.กานต

12

2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
รู ปแบบ
เนือ้ หาตามวัตถุประสงค์รายวิชา การเรียนรู้ นา้ หนัก (%)

1. บทนาประสาทกายวิภาค บรรยาย
8
2. กายวิภาคของศีรษะ บรรยาย/ปฏิบตั กิ าร
3. โครงสร้างและหน้าที่ของไขสันหลังและเส้นประสาทไขสันหลัง บรรยาย/ปฏิบตั กิ าร 7
4. ตัวรับความรูส้ กึ และรีเฟล็กซ์ท่ีเกี่ยวข้องกับไขสันหลัง บรรยาย 7
5. วิถีประสาทสั่งการและการรับความรูส้ กึ ทั่วไป บรรยาย/ปฏิบตั กิ าร 8
6. โครงสร้างและหน้าที่ของสมอง บรรยาย/ปฏิบตั กิ าร 8
7. ระบบประสาทอิสระ บรรยาย 7
8. โครงสร้างและหน้าที่ของเส้นประสาทสมอง บรรยาย/ปฏิบตั กิ าร 16
9. ระบบ Diencephalon และ limbic บรรยาย/ปฏิบตั กิ าร 7
10. วิถีประสาทการรับความรูส้ กึ พิเศษ บรรยาย/ปฏิบตั กิ าร 8
11. โครงสร้างและหน้าที่ของก้านสมอง บรรยาย/ปฏิบตั กิ าร 8
12. รีเฟล็กซ์ท่ีเกี่ยวข้องกับก้านสมองและเส้นประสาทสมอง บรรยาย 8
13. หลอดเลือดที่เลีย้ งสมอง
บรรยาย/ปฏิบตั กิ าร 8
14. การสร้างและการไหลเวียนของนา้ หล่อสมองไขสันหลัง
รวม 100
13

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

1. เอกสารตาราหลัก
1. เกล็ดแก้ว ด่านวิวฒั น์. ประสาทกายวิภาคศาสตร์พืน้ ฐาน กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2546
2. ผาสุก (บุญซื่อ) มหรรฆานุเคราะห์. ประสาทกายวิภาคศาสตร์พืน้ ฐาน. พิมพ์ครัง้ ที่ 2.
กรุงเทพมหานคร: พี บี ฟอเรน บุ๊คส์ เซนเตอร์, 2543.
3. Haines DE. Fundamental neuroscience. 3rd ed. Philadelphia: Churchill Livingstone;
2006.
4. Mtui E, Gruener G, Dockery P, Fitzgerald MJT. Fitzgerald's clinical neuroanatomy
and neuroscience. 7th ed. Philadelphia, PA: Elsevier; 2017.
5. Kiernam JA. Barr’s the human nervous system: an anatomical viewpoint. 7th ed. India:
Lippincott-Raven publishers, 1998.
6. Snell RS. Clinical neuroanatomy. 7th ed. Philadelphia: Wolters Kluwer
Health/Lippincott Williams & Wilkins; 2010.
7. Haines DE. Neuroanatomy in clinical context: an atlas of structures, sections,
systems, and syndromes. 9th ed. Philadelphia: Wolters Kluwer Health; 2015.
8. Waxman SG. Correlative neuroanatomy. 24th ed. USA: McGraw – Hill, 2000.
2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ
- เอกสารประกอบการสอน
- คูม่ ือปฏิบตั ิการ
3.เอกสารและข้อมูลแนะนา
- ไม่มี
14

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุ งการดาเนินการของรายวิชา

1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
- การสนทนากลุม่ ระหว่างอาจารย์กบั นักศึกษา
- แบบประเมินรายวิชา
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
- ผลการสอบ
- การวิเคราะห์ขอ้ สอบ
- การวิเคราะห์ผลแบบประเมินผูส้ อนและแบบประเมินรายวิชา
3. การปรับปรุ งการสอน
- ประชุมการจัดการเรียนการสอน เพื่อร่วมกันหาแนวทางหรือวางแผนการปรับปรุงพัฒนารายวิชา
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
- มีคณะกรรมการในสาขาวิชาและคณะกรรมการตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรูข้ องนักศึกษา
5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุ งประสิทธิผลของรายวิชา
- ปรับปรุงประมวลรายวิชาทุกปี ตามผลการประชุมการเรียนการสอน
15
16

เรื่อง Introduction to Neuroanatomy เวลา 1 ชั่วโมง


อาจารย์ผู้สอน อ. ดร.กานต์ แสงไพโรจน์
ผู้เรียน นักศึกษาคณะทันตแพทย์ศาสตร์ ชัน้ ปี ท่ี 2
วัตถุประสงค์ นักศึกษาสามารถ
1. ทราบขอบเขตของเนือ้ หาวิชาประสาทกายวิภาคศาสตร์และหลักเกณฑ์การประเมินผล
2. อธิบายหน้าที่โดยรวมของระบบประสาทได้
3. อธิบายชนิดของระบบประสาทและส่วนประกอบที่สาคัญ
4. ใช้คาศัพท์ทางประสาทกายวิภาคศาสตร์อธิบายตาแหน่งและทิศทางได้
5. ทราบข้อควรปฏิบตั เิ พื่อความปลอดภัยในการเรียนปฏิบตั กิ ารประสาทกายวิภาคศาสตร์
เนือ้ หาวิชา
1. ขอบเขตของเนือ้ หาวิชาประสาทกายวิภาคศาสตร์และหลักเกณฑ์การประเมินผล
2. หน้าที่โดยรวมของระบบประสาท
3. ส่วนต่างๆของระบบประสาท
4. คาศัพท์ทางประสาทกายวิภาคศาสตร์ท่ีใช้ในการอธิบายตาแหน่งและทิศทาง
5. ข้อควรปฏิบตั เิ พื่อความปลอดภัยในการเรียนปฏิบตั ิการประสาทกายวิภาคศาสตร์
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. แนะนาวิชาและเข้าสู่บทเรียน 15 นาที
2. บรรยาย 35 นาที
3. สรุป 10 นาที
สื่อการสอน
Powerpoint presentation
การประเมินผล
1. ภาคทฤษฎี ข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือก
2. Formative examination สาหรับวัตถุประสงค์เรื่องข้อควรปฏิบตั เิ พื่อความปลอดภัยใน
การเรียนปฏิบตั กิ ารประสาทกายวิภาคศาสตร์
หนังสืออ้างอิง
1. Young PA, Young PH, Tolbert DL. Basic clinical neuroscience. 3rd ed.
Philadelphia: Wolters Kluwer; 2015
2. Snell; Richard S. Clinical Neuroanatomy, 7th ed. Lippincott Williams & Wilkins,
2010.
17

