You are on page 1of 12

เอกสารประกอบการสอน รายวิชาประสาทกายวิภาคศาสตร์

Brainstem reflex
อ. ดร.กานต์ แสงไพโรจน์
สาขากายวิภาคศาสตร์ สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Brainstem reflex คือกลไก involuntary response ของระบบประสาทต่อสิง่ แวดล้อม วงจร reflex arc เกิดขึน้
ผ่านทาง brainstem โดยใช้ cranial nerve nuclei เป็ นส่วนประมวลผล และมี afferent หรือ efferent fibers คือ cranial
nerve ซึง่ จะมีวงจร reflex ได้ตลอด brainstem และ brainstem reflex ทุกชนิดมีการส่งต่อสัญญาณแบบ polysynaptic
reflex

Location of brainstem reflex


ตาแหน่ง Reflex Cranial nerve nuclei
Midbrain Visual reflex
 Pupillary light reflex Edinger-Westphal nucleus
 Accommodation reflex Edinger-Westphal nucleus
Pons  Corneal reflex Trigeminal sensory nucleus, facial motor nucleus.
Jaw jerk Mesencephalic nu., Motor nucleus of CN V
Vestibulo-ocular reflex Vestibular nuclei, oculomotor nucleus, trochlear nucleus,
abducens nuclesu
Auditory reflex Cochlear nucleus., facial motor nu., Motor nucleus of CN V
Medulla Gag reflex (pharyngeal reflex) Solitary nucleus, nucleus ambiguus
Sneeze & cough reflex Trigeminal sensory nucleus, Solitary nucleus, nucleus
ambiguus

หน้าทีท่ วไปของ
ั่ brainstem reflex
1. ควบคุมการทางานเพื่อรักษา vital body
2. ควบคุมกล้ามเนื้อเพื่อปรับสมดุลกับการตอบสนองต่อสิง่ แวดล้อม
3. ป้ องกันอันตรายต่อร่างกาย
4. ประยุ ก ต์ ใ ช้เ พื่ อ ทดสอบความผิด ปกติ ข อง cranial nerve หรือ การตอบสนองของระบบประสาทผ่ า น
brainstem
1. Pupillary light reflex
เป็ นกลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อ constrictor pupillae muscle เมื่อมีแสงส่องเข้าตาข้างหนึ่ง จะพบว่า pupil
ทัง้ สองข้างหดตัว ซึง่ เป็ นการตอบสนองโดยการควบคุมของ CN II และ CN III
Reflex arc
Stimulus: แสงจาก visual field จะ cross เมื่อเข้าสู่ retinal field ของตา 1 ข้าง แยกเป็ น temporal retinal
field และ nasal retinal field
Afferent: ความเข้ม แสงเปลี่ย นเป็ น nerve impulse ส่งผ่ าน CN II แล้ว เข้าสู่ pretectal nucleus ที่บ ริเวณ
pretectal area ของทัง้ สองข้าง
Integrating center: nerve impulse ส่งไป synapse ที่ Edinger-Westphal nucleus
 Nerve impulse จาก temporal retinal field เข้าสู่ ipsilateral Edinger-Westphal nucleus
 Nerve impulse จาก nasal retinal field เข้าสู่ contralateral Edinger-Westphal nucleus ซึ่งสามารถ
ข้ามไป synapse ด้านตรงข้ามได้ดว้ ยผ่านทาง posterior commissure
Efferent: signal จาก Edinger-Westphal nucleus ทั ้ง สองข้ า ง (bilateral) จะเข้ า สู่ parasympathetic
pathway โดยออกทาง CN III (preganglionic parasympathetic fiber) synapse ที่ ciliary ganglion แล้ว synapse ต่อ
ที่ short ciliary n. (postganglionic parasympathetic fiber) เพื่อ innervate constrictor pupillae m. เพื่อหดม่านตาทัง้
สองข้าง
Response ต่อ light reflex เกิดขึน้ ทีต่ าทัง้ สองข้าง โดยข้างทีถ่ ูกกระตุ้น ด้วยแสงแล้วพบม่านตาหด เรียกการ
ตอบสนองว่า direct light reflex และข้างทีไ่ ม่ได้ถูกกระตุน้ แต่ตอบสนองด้วย เรียกว่า consensual light reflex

