You are on page 1of 59

พัฒนกิจของครอบครัวในระยะที่ศึกษา

พัฒนกิจของครอบครัวและทฤษฎี พัฒนกิจครอบครัวของผู้ป่วย
ครอบครัวเดี่ยว คือ ครอบครัวที่ ครอบครัวของผู้ป่วยเป็ นไปตาม
ประกอบด้วยบุคคลที่ใช้ชีวิตร่วม ทฤษฎี แต่ลูก ของผู้ป่วยได้ออกไป
กันฉันสามีภริยา อาจมีหรือไม่มี ทำงานที่ต่างจังกวัด ทำให้ผู้ป่วย
บุตร พ่อหรือแม่อยู่กับบุตร หรือพี่ อาศัยอยู่กับภรรยา 2 คน
น้อง หรือญาติไม่เกินสองรุ่นใช้ชีวิต
อยู่ร่วมกัน
8. ครอบครัวระยะวัยชรา (Aging ผู้ป่วยชายไทย อายุ 73 ปี อาศัย
families)เป็ นระยะสุดท้ายของ อยู่กับภรรยา 2 คน ลูกๆไปทำงาน
พัฒนาการครอบครัวเป็ นช่วงที่สามี อยู่ที่ต่างจังหวัด ภรรยาทำอาชีพ
ภรรยาเข้าสู่วัยชราเริ่มเกษียณอายุ รับจ้างทั่วไปและทำนา
จากภาระหน้าที่การงานและเริ่ม
สูญเสียคูส
่ ามีภรรยา โดยทั่วไปจะ
มีอายุประมาณ 65 ปี หรือมากกว่า
นัน
้ ช่วงวิถีชีวิตวัยชราจะมีความ
แตกต่างกันไปขึน
้ กับฐานะทางการ
เงินหรือแหล่งสนับสนุนความ
สามารถในการดูแลรักษาความพึง
พอใจที่บ้านและภาวะสุขภาพของ
ตนเองอาจต้องพึ่งพาผู้อ่ น

1. เตรียมที่อยู่อาศัยให้เหมาะสม 1. ผู้ป่วยมีการจัดบ้านค่อนข้างไม่
กับการเปลี่ยนปลงตามวัย ค่อยเป็ นระเบียบและสัดส่วน บ้าน
ไม่สะอาด ไม่มีการจัดแยกแต่ละ
โซนอย่างเหมาะสม
2. ปรับการใช้จ่ายให้เหมาะสมภาย 2. ผู้ป่วยได้รับเงินผู้สูงอายุ 700
หลังการเกษียณ บาท/เดือน เงินผู้พิการ 800
บาท/เดือน มีเงินเดือนจากลูกชาย
ทำงานที่ต่างจังหวัด เดือนละ
3,000 บาท
3. สร้างความสะดวกสบายในการ 3. ผู้ป่วยมีเพื่อนบ้าน ที่คอยพาไป
ดำเนินชีวิต หาหมอและคอยดูแลช่วยเหลือ
และภรรยา

4. ดูแลกันระหว่างสามีภรรยา 4. ผู้ป่วยมีภรรยาที่คอยดูแลช่วย
เหลือกันและกัน ครอบครัวของผู้
ป่ วยรักใคร่กันดี
5. เตรียมพร้อมที่จะเผชิญกับการ 5. การเผชิญหน้ายอมรับความรู้สึก
สูญเสียคู่ชีวิต เหล่านีว้ ่าเป็ นเรื่องธรรมชาติจะ
ช่วยให้สามารถเดินหน้าต่อไปได้

6. คงรักษาความสัมพันธ์ที่ดีกับลูก 6. ผู้ป่วยอาศัยอยู่กับภรรยา 2 คน
หลาน ความสัมพันธ์รักใคร่กันดี

7. ดูแลญาติที่สูงอายุ 7. ผู้ป่วยไม่มีญาติผู้สูงอายุที่ต้อง
ดูแล
8. คงรักษาความสัมพันธ์กับบุคคล 8. ผู้ป่วยมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคล
อื่นในชุมชนสังคม อื่นในชุมชน
รายได้ของครอบครัว
กรณีศึกษา นายยศ รจนัย อายุ 73 ปี มีรายได้จากเงินผู้สงู อายุ 700
บาท/เดือน เงินผูพ
้ ิการ 800 บาท/เดือน และลูกชายคนโตคอยช่วยเรื่อง
ค่าจ่ายต่างๆ ประมาณ 3,000 บาท/เดือน ซึ่งไม่เพียงพอต่อการใช้จ่าย

