You are on page 1of 14

NERVOUS

TISSUE
1. จะ อ บายควง ส าง และ ห า และ แห ง พบของ เซล ประสาท

-
N EUR0 N

neuron ปรากฏอยู่ทั่วร่างกายจำนวนมากนับเป็นพันๆเซลล์
ที่สามารถเชื่อมโยงกันรับ และส่งสัญญาณระหว่างสิ่งเร้า
ภายนอกกับภายในร่างกาย ได้อย่างมีระบบเป็นที่น่าอัศจรรย์
ยิ่ง โดยเซลล์บางชนิดทำหน้าที่กระตุ้น บางชนิดทำหน้าที่
ยับยั้งการทำงานของอวัยวะต่างๆ บางชนิดเปลี่ยนแปลงไป
เป็นเซลล์ที่ผลิตสารเคมีคล้ายฮอร์โมนเรียกว่า นิวโรเซครีทอรี
เซลล์ (neurosecretory cell) และบางชนิดเป็นเซลล์เนื้อเยื่อ
เกี่ยวพันประสาทหรือเซลล์ค้ำจุนเรียกว่า เซลล์พี่เลี้ยง
(neuroglia) เซลล์ประสาทเกือบทั้งหมดจะรวมกันที่ส่วนหัว ซึ่ง
พัฒนาไปเป็นสมอง และมีส่วนที่ต่อจากสมองทอดยาว ตาม
ลำตัวทางด้านหลังเรียกว่า ไขสันหลัง
ตำ
ที่
ร้
ธิ
น้
ล์
ที่
น่
MULTIPOLAR NEURON

multipolar neuron เป็นเซลล์ที่มีเดนไดรต์ (dendrite) ยื่น


ออกจากตัวเซลล์หลายเส้น แต่มีแอกซอน (axon) เพียงเส้น
เดียว พบได้ในสมองและไขสันหลังมีแอกซอนยาวและ
เดนไดรต์สั้น ทำหน้าที่นำคำสั่งไปยังอวัยวะตอบสนอง
BIPOLARNEURON

bipolar neuron เซลล์ประสาทมีแขนง


แยกออกมาเป็น 2 แขนง โดยแขนงหนึ่งเป็น
แอกซอนและอีกแขนงหนึ่งเป็นเดนไดรต์
ความยาวของแขนงทั้งสองนี้ใกล้เคียงกัน
พบได้ที่เรตินาของลูกตา คอเคลียของหู และ
เยื่อดมกลิ่นของจมูก ทำหน้าที่เป็นเซลล์
ประสาทรับความรู้สึก
UNIPOLAR NEURON

•เซลล์ประสาทขั้วเดียว (unipolar neuron) เซลล์ประสาทประเภทนี้


ส่วนของแอกซอนและเดนไดรต์ที่ใกล้ๆ ตัว เซลล์จะรวมเป็นเส้น
เดียวกัน ทำให้มีแขนงแยกออกจากตัวเซลล์เพียงแขนงเดียว เดนไดรต์
มักจะยาวกว่าแอกซอนมาก พบที่ปมประสาทรากบน (dorsal root
ganglion) ของไขสันหลัง เซลล์ประสาทที่หลั่งฮอร์โมนของสัตว์ต่างๆ
•เซลล์ประสาทขั้วเดียวเทียม (psueudounipolar neuron)
เป็นเซลล์ที่มีแอกซอนออกจากตัวเซลล์ เส้นใยเดียวแต่แตกแขนงเป็น
เดนไครต์ไปรับสัญญาณจากหน่วยรับความรู้สึกที่ส่วนต่างๆของร่างกาย
ส่งไปรับสัญญาณจากหน่วยรับความรู้สึกที่ส่วนต่างๆของร่างกายแล้ว
ส่งผ่านข้อมูลให้กับเซลล์ประสาทอีกเซลล์ในไขสันหลัง พบที่ปม
ประสาทรากบนไขสันหลัง
PURKINIE CELL