เรื่อง Anatomy of Head เวลา 2 ชั่วโมง


ผู้สอน ผศ.อมรณัฏฐ์ ทับเปี ย
ผู้เรียน นักศึกษาทันตแพทย์ ชัน้ ปี ท่ี 2
วัตถุประสงค์ เมื่อสิน้ สุดการเรียนการสอนนักศึกษาสามารถ
1. บอกชื่อกระดูกที่ประกอบเป็ นศีรษะและความสาคัญทางคลินิกได้
2. บอกชัน้ ต่างๆ ของหนังศีรษะและความสาคัญทางคลินิกได้
3. บอกโครงสร้างของโพรงกะโหลกศีรษะ รูตา่ งๆ ของโพรงกะโหลกศีรษะและ
โครงสร้างที่ผา่ นได้
4. บอกความสัมพันธ์ของโครงสร้างภายในโพรงกะโหลกศีรษะกับกะโหลกศีรษะได้

เนือ้ หา 1. กระดูกกะโหลกศีรษะ
2. โพรงกะโหลกศีรษะ
3. รูภายในโพรงกะโหลกศีรษะและโครงสร้างที่ผา่ น
4. การประยุกต์ใช้ทางคลินิก
ประสบการณ์การเรียนรู้
1. นาเข้าสู่บทเรียน 5 นาที
2. บรรยายประกอบ Power point presentation 85 นาที
3. ซักถามและอภิปราย 20 นาที
4. สรุป 10 นาที
สื่อการสอน
1. เอกสารประกอบการสอน
2. Power point presentation
การประเมินผล
ภาคทฤษฎี ข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือก
18

เรื่อง Spinal cord เวลา 3 ชั่วโมง


อาจารย์ผู้สอน ผศ. ดร.ธนิศรา ทรงทวีสิน
ผู้เรียน นักศึกษาคณะทันตแพทย์ศาสตร์ ชัน้ ปี ท่ี 2
วัตถุประสงค์ นักศึกษาสามารถอธิบาย
1. โครงสร้างของไขสันหลัง
2. เส้นประสาทไขสันหลัง
3. หลอดเลือดเลีย้ งไขสันหลัง
4. นาความรูไ้ ปประยุกต์ใช้ในทางแพทย์
เนือ้ หาวิชา
1. ลักษณะทางกายวิภาคศาสตร์ของไขสันหลัง
2. ลักษณะภายนอกและภายในของไขสันหลัง
3. เส้นประสาทไขสันหลัง (Dermatome, Myotome)
4. หลอดเลือดเลีย้ งไขสันหลัง
5. ความผิดปกติของไขสันหลัง
การจัดประสบการณ์เรียนรู้
1. แนะนาเข้าสูบ่ ทเรียน 15 นาที
2. ทบทวนกระดูกสันหลัง 10 นาที
3. บรรยาย 120 นาที
4. พัก 10 นาที
5. สรุปและตอบปัญหา 25 นาที
สื่อการสอน
1. Power point presentation
2. Clip VDO ตัวอย่างผูป้ ่ วย
การประเมินผล ข้อสอบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก
หนังสืออ้างอิง
1. Young PA, Young PH. Basic clinical neuroanatomy. 1st ed Baltimore: Williams & Wilkins,
1997
2. Richard S. Snell, M.D., Ph.D. Clinical Neuroanatomy for medical students. 5th ed.
Lippincott Williams and Wilkins, 2001
3. Michael Rubin and Joseph E. Safdieh. Netter’s Concise Neuroanatomy. Saunders
Elsevier. www.elsevierhealth.com.
19

เรื่อง การรับความรู้สึกทั่วไปและการควบคุมการทางานของกล้ามเนือ้ เวลา 3 ชั่วโมง


อาจารย์ผู้สอน รศ. เกล็ดแก้ว ด่านวิวฒ ั น์
ผู้เรียน นักศึกษาคณะทันตแพทยศาสตร์ ชัน้ ปี ท่ี 2
วัตถุประสงค์ นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายโครงสร้างของไขสันหลังและสมองที่เกี่ยวกับการรับความรูส้ กึ ทั่วไปและการควบคุม
การทางานของกล้ามเนือ้
2. อธิบายสัญญาณประสาทเกี่ยวกับการรับความรูส้ กึ ทั่วไปและการควบคุมการทางานของ
กล้ามเนือ้
3. อธิบายความสาคัญทางคลินิกที่เกี่ยวกับการรับความรูส้ กึ ทั่วไป การควบคุมการทางานของ
กล้ามเนือ้
เนือ้ หาวิชา
1. การรับความรูส้ ึกทั่วไป : ลักษณะ สัญญาณประสาทและความสาคัญทางคลินิก
2. การควบคุมการทางานของกล้ามเนือ้ : ลักษณะ สัญญาณประสาทและความสาคัญทาง
คลินิก
การจัดประสบการณ์เรียนรู้
1. แนะนาเข้าสู่บทเรียน 10 นาที
2. บรรยาย 130 นาที
3. แบบฝึ กหัด 30 นาที
4. สรุป 10 นาที
สื่อการสอน
1. เอกสารประกอบการบรรยาย ไฟล์ PDF ชนิด word
2. เอกสารประกอบการบรรยาย ไฟล์ PDF ชนิด powerpoint
3. แบบฝึ กหัด ไฟล์ PDF ชนิด powerpoint
4. VDO
การประเมินผล สอบภาคทฤษฎีใช้คาถามชนิด 4 ตัวเลือก
20

เรื่อง Cerebrum, basal ganglia and cerebellum เวลา 3 ชั่วโมง


อาจารย์ผู้สอน รศ. เกล็ดแก้ว ด่านวิวฒ ั น์
ผู้เรียน นักศึกษาคณะทันตแพทยศาสตร์ ชัน้ ปี ท่ี 2
วัตถุประสงค์ นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายลักษณะ ตาแหน่งและหน้าที่ของสมองใหญ่
(cerebrum)
2. อธิบายลักษณะ ตาแหน่งและหน้าที่ของ basal ganglia
3. อธิบายลักษณะ ตาแหน่งและหน้าที่ของ cerebellum
4. อธิบายความสาคัญทางคลินิกที่เกี่ยวกับ cerebrum, basal ganglia และ
cerebellum
เนือ้ หาวิชา
1. สมองใหญ่ (cerebrum)
ลักษณะภายนอกและภายใน เช่น ร่อง (fissure), กลีบ (lobe) และการแบ่งชัน้
หน้าที่ของแต่ละบริเวณและความสาคัญทางคลินิก
2. Basal ganglia
ลักษณะและตาแหน่งของ caudate nucleus, globus pallidus และ putamen
หน้าที่และความสาคัญทางคลินิก
3. สมองน้อย (cerebellum)
ลักษณะ ตาแหน่ง หน้าที่ของสมองน้อยและความสาคัญทางคลินิก
การจัดประสบการณ์เรียนรู้
1. แนะนาเข้าสู่บทเรียน 10 นาที
2. บรรยาย 130 นาที
3. แบบฝึ กหัด 30 นาที
4. สรุป 10 นาที
สื่อการสอน
1. เอกสารประกอบการบรรยาย ไฟล์ PDF ชนิด word
2. เอกสารประกอบการบรรยาย ไฟล์ PDF ชนิด powerpoint
3. แบบฝึ กหัด ไฟล์ PDF ชนิด powerpoint
4. VDO
การประเมินผล สอบภาคทฤษฎีใช้คาถามชนิด 4 ตัวเลือก
21