หน้าทีแ่ ละพยาธิสภาพ
Light reflex ถูกกระตุ้นเพื่อป้ องกันแสงเข้าสู่ retina มากเกินไป และสามารถตรวจสอบการทางานของ CN II
และ CN III โดยการทดสอบส่องไฟเข้าทีด่ วงตาข้างหนึ่ง แล้วดูการหดตัวของ pupil ทัง้ สองข้าง และทดสอบซ้ากับตาอีก
ข้างหนึ่ง
 ถ้า pupil หดตัวได้ทงั ้ สองข้าง แสดงว่าปกติทงั ้ afferent และ efferent nerve
 ถ้ า pupil ข้า งที่ ท ดสอบไม่ ต อบสนอง (fixed pupil) และไม่ เกิด consensual light reflex (fixed pupil)
แสดงว่า afferent nerve (CN II) ผิดปกติ ให้ทดสอบซ้ากับตาอีกข้าง จะพบการตอบสนอง pupil ทัง้ สอง
ข้าง
 ถ้า pupil ข้างที่ท ดสอบไม่ ตอบสนอง แต่ พบ consensual light reflex แสดงว่า efferent nerve (CN III)
ผิดปกติ ให้ทดสอบซ้ากับตาอีกข้าง จะพบการตอบสนองที่ pupil ข้างนัน้ และไม่พบ reflex ของตาอีกข้าง
ภาพที่ 1 กลไก pupillary light reflex (Young PA, 2015)
ภาพที่ 2 ตัว อย่ างผลการทดสอบ light reflex และ lesion (https://www.studyblue.com/notes/note/n/visual-reflex-
pathways/deck/16449508)