Purkinje cell เป็นเซลล์ประสาทที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของ


cerebellum รูปร่างของเซลล์จะคล้ายกับขวดชมพู่
(flask-shaped) ซึ่งเซลล์จะเรียงตัวชั้นเดียวในชั้น
Purkinje cell layer และจะยื่นเข้าไปในชั้นของ
molecular cell layer ส่วน axon จะยื่นผ่านชั้น
granular cell layersynapse กัu deep cerebellar
nuclei และ vestibular nuclei
PYRAMIDALCELL

pyramidal cell เป็นเซลล์ประสาทหลายขั้วที่พบในเขต


ต่าง ๆ ของสมองรวมทั้งเปลือกสมอง ฮิปโปแคมปัส
และอะมิกดะลา เป็นหน่วยส่งสัญญาณแบบเร้าหลักของ
prefrontal cortex (คอร์เทกซ์กลีบหน้าผากส่วนหน้า)
ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และของลำเส้นใยประสาท
เปลือกสมอง-ไขสันหลัง (corticospinal tract)
เป็นเซลล์อย่างหนึ่งในสองอย่างที่มีลักษณะเฉพาะ
คือ Negri bodies
2. จง อ บายห า ของ
neuroglia

ช่วยพยุงให้เซลล์ประสาทอยู่ในตำแหน่งคงที่
โดยเซลล์เกลียจะเป็นตัวช่วยพยุงอยู่โดยรอบ
เซลล์ประสาท, ช่วยเป็นแหล่งอาหารและ
ออกซิเจนของเซลล์ประสาท, ช่วยเป็นฉนวนกั้น
เซลล์ประสาทไม่ให้มีกระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการ
ทำงานของเซลล์ประสาทรบกวนกันเอง,
ช่วยป้องกันเชื้อโรคที่จะเข้าสู่เซลล์ประสาท,
ช่วยกำจัดซากเซลล์ประสาทที่ตายแล้ว, และมี
ส่วนช่วยในการรับ-ส่งสัญญาณจากเซลล์ประสาท
ธิ
น้
ที่
3. จง อ บาย กระบวน การ Action potential ของ เซล ประสาท

ในการเกิด actionpotentialเมื่อมีdepolarizationจนมีค่า
ความต่างศักย์เป็นบวกสูงสุดแล้วประจุบวก ภายในเซลล์
หรือโปแทสเซียมไอออนจะเร่ิมไหลออกทาให้ภายในเซลล์
กลับไปมีประจุสุทธิเป็นลบเทียบเท่า กับเซลล์ประสาทใน
ระยะพักอีกคร้ังเรียกว่าเกิดrepolarizationและ
เมื่อโปแทสเซียมไอออนไหลออกอย่าง ต่อเนื่องจะทำให้
ภายในเซลล์มีประจุสุทธิเป็นลบมากกว่าเซลล์ประสาทใน
ระยะพักเรียกว่าเกิดundershoot
ธิ
ล์
สาร อประสาท ห า

อะซีทิลโคลิน (Acetylcholine, ACH) ทำหน้าที่ในระบบประสาทอัตโนวัติ


(Autonomic Nervous System, ANS)
ส่วนของพาราซิมพาเทติก จึงมีส่วน
เกี่ยวข้องกับการควบคุมการทำงานของ
ร่างกายเกือบทั้งหมด เช่น อัตราการเต้น
ของหัวใจ การนอนหลับ การหายใจ
การย่อยอาหาร การขับถ่าย การสืบพันธุ์
และความจำไม่ดี

นอร์อีพิเนฟรินหรือนอร์อะดรีนาลิน มันควบคุมการทำงานของระบบซิม
(Norepinephrine or Noradrenaline) พาเทติกทั้งหมด โดยมีการตอบสนอง
ที่ตรงข้ามกับอะซีทิลโคลิน มันทำงาน
เมื่อร่างกายอยู่ในสถานการณ์กดดัน
ภาวะคับขัน หรือมีอันตราย เช่น
การเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจและ
ความดันโลหิต นอกจากนี้ยังมีความ
จำเป็นต่อกระบวนการสร้างการจดจำ
แต่ปริมาณของนอร์อีพิเนฟรินที่มาก
เกินไปในภาวะปกติก็สามารถทำให้
คุณตกอยู่ในความรู้สึกวิตกกังวลมาก
เกินไปได้

อีพิเนฟรินหรืออะดรีนาลิน ควบคุมและตอบสนองต่อ
(Epinephrine or Adrenaline) ความเครียด อารมณ์ ความรู้สึก
กลัว โกรธ วิตกกังวล หากระดับ
ของอีพิเนฟรินผิดปกติไป จะมีผล
ต่อการนอนหลับ ความกังวล
อารมณ์ ความดัน และระดับของ
ภูมิคุ้มกัน
สื่
ที่
น้
|
"""" ""