เรื่อง Spinal reflexes and receptors เวลา 3 ชั่วโมง


อาจารย์ผู้สอน อ. ดร.กานต์ แสงไพโรจน์
ผู้เรียน นักศึกษาคณะทันตแพทยศาสตร์ ชัน้ ปี ท่ี 2
วัตถุประสงค์ นักศึกษาสามารถเข้าใจและอธิบาย
1. ชนิดและหน้าที่ของ sensory receptors
2. ชนิดและกลไกของ spinal reflexes
3. ความสาคัญและการนาไปใช้ทางคลินิก
เนือ้ หา
1. Sensory receptor ประเภทต่างๆ
2. หลักการของ spinal reflex
3. ประเภทและกลไกของ spinal reflex
- Myotactic reflex
- Inverse myotactic reflex
- Flexor reflex
- Crossed extensor reflex
- Visceral reflex
- Superficial reflex
4. การนาไปใช้ทางคลินิก
การจัดประสบการณ์เรียนรู้
1. แนะนาเข้าสูบ่ ทเรียน 10 นาที
2. บรรยาย 160 นาที
3. สรุปและตอบปัญหา 10 นาที
สื่อการสอน
1. Power point presentation
2. เอกสารประกอบการสอน
การประเมินผล ข้อสอบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก
หนังสืออ้างอิง
1. Young PA, Young PH, Tolbert DL. Basic clinical neuroscience. 3rd ed. Philadelphia:
Wolters Kluwer; 2015.
2. Haines DE. Fundamental neuroscience. 3rd ed. Philadelphia: Churchill Livingstone; 2006.
22

เรื่อง Autonomic nervous system (ANS) เวลา 3 ชั่วโมง


อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ดร.วิริยา พันธ์ขาว
ผู้เรียน นักศึกษาคณะทันตแพทยศาสตร์ ชัน้ ปี ท่ี 2
วัตถุประสงค์ เมื่อสิน้ สุดการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถ
1. จาแนกส่วนประกอบของ autonomic nervous system (ANS)
2. อธิบายตาแหน่งและลักษณะของแต่ละส่วนประกอบใน ANS ได้
3. อธิบายลักษณะทางกายวิภาคศาสตร์ของ autonomic innervation ในอวัยวะที่
สาคัญได้
4. อธิบายภาวะผิดปกติทางคลินิกที่สมั พันธ์กบั ANS ได้
เนือ้ หา
1. ส่วนประกอบของ ANS
2. ตาแหน่งและลักษณะของแต่ละส่วนประกอบใน ANS
3. Regional autonomic innervation
4. Clinical correlation
ประสบการณ์การเรียนรู้
1. แนะนาเข้าสูบ่ ทเรียน 15 นาที
2. บรรยาย 150 นาที
3. สรุปและตอบปัญหา 15 นาที
สื่อการสอน
1. PowerPoint presentation
การประเมินผล
ภาคทฤษฎี - ข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือก
หนังสืออ้างอิง
1. Young PA., Young PH. Basic clinical neuroanatomy. 1st ed, Baltimore: Williams and
Wilkins, 1997
2. Richard S Snell. Clinical Neuroanatomy for medical students. 5th ed. Lippincott Williams
and Wilkins, 2001
3. William DeMyer. The National Medical Series for Independent Study. 2nd ed.
Neuroanatomy. Williams and Wilkins A Waverly company, 1998
23

เรื่อง Diencephalon and limbic system เวลา 3 ชั่วโมง


อาจารย์ผู้สอน รศ. เกล็ดแก้ว ด่านวิวฒ ั น์
ผู้เรียน นักศึกษาคณะทันตแพทยศาสตร์ ชัน้ ปี ท่ี 2
วัตถุประสงค์ นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายลักษณะ ตาแหน่งและหน้าที่ของ diencephalon
2. อธิบายลักษณะ ตาแหน่งและหน้าที่ของระบบลิมบิก (limbic system)
3. อธิบายความสาคัญทางคลินิกที่เกี่ยวกับ diencephalon และ limbic system
เนือ้ หาวิชา
1. Diencephalon
ลักษณะและตาแหน่งของ thalamus, hypothalamus, subthalamus และ
epithalamus รวมทัง้ หน้าที่และความสาคัญทางคลินิก
2. Limbic system
ลักษณะ ตาแหน่งและหน้าที่ของ limbic system ได้แก่ hippocampal formation,
limbic lobe และ olfactory system รวมทัง้ Papez circuit และความสาคัญทาง
คลินิก
การจัดประสบการณ์เรียนรู้
1. แนะนาเข้าสูบ่ ทเรียน 10 นาที
2. บรรยาย 130 นาที
3. แบบฝึ กหัด 30 นาที
4. สรุป 10 นาที
สื่อการสอน
1. เอกสารประกอบการบรรยาย ไฟล์ PDF ชนิด word
2. เอกสารประกอบการบรรยาย ไฟล์ PDF ชนิด powerpoint
3. แบบฝึ กหัด ไฟล์ PDF ชนิด powerpoint
4. VDO
การประเมินผล สอบภาคทฤษฎีใช้คาถามชนิด 4 ตัวเลือก
24

เรื่อง การรับความรู้สึกพิเศษ เวลา 3 ชั่วโมง


อาจารย์ผู้สอน รศ. เกล็ดแก้ว ด่านวิวฒ ั น์
ผู้เรียน นักศึกษาคณะทันตแพทยศาสตร์ ชัน้ ปี ท่ี 2
วัตถุประสงค์ นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายโครงสร้างเกี่ยวกับระบบการเห็น การได้ยินและการทรงตัว
2. อธิบายสัญญาณประสาทที่เกี่ยวกับการเห็น การได้ยินและการทรงตัว
3. อธิบายความสาคัญทางคลินิกที่เกี่ยวกับการรับความรูส้ กึ พิเศษ
เนือ้ หาวิชา
1. ระบบการเห็น : ลักษณะ สัญญาณประสาทและความสาคัญทางคลินิก
2. การได้ยิน : ลักษณะ สัญญาณประสาทและความสาคัญทางคลินิก
3. การทรงตัว : ลักษณะ สัญญาณประสาทและความสาคัญทางคลินิก
การจัดประสบการณ์เรียนรู้
1. แนะนาเข้าสูบ่ ทเรียน 10 นาที
2. บรรยาย 130 นาที
3. แบบฝึ กหัด 30 นาที
4. สรุป 10 นาที
สื่อการสอน
1. เอกสารประกอบการบรรยาย ไฟล์ PDF ชนิด word
2. เอกสารประกอบการบรรยาย ไฟล์ PDF ชนิด powerpoint
3. แบบฝึ กหัด ไฟล์ PDF ชนิด powerpoint
4. VDO
การประเมินผล สอบภาคทฤษฎีใช้คาถามชนิด 4 ตัวเลือก
25

