You are on page 1of 5

หนาแรก --> เนื้อหาบทเรียน --> บทที่ 1 --> กายวิภาคศาสตรและสรีรวิทยาของระบบประสาท 

กายวิภาคศาสตรและสรีรวิทยาของระบบประสาท 
ระบบประสาทประกอบดวยอวัยวะที่เกี่ยวของคือ สมอง ไขสันหลัง เซลลประสาท เพื่อเปนวิถีตอ 
ใหสวนตาง ๆ รางกายทําการเปลี่ยนรวมกันตามแตเหตุการณตาง ๆ ซึ่งเกิดขึ้นภายนอกหรือภายในรางกาย 
ควบคุมกิจการทั้งหลายทุกระบบในรางกายและเปนศูนยเกี่ยวกับความรูสึก สติ ปญญา  ความคิด เปรียบ 
ระบบนี้เหมือนระบบของโทรศัพทเพราะมีศูนยกลางคอยรับความรูสึกตาง ๆ กัน มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 
1.  ควบคุมในการทํางานของสวนตาง ๆ ของรางกายใหปฏิบัตแิ ละประสานงานกัน 
2.  ควบคุมความคิดและความประพฤติของรางกาย 
3.  มีหนาที่ทําใหเห็นได ไดยิน พูดได 
4.  ควบคุมหนาที่ของอวัยวะภายในใหดําเนินไปตามปกติ 

ระบบของประสาท 
ระบบของประสาท แบงออกได 3 สวน ดังนี้ 
1.  ระบบประสาทสวนกลาง (Central nervous System) 
2.  ระบบประสาทสวนปลาย (Peripheral nervous System) 
3.  ระบบประประสาทอัตโนมัติ (Automatic nervous System) 

1.  ระบบประสาทกลาง (Central nervous System) ประกอบไปดวยสมอง และไขสันหลัง ซึ่ง 


สมองนั้นบรรจุอยูในกะโหลกศีรษะ สวนไขสันหลังอยูภายในชองกระดูกสันหลัง 
2.  ระบบประสาทสวนปลาย (Peripheral nervous System)ประกอบดวยประสาทที่ออกจาก 
สมอง 12 คู และประสาทที่ออกจากไขมันหลัง 31 คู 
3.  ระบบประประสาทอัตโนมัติ (Automatic nervous System) คือ ระบบประสาทที่ประกอบขึ้น 
ดวยประสาท อวัยวะและสวนหนึ่งของสมอง ทํางานไมเหมือนระบบประสาทกลางและระบบประสาท 
สวนปลาย ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของกลามเนื้อของอวัยวะภายใน เชน กระเพาะอาหาร ลําไส หลอด 
โลหิต มันทํางานของมันเองโดยที่เราไมรูตัว เชน การเตนของหัวใจ การหลั่งน้ําลาย คือ ประสาทอัตโนมัต ิ

เนื้อเยื่อประสาท (Nervous Tissue) 
เนื้อเยื่อประสาท ประกอบดวยเซลลประสาทซึ่งมีรูปรางและขนาดตาง ๆ กัน อาจมีรูปกลมแลว 
มีนิวเคลียส มีโปรโตรปลาสซึมยื่นออกมาเปนแขนงมีรูปรางพอจะแบงได 2 แบบ คือ
1.  แขนงลักษณะยาวผิวเกลี้ยงมีขนาดเทากันโดยตลอดตั้งแตตน จนปลายและมีแขนงแตก 
ออกเปนแขนงเล็ก ๆ ไดมุมฉาก ทําหนาทีน่ ํากระแสความรูส ึกออกจากเซลลเรียกวา Axon 
2.  แขนงสั้น ๆ มีจํานวนมากมายรอบลําตัวเซลล สวนโคนที่ตดิ กับตัวเซลลนั้นหนาขรุขระและ 
เล็กลง แตกแขนงออกไปอยางกิ่งไม ทําหนาที่รับกระแสความรูสึกเขาสูตวั เซลลเรียกวา Dendrite 