2. Pupillary dilatation reflex


เป็ น reflex เพื่อขยายม่านตา ซึง่ กระตุน้ และสังการผ่
่ าน sympathetic activity
Reflex arc
Stimulus: สิง่ แวดล้อมภายนอกทีก่ ระตุน้ sympathetic activity
Afferent & Integrating center: ส่งสัญญาณไปกระตุน้ ที่ pupillodilator neuron ใน hypothalamus
Efferent: ส่ ง สัญ ญาณทาง C8 – T2 spinal cord (ciliospinal tract) เป็ น preganglionic parasympathetic
fiber เข้า สู่ sympathetic chain ในระดับ เดีย วกัน จากนัน้ ส่งไป synapse ที่ superior cervical ganglion จากนั น้ ส่ง
สัญญาณผ่านไปที่ carotid plexus ซึง่ เป็ น postganglionic parasympathetic fiber แล้วนาสัญญาณไปทาง long ciliary
nerve เพื่อ innervate dilator pupillae muscle ทาให้ม่านตาขยายในข้างเดียวกับ tract ทีส่ ง่ สัญญาณมา
หน้าทีแ่ ละพยาธิสภาพ
ทาหน้าทีข่ ยายม่านตาเพื่อตอบสนองต่อ sympathetic activity
ภาวะที่มีค วามผิด ปกติข อง sympathetic activity คือ Horner’s syndrome สังเกตได้จ ากภาวะม่ า นตาหด
(miosis) ไม่ มี เ หงื่อ (anhidrosis), partial ptosis เกิ ด จากความเสีย หายของ preganglionic หรือ postganglionic
parasympathetic fibers
3. Accommodation reflex
เป็ น reflex ที่เกิดจากการทางานร่วมกันของ ciliary body, lens และ extraocular muscles เพื่อปรับแสงที่
เคลื่อนเข้าใกล้ลกู ตาให้สามารถรวมแสงที่ retina ได้ชดั เจนขึน้ การทางานหลักของ accommodation reflex คือ
 หมุน eyeball เข้าสูแ่ นวกลาง (convergence)
 Pupil constriction
 Lens thickening
Reflex arc
Stimulus คือ การรับ รู้ภ าพที่ม องในระยะใกล้ เมื่อ รับ ภาพเข้า สู่ visual pathway จนประมวลผลที่ visual
association cortex แล้ว หากภาพใกล้ eyeball เกินไป, visual association cortex ของทัง้ สองข้าง (bilateral) จะส่ง
สัญ ญาณไปที่ superior colliculus แล้ ว ส่ ง สัญ ญาณต่ อ ที่ oculomotor nuclear complex ประกอบด้ ว ย Edinger-
Westphal nucleus และ Oculomotor nucleus โดยแยกเป็ น
 Edinger-Westphal nucleus (GVE) ค ว บ คุ ม เพิ่ ม ค ว าม ห น าเล น ส์ แ ล ะข น าด pupil ผ่ าน ระบ บ
parasympathetic โด ย ส่ ง สั ญ ญ า ณ preganglionic parasympathetic fiber ไป ท า ง CN III (inferior
division) แล้ว synapse ที่ ciliary ganglion จากนัน้ ส่ง สัญ ญาณ postganglionic parasympathetic fiber
ต่ อไปที่ short ciliary nerve เพื่อส่ง signal ไปที่ constrictor pupillae muscle เพื่อหดม่านตา และไปที่
ciliary muscle เพื่อ หดกล้า มเนื้ อ ท าให้ suspensory ligament ที่ยึด เลนส์ห ย่ อ น ท าให้ เลนส์ห นาขึ้น
สามารถรวมแสงให้ตกที่ retinal ได้ใกล้ขน้ึ
 Oculomotor nucleus (GSE) ส่งสัญญาณไปที่ CN III (inferior division) ไปควบคุมการหดตัวของ medial
rectus muscle ทัง้ สองข้าง เกิด eye convergence คือเคลื่อนเข้า medial side
หน้าทีแ่ ละพยาธิสภาพ
ทาหน้าทีป่ รับแสงให้ตกที่ retina ได้ใกล้ขน้ึ ทาให้รบั ภาพใกล้ eyeball ได้ชดั เจน (focus) และป้ องกัน blurred
vision และสามารถทดสอบการทางานของ CN III ได้ดว้ ยวิธี accommodation test โดยให้ผรู้ บั การทดสอบมองทีผ่ นัง
(ภาพไกล) แล้วเปลีย่ นเป็ นมองวัตถุท่อี ยู่ใกล้ตาระหว่างตาสองข้าง (ภาพใกล้) ถ้า CN III ทางานปกติ จะพบว่า pupil
หด และ eyeball เคลื่อนเข้าทาง medial (convergence)
ภาพที่ 3 กลไก accommodation reflex (Young PA, 2015)
4. Corneal blink reflex
เป็ น reflex เพื่อป้ องกันสิง่ แปลกปลอมทาอันตรายต่อ cornea หรือ lens ตอบสนองโดยปิ ดเปลือกตา ควบคุม
และตอบสนองผ่าน CN V และ CN VII
Reflex arc
Stimulus : touch sensation ที่ cornea ข้างหนึ่ง
Afferent & Integrating center: นาความรูส้ กึ ผ่าน nasociliary branch ของ CN V1 ซึง่ เป็ น nerve ending เข้า
สู่ trigeminal ganglion (1 order neuron) จากนัน้ ส่งสัญญาณ synapse ที่ trigeminal sensory nucleus (response to
touching) และ spinal trigeminal nucleus (response to pain) (2 order neuron) ของข้า งเดีย วกับ CN V1 ที่ถู ก
กระตุน้
Efferent : สัญ ญาณ motor สังการผ่ ่ าน facial motor nucleus ทัง้ สองข้าง โดยสัญ ญาณที่ไป synapse กับ
contralateral facial motor nucleus จะไปกับ สัญ ญาณที่ cross midline ไปเป็ น ventral trigeminothalamic tract ที่
ด้านตรงข้ามกับ afferent เพื่อขึน้ ไปสู่ cerebral cortex เกิดการรับรูก้ ารเจ็บที่ cornea
จากนัน้ จะส่งสัญ ญาณผ่าน CN VII เป็ น motor neuron ควบคุมการหดตัวของกล้ามเนื้อ orbicularis oculi
เพื่อปิ ดเปลือกตาทัง้ สองข้าง, นอกจากนัน้ trigeminal sensory nucleus ยังส่งสัญญาณ inhibitory neuron เพื่อยับยัง้
levator palpebrae superioris muscle ทีเ่ ป็ น antagonist muscle ด้วย
การกะพริบตา (blink) เป็ น reflex ต่อเนื่องโดยเปิ ดและปิ ดเปลือกตาซ้า ๆ กัน เพื่อขับ น้ าตาและน้ ามันเคลือบ
cornea ช่วยป้ องกัน cornea บาดเจ็บหรือเป็ นแผล โดยกระตุน้ ผ่าน parasympathetic signal จาก facial nerve ส่งไปที่
lacrimal และ Meibomian gland
หน้าทีแ่ ละพยาธิสภาพ
ตอบสนองเพื่อป้ องกันอันตรายต่อ cornea และสามารถใช้ตรวจสอบการทางานของ CN V เชื่อมโยงกับ main
sensory nucleus of CN V, spinal trigeminal nucleus (GSA) และ CN VII เชื่อมโยงกับ facial motor nucleus (SVE)
ซึง่ ตาแหน่งของ nucleus อยู่ทร่ี ะดับ pons จึงสามารถประเมิน lesion ทีร่ ะดับ pons ได้
Corneal reflex test ทดสอบโดยใช้สาลีแตะที่ cornea ของตาข้างหนึ่ง จะพบการกะพริบตาทัง้ สองข้าง, หาก
ตาด้านตรงข้ามไม่ กะพริบ แสดงว่ า efferent nerve (CN VII) ด้านตรงข้ามไม่ ต อบสนอง, หรือตาข้างที่ท ดสอบไม่
กะพริบ แสดงว่ า ipsilateral CN VII ไม่ ต อบสนอง เช่ น เกิ ด จาก facial nerve palsy, หากไม่ พ บการตอบสนอง
(areflexia) ของตาทัง้ สองข้าง แสดงว่า มี lesion ทีก่ ระทบต่อ afferent nerve (CN V1)
ภาพที่ 4 กลไก corneal blink reflex (Gould DJ, Brueckner JK, & Fix JD, 2016)