เรื่อง Brainstem เวลา 3 ชั่วโมง


อาจารย์ผู้สอน ผศ. ดร.นันทวรรณ ศูนย์กลาง
ผู้เรียน นักศึกษาคณะทันตแพทยศาสตร์ ชัน้ ปี ท่ี 2
วัตถุประสงค์ นักศึกษาสามารถอธิบายหัวข้อต่อไปนี ้
1. อธิบายโครงสร้างและองค์ประกอบภายนอกและภายในของ brainstem ได้
2. บอกตาแหน่งของ nucleus และทางเดินของเส้นประสาทที่สาคัญในระดับ
brainstem ได้
3. อธิบายความสัมพันธ์ของโครงสร้างภายนอกและภายในของ brainstem ได้
4. อธิบายความสาคัญทางคลินิกที่เกี่ยวข้องกับ brainstem ได้
เนือ้ หา
1. Brainstem
2. External morphology : Mid brain, Pons, Medulla
3. Internal morphology : nuclei and tracts
4. Clinical correlation of the brainstem
ประสบการณ์เรียนรู้
1. แนะนาเข้าสูบ่ ทเรียน 15 นาที
2. บรรยาย 150 นาที
3. สรุปและตอบปัญหา 15 นาที
สื่อการสอน
1. Powerpoint presentation
2. เอกสารประกอบการสอนเรื่อง Brain stem
การประเมินผล
ภาคทฤษฏี ข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือก
หนังสืออ้างอิง
3. Doyon D, Marsot-Dupuch K, Francke J-P. The cranial nerves. 1st ed. Printcrafters, Inc.,
2004.
4. Young PA., Young PH. Basic clinical neuroanatomy. 2nd ed. Baltimore: Williams and
Wilkins., 2007.
5. Snell; Richard S. Clinical Neuroanatomy, 7th ed. Lippincott Williams & Wilkins, 2010.
6. Duane E. Haines. Neuroanatomy: An Atlas of Structures, Sections, and Systems. 7th ed.
Lippincott Williams & Wilkins ., 2004.
26

เรื่อง CN V, VII and their nuclei เวลา 3 ชั่วโมง


อาจารย์ผู้สอน ผศ.ศุภเกต แสนทวีสขุ
ผู้เรียน นักศึกษาคณะทันตแพทยศาสตร์ ชัน้ ปี ท่ี 2
วัตถุประสงค์ นักศึกษาสามารถอธิบายหัวข้อต่อไปนี ้
1. ระบุตาแหน่งของเส้นประสาทสมอง nucleus และทางเดินของเส้นประสาทสมองคู่
ที่ 5, 7
2. อธิบายหน้าที่ของเส้นประสาทสมองคูท่ ่ี 5, 7
เนือ้ หา
1. Location of CN V, VII
2. Location of nuclei and tracts of CN V, VII
3. Pathways of CN V, VII
4. Function of CN V, VII
การจัดประสบการณ์เรียนรู้
1. แนะนาเข้าสูบ่ ทเรียน 15 นาที
2. บรรยาย 150 นาที
3. สรุปและตอบปัญหา 15 นาที
สื่อการสอน
1. Powerpoint presentation
2. เอกสารประกอบการสอนเรื่อง cranial nerves
การประเมินผล ข้อสอบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก
27

เรื่อง CN III, IV, VI, IX-XII and their nuclei เวลา 3 ชั่วโมง
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ดร.วิรยิ า พันธ์ขาว
ผู้เรียน นักศึกษาคณะทันตแพทยศาสตร์ ชัน้ ปี ท่ี 2
วัตถุประสงค์ นักศึกษาสามารถอธิบายหัวข้อต่อไปนี ้
1. อธิบายหน้าที่ของเส้นประสาทสมองคูท่ ่ี 3, 4, 6, 9-12
2. อธิบายการทดสอบเส้นประสาทสมองคูท่ ่ี 3, 4, 6, 9-12
3. สามารถบอกความผิดปกติท่ีเส้นประสาทคูท่ ่ี 3, 4, 6, 9-12 และตาแหน่งของ
ทางเดินประสาทนัน้
4. อธิบายความสาคัญทางคลินิกที่เกี่ยวข้องกับเส้นประสาทสมองคูท่ ่ี 3, 4, 6, 9-12
เนือ้ หา
1. Function of CN IX-XII
2. Clinical test of CN IX-XII
3. Clinical correlation of CN IX-XII
การจัดประสบการณ์เรียนรู้
1. แนะนาเข้าสูบ่ ทเรียน 15 นาที
2. บรรยาย 150 นาที
3. สรุปและตอบปัญหา 15 นาที
สื่อการสอน
1. Powerpoint presentation
2. เอกสารประกอบการสอนเรื่อง cranial nerves
การประเมินผล ข้อสอบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก
28

เรื่อง Brainstem reflexes and reflexes involving cranial nerves เวลา 3 ชั่วโมง
อาจารย์ผู้สอน อ. ดร.กานต์ แสงไพโรจน์
ผู้เรียน นักศึกษาคณะทันตแพทยศาสตร์ ชัน้ ปี ท่ี 2
วัตถุประสงค์ นักศึกษาสามารถเข้าใจและอธิบายเกี่ยวกับ
1. ชนิดและกลไกของ brainstem reflex และ cranial nerve reflex
2. ความสาคัญและการนาไปใช้ทางคลินิก
เนือ้ หา
1. Location and function of brainstem and cranial nerve reflexes
Midbrain:
•Pupillary light reflex
•Accommodation
Pons:
•Corneal reflex
•Jaw jerk reflex
•Eye movement reflex
•Acoustic reflex
Medulla:
•Swallowing & gag reflexes
•Sneeze & cough reflexes
2. Clinical correlation
การจัดประสบการณ์เรียนรู้
1. แนะนาเข้าสูบ่ ทเรียน 10 นาที
2. บรรยาย 160 นาที
3. สรุปและตอบปัญหา 10 นาที
สื่อการสอน
1. Power point
2. เอกสารประกอบการสอน
การประเมินผล ข้อสอบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก
หนังสืออ้างอิง
1. Young PA, Young PH, Tolbert DL. Basic clinical neuroscience. 3rd ed. Philadelphia:
Wolters Kluwer; 2015.
2. Haines DE. Fundamental neuroscience. Philadelphia: Churchill Livingstone; 2006.
29