รูปที่  10  เนื้อเยื่อประสาท

สมอง (Brain) 
สมองจัดเปนสวนประกอบของระบบประสาทสวนกลาง ตั้งอยูในกะโหลกศีรษะ โดยมีเยื่อหุมอยู 
ภายใตการหลอเลี้ยงของน้ําหลอเลี้ยงสมองไมใหเสียดสีกับกระดูก สมองประกอบดวย  3  สวน คือ 
1.  สมองสวนหนา (Prosencephalon) เปนสมองสวนที่ใหญที่สุด มองดูเปนลักษณะเยื่อสีเทา 
แบงเปนพูตาง ๆ เพื่อแยกกันทําหนาที่ พูดานหนาควบคุมการเคลื่อนไหวของกลามเนื้อ สมองสวนนี้ขาง 
ในเนื้อเยื่อมีลักษณะเปนสีออน มีเสนใยเล็ก ๆ ของเซลลประสาท สมองสวนหนาตอนนี้ เรียกวา ซีรีบรัม 
(Cerebrum) ทําหนาที่สําคัญเกี่ยวกับความทรงจํา ความคิด ความฉลาดและไหวพริบ มีอีกตอนหนึ่งที่จัด 
อยูในสมองสวนหนาคือ ไดเอ็นเซฟาลอน (Diencephalon) ทําหนาที่เปนศูนยรับความรูสึก โดยเฉพาะ 
รับรูสึกถึงความเจ็บปวดอยางรุนแรง ความเย็นจัด รอนจัด 
2.  สมองสวนกลาง (Mid brain) มีหนาที่ชวยใหสวนของ pons และ Diencephalon เชื่อมติด 
กับเยื่อสมองใหญ ควบคุมพฤติกรรมของลูกตา 
3.  สมองสวนลาง (Hind  brain) ประกอบด วย พอนส (Pons) สมองสวนเล็ก (Cerebellum) 
และกานสมอง (Medulla)
ก. พอนส (Pons) ประกอบดวยเสนประสาทและสารสีเทา มีหนาที่เชื่อม 2 ซีก ของ 
สมองใหญใหติดกันและเชื่อมกานสมองกับสมองใหญ 
ข. สมองสว นเล็ก (Cerebellum) ตั้งอยู ดานหลังของพอนสและกานสมอง มีหน าที่ 
ควบคุมการทํางานของ Muscle tone ควบคุมเกี่ยวกับการสมดุลของรางกาย (การทรงตัว)และลักษณะ 
ทาทาง ระบบกลามเนื้อ ทักษะ
ค. กานสมอง (Medulla) มีลักษณะรูปพีระมิด เปนที่ตั้งตนของเสนประสาทที่แยกจาก 
สมอง มีศูนยตาง ๆ ตั้งอยู ไดแก ศูนยควบคุมการหายใจ การเตนหัวใจ การหดขยายของหลอดโลหิต 
ควบคุมการจาม การไอ การอาเจียน การขับน้ํายอย 

รูปที่  11  รูปรางและสวนประกอบสมอง


ไขสันหลัง (Spinal cord) 
ไขสันหลังเปนสวนของระบบประสาทกลาง ตั้งอยูในชองของกระดูกสันหลังเริ่มตนจากสวน 
ตอของสมองสวน Medulla  oblongata  จนถึงกระดูกสันหลังทอนที่ 1  ทอนที่ 2 และมีลักษณะเล็กลง 
จนถึงทอนลางสุดของกระดูกสันหลัง ไขสันหลังยาวประมาณ 18 นิ้ว ประกอบดวยเยื่อ มี 2 ชนิด สีขาว 
(White  matter) หุมอยู โ ดยรอบขางนอกและสีเทา (Gray  matter) อยูขางในมีเซลลประสาทและใย 
ประสาทอยูเปนปม ไขสันหลังมีหนาที่ ดังนี้ 
1.  เปนศูนยกลางที่สําคัญของปฏิกิริยาสะทอนกลับของลําตัวและแขนขา 
2.  ชวยติดต อระหวางสมองและสวนตาง ๆ ของรางกายทั้งหมด โดยไขสันหลังรั บกระแส 
ความรูสึก จากสวนตาง ๆ ของรางกายแลวสงไปที่สมอง 
3.  ควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะและสวนตางๆที่มีประสาทไปถึง 
รูปที่  12  ไขสันหลังและเนื้อเยื่อ
ระบบประสาทอัตโนมัติ (Autonomic nervous System) 
ระบบประสาทอัตโนมัติ เปนระบบอิสระซึ่งทําหนาที่ควบคุมกลามเนื้อที่อยูนอกอํานาจจิตใจ 
ของร างกายทั้งหมด เชน  ควบคุมการทํางานของกระเพาะอาหาร ลําไส หลอดโลหิต หัว ใจ เปน ต น 
ทํางานไปโดยที่เขาไมรูสึกตัว มี 2 ชนิด คือ 
1.  พาราซิมพาเทติค (Parasympathetic) ทําหนาที่ควบคุมใหรางกายมีความสงบ มีการยอย 
อาหารโดยสม่ําเสมอ ความดันโลหิตต่ําลง 
2.  ซิมพาเทติก (Sympathetic) ทําใหรางกายทํางานมากขึ้น เกิดการตื่นเตน การเตรียมพรอม 
หัวใจเตนเร็ว ความดันโลหิตสูง ผนังลําไสหดตัวนอยลง มานตาขยายกวางขึ้น 

รูปที่  13  แสดงระบบประสาท 


ที่มา : Alexander P. Spence (1986  : 343) 
Parasympathetic  Sympathetic 
รูปที่  14  แสดงระบบประสาทพาราซิมพาเทติกและซมพาเทติก

You might also like