จำนวนสมาชิกในครอบครัว
ตารางแสดง ชื่อ อายุ เพศ สถานภาพ ศาสนา การศึกษา อาชีพ รายได้
ภาวะสุขภาพปั จจุบันและความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว
ชื่อ – ความ อา การ อาชีพ สภาพ สิทธิ ภาวะ
นามสกุล สัมพันธ์กับ ยุ ศึกษา สมรส การ สุขภาพ
หัวหน้า รักษ
ครอบครัว า

นายยศ ร หัวหน้า 73 ป.4 ว่าง สมรส บัตร เจ็บป่ วย


จนัย ครอบครัว ( งาน ทอง ด้วยโรค
กรณีศึกษา) ประจำตัว
ความดัน
โลหิตสูง

นางทองดี ร ภรรยา 67 ป.4 ทำนา สมรส บัตร ปกติ


จนัย ทอง

นายคัมภีร์ ร บุตรชาย 50 ม.3 ค้าขาย สมรส บัตร ปกติ


จนัย ทอง

นางสุรี ร บุตรสาว 49 ป.6 รับจ้าง สมรส บัตร ปกติ


จนัย ทอง

นางวรรณี ร บุตรสาว 47 ป.6 ค้าขาย สมรส บัตร ปกติ


จนัย ทอง

นางสมบูรณ์ บุตรสาว 44 ปวส ค้าขาย สมรส บัตร ปกติ


รจนัย ทอง

นางสมศรี ร บุตรสาว 43 ปวส ค้าขาย สมรส บัตร ปกติ


จนัย ทอง

2. ข้อมูลการประเมินสภาพของสมาชิกในครอบครัว (บุคคลที่มีปัญหา
สุขภาพ)

2.1 ประวัติส่วนตัว (Personal health habits ) นายยศ รจนัย


อาชีพ: ว่างงาน
2.2 การวินิจฉัยแรกรับ (First diagnosis) Hypertension (โรคความ
ดันโลหิตสูง)
2.3 ประวัติการเจ็บป่ วยในปั จจุบัน (History of present illness :
PHI)
ผู้ป่วยเป็ นโรค ความดันโลหิตสูง รับยาทานต่อเนื่องที่ โรงพยาบาล
ศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ สื่อสารไม่ร้เู รื่อง E4V2M2 ผู้ป่วยไม่ขาดยา
ทานยาสม่ำเสมอ ประเมินความเครียด ST -5 ได้ 5 คะแนน พบมี
ความเครียดเล็กน้อย แนะนำออกกำลังกายสม่ำเสมอ ควบคุมอาหาร รับ
ประทานอาหารที่มีประโยชน์ มาพบแพทย์ตามนัดทุกครัง้
ประวัติการเจ็บป่ วยในอดีต (Past medical history:PMH) ปฏิเสธ
การเจ็บป่ วยด้วยโรคร้ายแรงอื่นๆ
ประวัติการแพ้ยาและการแพ้ (Medication and allergies) ปฏิเสธ
การแพ้ยาและสารอาหาร
ประวัติการตัง้ ครรภ์และการคลอด -
ประวัติครอบครัว (Family history) ปฏิเสธการเจ็บป่ วยในครอบครัว
ประวัติการรับภูมิคุ้มกัน ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
2.4 ข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง -
ความเชื่อทางด้านสุขภาพและพฤติกรรมอนามัย
ส่วนมากแล้วคนที่ทำหน้าที่ประกอบอาหารคือ นางทอง
ดี รจนัย (ภรรยา) ซึ่งชอบปรุงอาหารโดยการใส่ผงปรุงรสแต่ไม่ใส่ใน
ปริมาณมากและมีรสชาติที่ไม่เค็มมาก ชอบประกอบอาหารต้มเป็ นประจำ
บางครัง้ ก็ซ้อ
ื อาหารถุงมารับประทาน