เรื่อง Meninges, blood and Ventricular System เวลา 3 ชั่วโมง


อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร. นันทวรรณ ศูนย์กลาง
ผู้เรียน นักศึกษาคณะทันตแพทยศาสตร์ ชัน้ ปี ท่ี 2
วัตถุประสงค์ นักศึกษาสามารถ
1. บอกชัน้ ต่างๆ ของเยื่อหุม้ สมอง
2. บอกชื่อหลอดเลือดแดงและบริเวณของสมองและไขสันหลังที่เลีย้ ง
3. บอกชื่อหลอดเลือดดาและบริเวณของสมองและไขสันหลังที่เกี่ยวข้อง
4. อธิบายการไหลเวียนของหลอดเลือดแดงและดาของสมองและไขสันหลัง
5. บอกชื่อโพรงสมองและไขสันหลัง และอธิบายการไหลเวียนนา้ ไขสันหลัง
6. อธิบายพยาธิสภาพที่เกิดขึน้ เมื่อมีความผิดปกติของหลอดเลือดสมองและไขสัน
หลัง
เนือ้ หา
1. Meninges
2. Blood supply of central nervous system
- Cerebrum
- Cerebellum
- Brainstem
- Spinal cord
3. Ventricle, cerebrospinal fluid and its fate
4. Clinical correlation
การจัดประสบการณ์เรียนรู้
1. แนะนาเข้าสูบ่ ทเรียน 15 นาที
2. บรรยาย 150 นาที
3. สรุปและตอบปัญหา 15 นาที
สื่อการสอน
1. Powerpoint presentation
2. เอกสารประกอบการสอน
การประเมินผล ข้อสอบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก
30

หนังสืออ้างอิง
1. Doyon D, Marsot-Dupuch K, Francke J-P. The cranial nerves. 1st ed. Printcrafters, Inc.,
2004.
2. Young PA., Young PH. Basic clinical neuroanatomy. 2nd ed. Baltimore: Williams and
Wilkins., 2007.
3. Snell; Richard S. Clinical Neuroanatomy, 7th ed. Lippincott Williams & Wilkins, 2010.
4. Duane E. Haines. Neuroanatomy: An Atlas of Structures, Sections, and Systems. 7 th ed.
Lippincott Williams & Wilkins ., 2004.
31
32

แผนการสอนปฏิบัตกิ ารประสาทกายวิภาคศาสตร์ ครั้งที่ 1

เรื่อง Anatomy of head เวลา 3.5 ชั่วโมง


ผู้สอน คณาจารย์สาขากายวิภาคศาสตร์
ผู้เรียน นักศึกษาทันตแพทย์ ชัน้ ปี ท่ี 2
วัตถุประสงค์ เมื่อสิน้ สุดการเรียน นักศึกษาสามารถ
1. บอกชื่อและชีแ้ สดงส่วนต่างๆ ของกะโหลกศีรษะทัง้ ภายนอกและภายในได้
2. บอกชื่อและชีแ้ สดงรูตา่ งๆ ที่พบในกะโหลกศีรษะ และโครงสร้างที่ผา่ นได้
เนือ้ หา
1. ส่วนต่างๆ ของกระดูกที่ประกอบเป็ นกะโหลกศีรษะ
2. ส่วนต่างๆ ของกะโหลกศีรษะเมื่อมองจากด้านหน้า ด้านหลัง ด้านบน ด้านล่าง และด้านใน
ประสบการณ์การเรียนรู้
1. อธิบายปฏิบตั กิ าร 30 นาที
2. ศึกษากะโหลกศีรษะอาจารย์ใหญ่ 180 นาที
สื่อการสอน
1. คูม่ ือปฏิบตั ิการ
2. กะโหลกศีรษะ (dried skull)
การประเมินผล
1. ข้อสอบปฏิบตั กิ ารกายวิภาคศาสตร์
33

ปฏิบัตกิ ารครั้งที่ 1 เรื่อง Anatomy of head


1. Skull
1.1 Cranium
• Frontal bone • Occipital bone
• Parietal bone • Sphenoid bone
• Temporal bone • Ethmoid
1.2 Face
• Vomer • Palatine bone
• Maxillae • Lacrimal bone
• Mandible • Zygomatic bone
• Nasal bone • Inferior nasal conchae
2. Suture/Junction
• Coronal suture • Lambda
• Lambdoid suture • Asterion
• Sagittal suture • Pterion
• Bregma
3. Front view of the skull
• Frontal bone • Glabella
• Superciliary arches • Sagittal suture
• Coronal suture • Anterior nasal aperture
• Frontal eminence
4. The skull from behind
• External occipital protuberance • Mastoid process
• Superior nuchal line
5. The skull from the side
• External auditory meatus • Zygomatic arch
6. The exterior of the base of the skull (skull
ที่ไม่มี mandible) • Foramen lacerum
• Greater palatine foramen • Jugular foramen
• Lesser palatine foramen • Carotid canal
• Foramen magnum • Mandibular fossa
• Occipital condyle • Stylomastoid foramen
• External occipital crest • Foramen ovale
• Foramen spinosum
34

7. Anterior cranial fossa


• Orbital plate • Anterior clinoid process
• Cribriform plate • Crista galli
• Lesser wing of sphenoid bone • Foramen cecum
• Frontal crest
8. Middle cranial fossa
• Body of sphenoid bone • Foramen rotundum
• Greater wing of sphenoid bone • Foramen ovale
• Squamous and petrous part of • Foramen spinosum
temporal bone • Foramen lacerum
• Parietal bone • Carotid canal
• Optic canal • Trigeminal impression
• Superior orbital fissure
• Groove for greater petrosal nerve
• Chiasmatic (prechiasmatic) groove
• Sella turcica: tuberculum sellae,
hypophyseal fossa, dorsum sellae,
posterior clinoid process
9. Posterior cranial fossa
• Clivus • Internal occipital protuberance
• Occipital bone • Cerebellar fossa
• Foramen magnum • Groove for transverse sinus
• Hypoglossal canal • Groove for sigmoid sinus
• Jugular foramen • Groove for superior petrosal sinus
• Internal acoustic meatus • Groove for inferior petrosal sinus
• Internal occipital crest
35

แผนการสอนปฏิบัตกิ ารประสาทกายวิภาคศาสตร์ ครั้งที่ 2

เรื่อง Spinal cord เวลา 3.5 ชั่วโมง


ผู้สอน คณาจารย์สาขากายวิภาคศาสตร์
ผู้เรียน นักศึกษาคณะทันตแพทยศาสตร์ ชัน้ ปี ท่ี 2
วัตถุประสงค์ นักศึกษาสามารถอธิบายและชีแ้ สดง
1. ลักษณะภายนอกของไขสันหลัง
2. ลักษณะภายในของไขสันหลัง
3. เส้นประสาทไขสันหลัง
4. หลอดเลือดเลีย้ งไขสันหลัง
เนือ้ หา
1. ลักษณะภายนอกของไขสันหลัง
2. ลักษณะภายในของไขสันหลัง
3. เส้นประสาทไขสันหลัง
4. หลอดเลือดเลีย้ งไขสันหลัง
การจัดประสบการณ์เรียนรู้
1. อธิบายปฏิบตั กิ าร 30 นาที
2. ปฏิบตั ิการ 180 นาที
สื่อการสอน
1. หุน่ จาลอง
2. ไขสันหลังดองในนา้ ยา
การประเมินผล สอบภาคปฏิบตั ิ
36