5. Jaw jerk reflex


เป็ น myotactic reflex ของ masticatory muscles มี reflex arc อยู่ ใ น brainstem ระดั บ pons วงจรทั ้ง
sensory และ motor ผ่านทาง CN V
Reflex arc
Stimulus: proprioception ทีผ่ วิ หนังบริเวณปลายคาง
Afferent & Integrating center: ส่ ง ไ ป ท า ง CN V3, ไ ป synapse ที่ trigeminal ganglion แ ล้ ว เข้ า สู่
mesencephalic nucleus of CN V (GSA) จากนัน้ ส่งสัญญาณไปที่ motor nucleus of CN V (SVE)
Efferent: ส่ง สัญ ญาณ motor ผ่ า น CN V3 ไปที่ masseter & temporalis muscle contraction เพื่อ เคลื่อ น
mandible เข้า (retrusion)
หน้าทีแ่ ละพยาธิสภาพ
ใช้เพื่อทดสอบการทางานหรือพยาธิสภาพของ CN V โดยให้ผปู้ ่ วยอ้าปากเล็กน้อย แล้วใช้ไม้เคาะ jerk เคาะ
ไปทีค่ าง ภาวะปกติจะไม่เกิดการตอบสนอง หรือตอบสนองโดยเคลื่อน mandible ขึน้ เล็กน้อย, แต่ถา้ เคลื่อน mandible
ปิ ดได้แรงมาก (exaggerated response) เกิดจาก UMN lesion ที่ pyramidal tract เหนือ motor nucleus of CN V ทา
ให้เกิด hyperreflexia ร่วมกับพบ jaw deviate ไปด้านทีอ่ ่อนแรง
ภาพที่ 5 กลไก jaw jerk reflex (Gould DJ, Brueckner JK, & Fix JD, 2016)