2.5 ข้อมูลการตรวจร่างกาย
การตรวจ ผลการตรวจร่ายกาย
ร่างกาย
ตามระบบ
ลักษณะทั่วไป ผู้ป่วย ชายไทย อายุ 73 ปี รูปร่างอ้วน น้ำหนัก 80 kg.
ส่วนสูง 150 cm.
BMI = 35.56 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์เกินมาตรฐานอ้วนระดับ
3 ไม่สามารถเดินได้เคลื่อนไหวร่างกายข้างขวาได้ด้วย
ตนเอง ถามตอบไม่ร้เู รื่อง ผู้ป่วยให้ความร่วมมือ ระดับ
ดี T = 36.8 องศาเซลเซียส BP = 118/60 mmHg
P = 76 ครัง้ /นาที R = 20 ครัง้ /นาที
ผิวหนัง ผู้ป่วยมีสีผิว ดำแดง ความตึงตัวของผิวหนังน้อย ความ
ชุ่มชื้นลดลงตามวัย มี รอยโรคบริเวณผิวหนัง มี
เส้นเลือดหดและนูนขึน
้ บริเวณแขนด้านขวา
ผม ผมสีดำสัน
้ ศีรษะไม่แห้ง ไม่มีรังแค เส้นผมไม่แห้งกรอบ
ไม่พบรอยโรค
ศีรษะและหน้า ศีรษะและใบหน้าสมมาตรกันทัง้ 2 ด้าน รูปร่าง
สัณฐานปกติ ศีรษะไม่มีก้อน ไม่บวม ไม่มีรอยโรค
ตา ไม่มีอาการตาบวม ตา ทัง้ 2 ข้างสมมาตรกัน เปลือก
ตาทัง้ 2 ข้างสามารถปิ ดได้สนิทเมื่อหลับตา มีการกระ
พริบตาโดยอัตโนมัติ ลูกตาอยู่กลางเบ้าตา ม่านตาอยู่
ตรงลูกตา ลูกตาไม่โปนออก ตาขาวมีสีขาว มีเส้นเลือด
ฝอยเล็กน้อย เยื่อบุตาสีชมพู
หู ขอบใบหูด้านบนอยู่แนวเดียวกับระดับหางตา ไม่พบ
ก้อนเนื้อบริเวณหูด้าน นอก ไม่มีรอยโรค ไม่มีแก้วหู
อักเสบ ไม่มีหูน้ำหนวก หูทงั ้ 2 ข้างปกติ การได้ ยิน
ปกติ
คอ จมูก -ปี กจมูกและจมูกมีขนาดเหมาะสมเท่ากัน ไม่หุบบาน
มากขณะหายใจ ไม่มี ร่องรอยการอักเสบ ไม่บวม เยื่อบุ
จมูกสีชมพู ได้กลิ่นปกติ
-ไม่พบก้อนที่คอ และไม่พบคอแดง ไม่มีรอยโรคบริเวณ
จมูกด้านนอก ไม่มีสารคัดหลั่งภายในจมูก
ระบบหายใจ ทรวงอกมีขนาดสมมาตรกัน ทัง้ สองข้าง รูปร่างของ
ทรวงอกปกติ เสียง หายใจปกติ การเคลื่อนไหวของ
ทรวงอกสัมพันธ์กับการหายใจ อัตราการหายใจ 22
ครัง้ /นาที
ระบบทางเดิน หน้าท้องไม่โตขยายนูนกว่าปกติ ไม่เห็นเส้นเลือดดำ
อาหาร ขยายใต้ผิวหนัง ไม่มีท้องมารและตับโต ท้องมีรูปร่าง
ปกติ คลำไม่พบก้อน ไม่มีอาการปวดท้อง

ระบบทางเดิน ขับถ่ายปั สสาวะวันละ 5-6 ครัง้ ปั สสาวะมีสีเหลืองอ่อน


ปั สสาวะ บางครัง้ เป็ นสีเหลืองอ่อนใส ไม่มีอาการปั สสาวะแสบขัด

ระบบสืบพันธ์ ไม่มีโรคทางเพศสัมพันธ์
ระบบขับถ่าย ขับถ่ายเป็ นปกติ วันละ 1 ครัง้ อุจจาระเป็ นสีเหลือง
ก้อนไม่แข็ง
ระบบประสาท ผู้ป่วยรับรู้วันเวลา สถานที่ สามารถรับรู้ความรู้สึกร้อน
เย็น ได้ปกติ
ระบบกล้ามเนื้อ สามารถเคลื่อนไหวได้ด้วยตนเอง สามารถยกแขนและ
และกระดูก ขาได้1 ข้าง ง ไม่มีแข

เปรียบเทียบทฤษฎีกับกรณีศึกษา

ทฤษฎี กรณีศึกษา
Hypertension พยาธิสภาพ ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวเป็ น
ความดันโลหิตสูงจะทำให้เกิด Hypertension มา 4 ปี รับยาไม่
หลอด เลือดแข็งและตีบ เมื่อหัวใจ สม่ำเสมอ
บีบตัวหัวใจจะบีบเลือด ไปยัง
หลอดเลือดแดงทำให้เกิดความดัน
โลหิตซึ่งเกิด จากการบีบตัวของ
หัวใจและแรงต้านทานของหลอด
เลือด หัวใจคนเราเต้น 60-80
ครัง้ /นาที ความดันก็ จะเพิ่มขณะ
หัวใจบีบตัวและลดลงขณะที่หัวใจ
คลาย ตัว ความดันโลหิตของคน
-ผู้ป่วยชอบดื่มแอลกอฮอล์เป็ น
เราไม่เท่ากันตลอดเวลา ขึน
้ กับ
ประจำ ภรรยาบอกว่าใน 1
ความเคียด การออกกำลังกาย การ
สัปดาห์ด่ ม
ื แอลกอฮอล์ 5 วัน
นอนหลับ
-อายุมากขึน
้ 73 ปี