ปฏิบัตกิ ารครั้งที่ 2 เรื่อง Spinal Cord


ผศ.ดร.ธนิศรา ทรงทวีสิน
External Morphology:
Study spinal cord and its coverings in gross specimens and model
1. Meninges
- Dura mater (outer layer)
- Arachnoid mater (middle layer)
- Pia mater (inner layer)
- Dentage ligament
- Filum terminale
2. Enlargement
- Cervical enlargement: extend between C4-T1
- Lumbar enlargement: extend between L2-S3
3. Conus Medullaris
4. Cauda equina
5. Sulcus and fissure
- Ventral median fissure - Dorsolateral sulcus
- Ventrolateral sulcus - Dorsal intermediate sulcus
- Dorsal median sulcus
6. Components of spinal nerve
- Ventral and Dorsal nerve root - Dorsal root ganglion
- Ventral and Dorsal rootlets
- Ventral and Dorsal nerve roots.
Internal Morphology (Cross Section)
Study: Charts
1. White column
- Anterior white column
Ascending tract: Ventral spinothalamic tract
Descending tract: Ventral corticospinal tract
37

- Lateral white column


Ascending tract: - Anterior & Posterior spinocerebellar tract
- Lateral spinothalamic tract
- Posterolateral or Lissauer’ tract
Descending tract: Lateral corticospinal tract
- Posterior white column
Ascending tract: - Fasciculus gracilis
- Fasciculus cuneatus
2. Gray column
- Anterior gray column
- Lateral gray column
- Posterior gray column: Substantia gelatinosa
- Central canal
3. Spinal cord segments
- Cervical segment
- Thoracic segment
- Lumbar segment
- Sacral segment
4.Blood supply
- Anterior spinal artery
- Posterior spinal artery
38

แผนการสอนปฏิบัตกิ ารประสาทกายวิภาคศาสตร์ ครั้งที่ 3

เรื่อง การรับความรูส้ ึกทั่วไป และการควบคุมการทางานของกล้ามเนือ้ เวลา 3.5 ชั่วโมง


อาจารย์ผู้สอน ศึกษาด้วยตนเองจาก VDO
ผู้เรียน นักศึกษาทันตแพทย์ ชัน้ ปี ท่ี 2
วัตถุประสงค์ นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายโครงสร้างของไขสันหลังและสมองที่เกี่ยวกับการรับความรูส้ กึ ทั่วไปและ
การควบคุมการทางานของกล้ามเนือ้
2. อธิบายสัญญาณประสาทเกี่ยวกับการรับความรูส้ กึ ทั่วไปและการควบคุมการ
ทางานของกล้ามเนือ้

เนือ้ หาวิชา 1. การรับความรูส้ กึ ทั่วไป : ลักษณะ สัญญาณประสาท


2. การควบคุมการทางานของกล้ามเนือ้ : ลักษณะ สัญญาณประสาท

การจัดประสบการณ์เรียนรู้
1. อธิบายปฏิบตั ิการ 30 นาที
2. ปฏิบตั ิการ 180 นาที
สื่อการสอน
1. VDO
2. ไฟล์ PDF ชนิด powerpoint
การประเมินผล ข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือก
39

ปฏิบัตกิ ารครั้งที่ 3 เรื่อง Motor and sensory tract


รศ. เกล็ดแก้ว ด่านวิวัฒน์
1. Tract (material : model & chart)
Ascending tracts : Sensory
1.1 Fasciculus gracilis : proprioception (spinal cord)
1.2 Fasciculus cuneatus : proprioception (spinal cord)
1.3 Nucleus gracilis : proprioception (medulla)
1.4 Nucleus cuneatus : proprioception (medulla)
1.5 Lateral spinothalamic tract : pain (spinal cord)
1.6 Postcentral gyrus : parietal lobe (Brodmann’s area 3,1,2)
Descending tract : Motor
2.1 Lateral corticospinal tract
Precentral gyrus : frontal lobe (Brodmann’s area 4)
Corona radiata
Internal capsule
Cerebral peduncle : midbrain
Pyramid : medulla
40

แผนการสอนปฏิบัตกิ ารประสาทกายวิภาคศาสตร์ ครั้งที่ 4

เรื่อง Cerebrum เวลา 3.5 ชั่วโมง


อาจารย์ผู้สอน ศึกษาด้วยตนเองจาก VDO
ผู้เรียน นักศึกษาทันตแพทย์ ชัน้ ปี ท่ี 2
วัตถุประสงค์ นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายลักษณะ ตาแหน่งและหน้าที่ของ cerebrum
เนือ้ หาวิชา ลักษณะ ตาแหน่งและหน้าที่ของ cerebrum

การจัดประสบการณ์เรียนรู้
1. อธิบายปฏิบตั กิ าร 30 นาที
2. ปฏิบตั ิการ 180 นาที
สื่อการสอน
1. VDO
2. ไฟล์ PDF ชนิด powerpoint
การประเมินผล ข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือก

ปฏิบัตกิ ารครั้งที่ 4 เรื่อง Cerebrum


รศ. เกล็ดแก้ว ด่านวิวัฒน์
41

1. Cerebrum (material : model & whole brain) มีบริเวณที่สาคัญได้แก่


1. Broca’s area อยูท่ ่ี inferior frontal gyrus ทาหน้าที่ควบคุมการพูด
2. Wernicke’s area อยูท่ ่ี superior temporal gyrus ทาหน้าที่แปลผลของเสียงและการเข้าใจ
ภาษา
3. Insular lobe ทาหน้าที่รบั รส
4. Prefrontal cortex ทาหน้าที่เกี่ยวกับความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
5. Corpus callosum แบ่งเป็ น rostrum (อยู่ดา้ นหน้า), genu, body และ splenium
6. Occipital lobe ทาหน้าที่เห็นภาพ
7. Parietal lobe ทาหน้าที่รบั ความรูส้ กึ ทั่วไป
42