6. Vestibulo-ocular reflex (VOR)


เป็ น eye movement reflex เพื่อจับภาพวัตถุขณะศีรษะเคลื่อนไหวในแนว horizontal เกีย่ วข้องกับ vestibular
system เพื่อรักษาการทรงตัว ขณะ head rotation ด้วย โดย eyeball จะเคลื่อนสวนทางกับศีรษะเพื่อ จับภาพให้อยู่ใน
visual field
Reflex arc
เมื่อศีรษะเคลื่อนไหวแบบ angular movement ไปทิศใด จะทาให้ endolymph ใน semicircular duct เคลื่อน
ตัวไปไปในทิศตรงข้ามกับการหมุ นศีรษะ เนื่องจาก endolymph มีความหนื ด ท าให้เกิดแรงเฉื่อยขณะเคลื่อนไหว
(inertial movement of endolymph) ไปกระทบ cupula ทีบ่ ริเวณ ampulla ใน semicircular duct ของข้างนัน้
ก ารเค ลื่ อ น ไห ว cupula ใน crista ampullaris ท าให้ stereocilia เบ น เข้ า กระท บ กั บ kinocilia เกิ ด
depolarization ส่งสัญ ญาณผ่ า น vestibular nerve ไป synapse ที่ vestibular ganglion และเข้า สู่ vestibular nuclei
ของข้างนัน้ จากนัน้ จะส่งสัญญาณ motor impulse ไปสังการ
่ extraocular muscle ของข้างเดียวกันด้วย cranial nerve
muclei ประเภท GSE ส าหรับ cranial nerve ที่ค วบคุ ม กล้า มเนื้ อ นั น้ ๆ และส่ ง สัญ ญาณไปควบคุ ม extraocular
muscle ด้านตรงข้ามผ่านทาง Medial longitudinal fasciculus (MLF) ซึง่ extraocular muscle ของทัง้ สองข้างจะต้อง
ทางานประสานกันเพื่อทาให้ eyeball เคลื่อนไปจับภาพวัตถุ (gaze) ทีอ่ ยู่กบั ที่ ทาให้ตาเคลื่อนที่ได้ด้านตรงข้ามด้วย
ขนาดและมุมทีเ่ ท่ากับศีรษะเคลื่อนที่
หน้าทีแ่ ละพยาธิสภาพ
เพื่อรักษาสมดุลของศีรษะและลูกตาขณะที่ศีรษะเคลื่อนไหวในแนว angular movement หากร่างกายเสีย
สมดุลจากความเสียหายของ vestibular pathway จะส่งผลต่ อ VOR ได้ ซึ่งทดสอบได้ด้วยวิธี Doll’s eye test หาก
ศีรษะหมุนไปทิศใดแล้วลูกตายังคงตรึงอยู่กบั ตาแหน่งอ้างอิงทีก่ าลังมองอยู่ แสดงว่า reflex ปกติ แต่หากลูกตาหมุนไป
ทิศเดีย วกับ ศีรษะด้วย อาจเกิด จากความผิด ปกติข องส่วนใดของ reflex arc หรือ อาจพบว่ า vestibular organ ถู ก
กระตุ้นมากเกินไป หรือเมื่อศีรษะเคลื่อนด้วยมุมมากเกินไปที่สายตาจะตรึงได้ จะพบลูกตาเคลื่อนที่กลับไปมา คือ
vestibular nystagmus เพื่อเปลี่ยนตาแหน่ งของตา ขณะหมุนตัวไปรอบ ๆ ทาให้ สามารถทรงตัวและยังคงมองเห็น
ชัดเจนได้ ซึง่ ทดสอบได้ดว้ ยวิธี caloric test หรือ Barany test C

7. Gag reflex (pharyngeal reflex)


เป็ น reflex ทีต่ อบสนองต่อสิง่ แปลกปลอมทีส่ มั ผัสทีโ่ คนลิน้ , ทอนซิล หรือ pharyngeal wall เพื่อป้ องกันไม่ให้
ผ่านเข้า pharynx ทาให้เกิดอาการขย้อน (gag) และอาจเกิดอาเจียนร่วมด้วย
Reflex arc
Stimulus: เมื่อมีสงิ่ แปลกปลอมเข้าปากจนสามารถรับสัมผัสทีใ่ ต้คนลิน้ , ทอนซิล หรือ pharyngeal wall
Afferent & Integrating center: ส่งสัญ ญาณ GVA ผ่านทาง CN IX ไปที่ solitary nucleus แล้ว synapse ที่
nucleus ambiguous (SVE)
Efferent: ส่งสัญญาณไปทาง CN X กระตุ้นให้เกิด gag โดยควบคุมให้ pharyngeal muscles หดตัว และปิ ด
epiglottis พร้อมกับยก soft palate ขึน้ ปิ ด nasopharynx ทาให้ขย้อยออกทาง oropharynx
หาก stimulus มีข นาดแรง จะกระตุ้นให้เกิด vomiting ได้ด้วย โดยสัญ ญาณจาก nucleus ambiguous จะ
ส่ ง ไปต่ อ ที่ dorsal motor nucleus of vagus ส่ ง สัญ ญาณผ่ า นวิถี parasympathetic ไปที่ myenteric plexus ท าให้
smooth muscle ใน GI tract หดตัว และยังส่งสัญญาณผ่านทาง medial reticulospinal tract กระตุ้นวิถี sympathetic
ไปที่ celiac ganglion สังการให้
่ เพิม่ การหดตัวของ pyloric sphincter เพื่อเพิม่ peristalsis
หน้าทีแ่ ละพยาธิสภาพ
เพื่อป้ องกันสิง่ แปลกปลอมเข้าสู่ larynx และสามารถใช้ reflex ทดสอบการทางานของ CN IX และ CN X โดย
หากไม่เกิด reflex มักพบร่วมกับ dysphagia