กลูตาเมต (Glutamate) ความจำและการเรียนรู้ ที่มีความ


สัมพันธ์กับกาบาซึ่งเกี่ยวกับการทำงาน
ของสมองมากที่สุด กลูตาเมตถูก
พิจารณาว่าเป็นตัวหลักในการกระตุ้น
สัญญาณสมอง ที่น่าสนใจ คือ กลูตา
เมตเป็นพิษต่อเซลล์ประสาท จากการ
ถูกกระตุ้นที่นานเกินไปหรือมากเกินไป

กาบา (GABA) ควบคุมการนำกระแสประสาทและ


กระแสไฟฟ้าในสมอง และคาดว่ามัน
น่าจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับอารมณ์และ
ความเครียด เพราะเมื่อระดับของกา
บาลดน้อยลงหรือมีการทำงานที่ผิด
ปกติ เซลล์ประสาทก็จะมีการ
เปลี่ยนแปลง ส่งผลกระทบต่อการพัก
ผ่อน ความรู้สึกกังวล ซึมเศร้า
นอกจากนี้การขาดกาบาอาจจะทำให้
เกิดการชักได้

โดพามีน (Dopamine) ช่วยในการควบคุมสมองส่วน Reward


และ Pleasure Center และเกี่ยวข้องกับ
ระบบซิมพาเทติก โดพามีนมีบทบาทต่อ
พฤติกรรมการเรียนรู้ การนอนหลับ การ
จดจำ ทักษะต่าง ๆ ระบบภูมิคุ้มกัน ความ
ตั้งใจในการทำงาน รวมถึงช่วยควบคุม
การตอบสนองต่อการเคลื่อนไหวและ
อารมณ์
""ฑื

|
" "

เซโรโทนิน (Serotonin) ทำงานเกี่ยวข้องกับอารมณ์ ความ


รู้สึก และการรับรู้ พบได้มากใน
สมอง ลำไส้ และเกล็ดเลือด หาก
ระดับปริมาณของเซโรโทนินต่ำสา
มารถำไปสู่อาการซึมเศร้า แนว
โน้มการฆ่าตัวตาย การนอนหลับ
ยาก ไมเกรนได้

เอนโดฟิน (Endophin) มีอิทธิพลต่อสมอง ระบบประสาท


ส่วนปลายของร่างกาย และระบบ
ทางเดินอาหาร มันเป็นยาระงับ
ความปวดตามธรรมชาติ
เนื่องจากมีคุณสมบัติช่วยบรรเทา
ความเจ็บปวด นอกจากนี้ยังช่วย
บรรเทาความเครียด สร้างความ
รู้สึกเพลิดเพลิน เป็นสุข
สื่
① อ บายกระบวนการ เ ด spinal reflex

เป็นวิถีประสาทที่ควบคุมรีเฟล็กซ์ คือเป็นวิถีประสาทที่ข้อมูลความ
รู้สึกจากปลายประสาทรับความรู้สึกไปยังไขสันหลังและก้านสมอง
แล้วนำการตอบสนองที่ไขสันหลังและก้านสมองไปยังอวัยวะ
ปฏิบัติงานในช่วงการเกิดรีเฟล็กซ์ ในสัตว์มีกระดูกสันหลัง เซลล์
ประสาทรับความรู้สึก (sensory neuron) โดยมากไม่ได้ส่ง
กระแสประสาทไปยังสมองโดยตรง แต่จะมีไซแนปส์ที่ไขสันหลัง
ซึ่งก่อรีเฟล็กซ์ได้เร็วกว่าเพราะกระตุ้นเซลล์ประสาทสั่งการ
อัลฟาในไขสันหลังได้โดยตรงและไม่ต้องเสียเวลาส่งกระแส
ประสาทผ่านสมอง อย่างไรก็ดี สมองก็ยังได้รับข้อมูลความรู้สึก
ในขณะที่รีเฟล็กซ์กำลังเกิดขึ้น และก็ยังสามารถวิเคราะห์ข้อมูล
ความรู้สึกหลังรีเฟล็กซ์จบสิ้นไปแล้วได้
กิ
ธิ
น.ส. ธ ษฐ เจน ระนน
น 1
น 26 เลข 43
วี
ที่
รุ่
ปี
ชั้
นิ
ท์

You might also like