แผนการสอนปฏิบัตกิ ารประสาทกายวิภาคศาสตร์ ครั้งที่ 5

เรื่อง Basal ganglia and cerebellum เวลา 3.5 ชั่วโมง


อาจารย์ผู้สอน ศึกษาด้วยตนเองจาก VDO
ผู้เรียน นักศึกษาทันตแพทย์ ชัน้ ปี ท่ี 2
วัตถุประสงค์ นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายลักษณะ ตาแหน่งและหน้าที่ของ basal ganglia
2. อธิบายลักษณะ ตาแหน่งและหน้าที่ของ cerebellum
เนือ้ หาวิชา ลักษณะ ตาแหน่งและหน้าที่ของ basal ganglia และ cerebellum
การจัดประสบการณ์เรียนรู้
1. อธิบายปฏิบตั กิ าร 30 นาที
2. ปฏิบตั กิ าร 180 นาที
สื่อการสอน
1. VDO
2. ไฟล์ PDF ชนิด powerpoint
การประเมินผล ข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือก
43

ปฏิบัตกิ ารครั้งที่ 5 เรื่อง basal ganglia and cerebellum


รศ. เกล็ดแก้ว ด่านวิวัฒน์

1. Basal ganglia (material : model) ได้แก่ caudate nucleus, putamen, globus pallidus และ
substantia nigra
2. Cerebellum (material : model & chart)
1. Flocculonodular lobe, anterior lobe และ posterior lobe
2. Deep cerebellar nucleus : dentate nucleus
3. Peduncle (superior, middle และ inferior cerebellar peduncle)
44

แผนการสอนปฏิบัตกิ ารประสาทกายวิภาคศาสตร์ ครั้งที่ 6

เรื่อง Diencephalon and limbic system เวลา 3.5 ชั่วโมง


อาจารย์ผู้สอน ศึกษาด้วยตนเองจาก VDO
ผู้เรียน นักศึกษาทันตแพทย์ ชัน้ ปี ท่ี 2
วัตถุประสงค์ นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายลักษณะ ตาแหน่งและหน้าที่ของ diencephalon
2. อธิบายลักษณะ ตาแหน่งและหน้าที่ของระบบลิมบิก
(limbic system)
3. อธิบายความสาคัญทางคลินิกที่เกี่ยวกับ diencephalon
และ limbic system
เนือ้ หาวิชา
1. Diencephalon
ลักษณะ ตาแหน่งและหน้าที่ของ thalamus, hypothalamus, subthalamus และ
epithalamus
2. Limbic system
ลักษณะ ตาแหน่งและหน้าที่ของ limbic system ได้แก่ hippocampal formation,
limbic
lobe และ olfactory system รวมทัง้ Papez circuit
การจัดประสบการณ์เรียนรู้
1. อธิบายปฏิบตั กิ าร 30 นาที
2. ปฏิบตั กิ าร 180 นาที
สื่อการสอน
1. VDO
2. ไฟล์ PDF ชนิด powerpoint
การประเมินผล ข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือก
45

ปฏิบัตกิ ารครั้งที่ 6 เรื่อง Diencephalon and limbic system


รศ. เกล็ดแก้ว ด่านวิวัฒน์

1. Diencephalon ประกอบด้วย epithalamus, thalamus, hypothalamus และ subthalamus


Epithalamus ได้แก่ pineal gland ทาหน้าที่สร้าง melatonin เพื่อควบคุมการหลั่ง gonadotropin
Thalamus ได้แก่ medial และ lateral geniculate body
Hypothalamus มีโครงสร้างสาคัญ เช่น mamillary body
Subthalamus อยู่ดา้ น ventral ของ thalamus และด้าน posterolateral ต่อ hypothalamus
ประกอบด้วยกลุม่ เซลล์ประสาทและเส้นประสาทที่ควบคุมกระแสประสาทของ basal ganglia
2. Limbic system คือโครงสร้างที่ตอ่ เป็ นวงอยูท่ ่ีผนังด้านในของ cerebrum มีโครงสร้างสาคัญคือ
1. Limbic lobe ประกอบด้วย subcallosal gyrus, cingulate gyrus, parahippocampal
gyrus และ isthmus
2. Hippocampal formation เป็ นส่วนที่ primitive กว่าส่วนแรกเรียกว่า archicortex
ประกอบด้วย dentate gyrus, hippocampus และ subiculum
3. Fornix เป็ นเส้นประสาทที่มีเซลล์ประสาทต้นกาเนิดจาก hippocampus ไปสิน้ สุดที่ septal
area และ mamillary body แบ่งเป็ นส่วนต่างๆ คือ alveus, fimbria, crus, body และ
column
4. Amygdala เป็ นกลุม่ เซลล์ประสาทอยูภ่ ายใน uncus
หน้าที่ เกี่ยวกับความจา อารมณ์และควบคุมความรูส้ ึกทางเพศ

Material
1. Coronal section of brain
2. Horizontal section of brain
3. Sagittal section of brain
4. Model
5. Whole brain
6. Half brain
7. Chart
46

แผนการสอนปฏิบัตกิ ารประสาทกายวิภาคศาสตร์ ครั้งที่ 7

เรื่อง การรับความรูส้ ึกพิเศษ เวลา 3.5 ชั่วโมง


อาจารย์ผู้สอน ศึกษาด้วยตนเองจาก VDO
ผู้เรียน นักศึกษาทันตแพทย์ ชัน้ ปี ท่ี 2
วัตถุประสงค์ นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายโครงสร้างเกี่ยวกับระบบการเห็น การได้ยินและการทรงตัว
2. อธิบายสัญญาณประสาทที่เกี่ยวกับการเห็น การได้ยินและการทรงตัว
เนือ้ หาวิชา
1. ระบบการเห็น : ลักษณะของโครงสร้าง และสัญญาณประสาท
2. การได้ยิน : ลักษณะของโครงสร้าง และสัญญาณประสาท
3. การทรงตัว : ลักษณะของโครงสร้าง และสัญญาณประสาท
การจัดประสบการณ์เรียนรู้
1. อธิบายปฏิบตั กิ าร 30 นาที
2. ปฏิบตั ิการ 180 นาที
สื่อการสอน
1. VDO
2. ไฟล์ PDF ชนิด powerpoint
การประเมินผล ข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือก
47

ปฏิบัตกิ ารครั้งที่ 7 เรื่อง Visual pathway, auditory pathway, vestibular pathway


รศ. เกล็ดแก้ว ด่านวิวัฒน์

1. Visual system (material : model & chart)


1. Optic nerve : cranial nerve II
2. Optic chiasma
3. Optic tract
4. Superior colliculus : midbrain
5. Lateral geniculate body : thalamus
6. Visual radiation
7. Primary visual cortex : occipital lobe (Brodmann’s area 17)
8. Visual association cortex : occipital lobe (Brodmann’s area 18,19)
2. Auditory system (material : model & chart)
1. External ear, middle ear and internal ear
2. Cochlea
3. Cochlear nerve : cranial nerve VIII
4. Inferior colliculus : midbrain
5. Medial geniculate body : thalamus
6. Primary auditory cortex : transverse temporal gyrus (Brodmann’s area 41,42)
7. Auditory association cortex : superior temporal gyrus (Brodmann’s area 22)
3. Vestibular system (material : model)
1. Utricle, saccule and semicircular canals
2. Vestibular (Scarpa’s) ganglion
3. Vestibular nerve
48