ภาพที่ 6 กลไก Gag reflex (Krebs C, 2012)


8. Cough reflex
เป็ น reflex ทาให้เกิดอาการไอเมื่อมีสงิ่ กระตุน้ ที่ larynx หรือ upper respiratory tract
Reflex arc
Stimulus: Foreign bodies กระตุน้ ให้เกิดระคายเคืองที่ mucosa บริเวณ larynx, trachea, carina
Afferent & Integrating center: ส่ ง สัญ ญาณผ่ า นทาง laryngeal branch of CN X ไปที่ solitary nucleus
จากนัน้ ส่งสัญญาณต่อไปที่ medullary respiratory center
Efferent: synapse ที่ nucleus ambiguous เพื่อส่ง motor impulse ไปควบคุมกล้ามเนื้อทีเ่ กีย่ วข้องคือ
- CN X เพื่อปิ ด epiglottis และหดตัวของ trachea
- Thoracic spinal nerves เพื่อเพิม่ การหดตัวของ intercostal muscles
- Phrenic nerve กระตุน้ การหดตัว diaphragm
การหดตั ว ของกล้ า มเนื้ อ ดัง กล่ า วจะท างานร่ ว มกัน เพื่ อ เพิ่ ม pulmonary pressure และกระตุ้ น forced
expiration เสริมให้เกิดการไอออกจาก oropharynx

9. Sneeze reflex
เป็ น reflex กระตุน้ การจามเมื่อมีสงิ่ กระตุน้ ที่ nasal cavity
Reflex arc
Stimulus: คือ foreign bodies ไปกระตุน้ ที่ nasal mucosa
Afferent & Integrating center: ส่ ง สั ญ ญ าณ ผ่ า น CN V1, V2 ไปที่ trigeminal sensory nucleus (GSA)
จากนัน้ ส่งสัญญาณต่อไปที่ medullary respiratory center
Efferent: synapse ที่ nucleus ambiguous เพื่อส่ง motor impulse ไปควบคุมกล้ามเนื้อที่เกีย่ วข้องเพื่อเพิม่
pulmonary pressure ผ่าน efferent nerve คือ
- CN X เพื่อปิ ด epiglottis
- Spinal nerves เพื่อเพิม่ การหดตัวของ intercostal muscles และปิ ด oropharynx
- Phrenic nerve กระตุน้ การหดตัว diaphragm
เมื่อเสริมด้วย forced expiration จึงเกิดการจามออกจาก nasopharynx
หน้าทีแ่ ละพยาธิสภาพ
เพื่อป้ องกันอันตรายจาก foreign bodies เข้าสู่ upper respiratory tract
ภาพที่ 7 กลไกร่วมกันของ sneeze และ cough reflex (Mancall, 2011)

เอกสารอ้างอิ ง
1. Haines DE, Mihailoff GA. Fundamental neuroscience for basic and clinical applications. Fifth edition.
ed. Philadelphia, PA: Elsevier; 2018. p. p.
2. Young PA, Young PH, Tolbert DL, Young PA. Basic clinical neuroscience. Third edition. ed.
Philadelphia: Wolters Kluwer; 2015. x, 443 pages p.
3. Patestas MA, Gartner LP. A textbook of neuroanatomy. Malden, MA: Blackwell Pub.; 2006. ix, 454
p. p.
4. Gould DJ, Brueckner JK, Fix JD. High yield neuroanatomy. Fifth edition. ed. Philadelphia: Wolters
Kluwer; 2016. xii, 188 pages p.
5. Krebs C, Akesson EJ, Weinberg J. Lippincott's illustrated reviews neuroscience. Philadelphia:
Wolters Kluwer/Lippincott Williams & Wilkins Health; 2012. viii, 434 p. p.
6. Mancall EL, Brock DG, Gray H. Gray's clinical neuroanatomy: the anatomic basis for clinical
neuroscience. Philadelphia, PA: Elsevier Saunders; 2011. xiii, 433 pages p.
7. เกรียงไกร อุรุโสภณ (บรรณาธิการ), ตาราประสาทกายวิภาคศาสตร์. กรุงเทพฯ: คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าช
พยาบาลมหาวิทยาลัยมหิดล, 2547
8. กนกวรรณ ติลกสกุลชัย, ชัยเลิศ พิชติ พรชัย (บรรณาธิการ), สรีรวิทยา 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เรือนแก้วการ
พิมพ์, 2554

You might also like