แผนการสอนปฏิบัตกิ ารประสาทกายวิภาคศาสตร์ ครั้งที่ 8

เรื่อง Cranial nerves เวลา 3.5 ชั่วโมง


อาจารย์ผู้สอน คณาจารย์สาขากายวิภาคศาสตร์
ผู้เรียน นักศึกษาคณะทันตแพทยศาสตร์ ชัน้ ปี ท่ี 2
วัตถุประสงค์ นักศึกษาสามารถ
1. ชีแ้ สดงตาแหน่งของเส้นประสาทสมองแต่ละเส้น
2. ชีแ้ สดงตาแหน่งของนิวเคลียสและวิถีประสาทของเส้นประสาทสมองแต่ละเส้น
3. บอกถึงความสาคัญทางคลินิกที่เกี่ยวข้อง
เนือ้ หา
1. ตาแหน่งของ cranial nerves
2. Nuclei and tracts of cranial nerve
ประสบการณ์การเรียนรู้
1. อธิบายปฏิบตั กิ าร 30 นาที
2. ปฏิบตั ิการ 180 นาที
สื่อการสอน
1. Model brainstem
2. รูปภาพแสดงก้านสมองและเส้นประสาทสมอง
3. Brainstem from cadaver
การประเมินผล สอบภาคปฏิบตั ิ
49

ปฏิบัตกิ ารครั้งที่ 8 เรื่อง Cranial nerves


อ.ดร.วิริยา พันธุข์ าว
ผศ.ศุภเกต แสนทวีสุข

External morphology
Cranial nerves Structures related to cranial nerve on skull
▪ Olfactory nerve ▪ Cavernus sinus
▪ Optic nerve ▪ Superior orbital fissure
▪ Oculomotor nerve ▪ Supraorbital foramen
▪ Trochlear nerve ▪ Foramen rotundum
▪ Trigeminal nerve ▪ Infraorbital foramen
▪ Abducen nerve ▪ Foramen ovale
▪ Facial nerve ▪ Internal acoustic meatus
▪ Vestibulocochlear nerve ▪ Stylomastoid foramen
▪ Glossopharyngeal nerve ▪ Jugular foramen
▪ Vagus nerve ▪ Hypoglossal canal
▪ Accessory nerve
▪ Hypoglossal nerve
Structures related to cranial nerve on
brainstem Internal morphology
▪ Preolivary sulcus ▪ Oculomotor nuclei
▪ Postolivary sulcus ▪ Edinger-Westphal nuclei
▪ Tuberculum cinereum ▪ Trochlear nuclei
▪ Interpeduncular fossa ▪ Abducen nuclei
▪ Median sulcus ▪ Facial nuclei
▪ Sulcus limitans ▪ Dorsal motor nuclei of CNX
▪ Medial eminence ▪ Hypoglossal nuclei
▪ Vagal trigone ▪ Oculomotor nerve
▪ Facial colliculus ▪ Trigeminal nerve
▪ Vestibular area ▪ Facial nerve
▪ Superior collicullus ▪ Vestibulocochlear nerve
▪ Inferior colliculus
50

แผนการสอนปฏิบัตกิ ารประสาทกายวิภาคศาสตร์ ครั้งที่ 9

เรื่อง Meninges, blood supply of CNS and cerebrospinal fluid เวลา 3.5 ชั่วโมง
อาจารย์ผู้สอน คณาจารย์สาขากายวิภาคศาสตร์
ผู้เรียน นักศึกษาคณะทันตแพทยศาสตร์ ชัน้ ปี ท่ี 2
วัตถุประสงค์ นักศึกษาสามารถ
1. บอกชัน้ ต่างๆ ของเยื่อหุม้ สมอง
2. บอกชื่อหลอดเลือดแดงที่เลีย้ งส่วนต่างๆ ของสมองและไขสันหลัง
3. บอกตาแหน่งหรือบริเวณของสมองและไขสันหลังที่ถกู เลีย้ งด้วยหลอดแดงต่างๆ
4. บอกชื่อแอ่งเลือดดาและบริเวณของสมองที่เกี่ยวข้อง
5. บอกชื่อโพรงสมองและไขสันหลัง
6. อธิบายการไหลเวียนเลือดแดงและนา้ ไขสันหลัง
7. บอกพยาธิสภาพเมื่อมีความผิดปกติของหลอดเลือดแดงและทางเดินนา้ ไขสันหลัง
เนือ้ หา
1. Meninges
2. Internal carotid artery and its branches
3. Vertebral artery and its branches
4. Basilar artery and its branches
5. Circle of Willis
6. Ventricle, cerebrospinal fluid and its fates
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. อธิบายปฏิบตั กิ าร 30 นาที
2. ปฏิบตั ิการ 180 นาที
สื่อการสอน
1. Brain plastination
2. Brain and spinal cord
3. Model and chart
การประเมินผล สอบภาคปฏิบตั ิ
51

ปฏิบัตกิ าร ครั้งที่ 9 เรื่อง Meninges, blood circulation and ventricular system


ผศ.ดร.นันทวรรณ ศูนย์กลาง
➢ ศึกษา Blood supply of CNS
1. Internal carotid artery (ICA)
• anterior cerebral artery
• middle cerebral artery
• anterior choroidal artery
• posterior communicating artery
2. Vertebrobasilar system
• Vertebral artery
- anterior spinal artery
- posterior spinal artery
- posterior inferior cerebellar artery
• Basilar artery
- posterior cerebral artery
- superior cerebellar artery
- pontine artery
- labyrinthine artery
- anterior inferior cerebellar artery
➢ ศึกษา artery of spinal cord
1. anterior spinal artery
2. posterior spinal artery

➢ ศึกษาองค์ประกอบของ Circle of Willis


1. anterior cerebral artery
2. anterior communicating artery
3. internal carotid artey
4. posterior cerebral artery
5. posterior communicating artery
52

➢ ศึกษา ventricle of brain


1. Lateral ventricle
• Anterior horn
• Body
• Posterior horn หรือ occipital horn
• Inferior horn
• Trigone
2. Intervemtricular foramen
3. Third ventricle
4. Cerebral aqueduct
5. Fourth ventricle
6. Foramen of Luscka
7. Foramen of Magendie

➢ ศึกษาเยือ่ หุ้มสมอง
1. Dura mater : falx cerebri, tentorium cerebelli, falx cerebelli
2. Arachnoid mater
3. Pia mater

➢ ศึกษาแอ่งเลือดดา
1. Superior sagittal sinus
2. Inferior sagittal sinus
3. Straight sinus
4. Confluence of sinus
5. Transverse sinus
6. Sigmoid sinus

You might also like