สาเหตุ
1.การสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์
2.การไม่ออกกำลังกาย
3.โรคเบาหวานเพราะก่อให้เกิด
การอักเสบตีบแคบ ของหลอด
เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย หน้ามืด วูบ
เลือดต่างๆรวมทัง้ หลอดเลือดของ
หมดสติ
ไต
4.การรับประทานอาหารไม่เหมาะ
สม
5.อายุมากขึน

6.การตีบตันของหลอดเลือดต่างๆ
อาการและอาการแสดง
1. ปวดศีรษะ อาการปวดศีรษะ
จากโรคความดัน โลหิตสูงพบได้ไม่
บ่อยนัก โดยทั่วไปจะ ปวดตึง
บริเวณท้ายทอย ต้นคอ มีอาการวิง
เวียน ศีรษะโดยเฉพาะเวลาตื่น
นอนในตอนเช้า โรคหลอดเลือดสมอง
2. ปวดศีรษะแบบไมเกรน
(migraine) หรือปวด ศีรษะข้าง
เดียว
3. เลือดกำเดาไหล เลิกสูบบุหรี่ แอลกอฮอล์
4. อาการอื่นๆ ที่อาจพบ ได้แก่ ได้รับยา
อ่อนเพลีย เหนื่อย ง่าย นอนไม่ -metoprolol
หลับ ใจสั่น อาจชัก หมดสติ เป็ น -Amlopine
อัมพาต และอาจเสียชีวิตได้ -Enaril
ภาวะแทรกซ้อน -Aspirin
โรคหัวใจวาย หัวใจล้มเหลว ไต
เสื่อม หัวใจขาดเลือด โรคหลอด
เลือดสมอง

การรักษา
การรักษาโดยไม่ใช้ยา
คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมกา
รดํารงชีวิต เช่น
-การควบคุมน้ำหนัก
-การออกกำลังสม่ำเสมอ
-การลดอาหารเค็ม
-การเลิกสูบบุหรี่ แอลกอฮอล์
การรักษาโดยการใช้ยา
ยาขับปั สสาวะ Diuretics เป็ นยาที่
ส่งผลต่อการทำงานของไต โดยจะ
ช่วยขับโซเดียมส่วนเกินและนํา
ออกจากร่างกาย รวมไปถึงลด
ความดันโลหิตลง
1.ยาในกลุ่มเบต้า บล็อกเกอร์
(Beta Blockers) เป็ นยาปิ ดกัน
้ )
การทํางานของเบต้ารีเซ็ปตอร์ที่ทํา
ให้หัวใจเต้นช้าและมีแรงต้านน้อย
ลง ส่งผลให้หัวใจบีบตัวในการส่ง
เลือดน้อยลง จึงช่วยในการลด
ความดันโลหหิตลงได้
1.ยาในกลุ่มเอซีอี อินฮิบิเตอร์
(Angiotensin -
ConvertingEnzyme Inhibitors:
ACE Inhibitors)
เป็ นยาที่ช่วยยับยัง้ ) การทํางาน
ของแองจิโอเทนซิน 2
(Angiotensin II)
ซึง่ เป็ นฮอร์โมนที่ทําให้หลอดเลือด
เกิดการตีบตันและเพิ่มความดัน
โลหิตให้สูงขึน

2.ยาในกลุ่มแคลเซียมแชนแนล
บล็อกเกอร์(Calcium Channel
Blockers) เป็ นยาที่ช่วยหลอด
เลือดคลายตัวเช่น ยาแฮมโลดิปีน
(Amlodipine) และยาติลไทอะ
เซม(Diltiazem)
3.ยาในกลุ่มแอลฟา-บล็อก
เกอร์(Alpha-blockers) ช่วยให้
กล้ามเนื้อคลายตัวและขยายหลอด
เลือดเพื่อให้เลือดไหลเวียนได้อย่าง
สะดวก เช่น ด็อกซาโซซิน
(Doxazosin) และยาพราโซซิน
(Prazosin)
4.ยาที่ออกฤทธิต่ออระบบประสาท
ส่วนกลาง (Centrally Acting
Agents) เพื่อช่วยระงับ สารสื่อ
ประสาทที่ทําให้หลอดเลือดตีบตัน
ซึง่ จะลดความดันโลหิตลง เช่น ยา
โคลนิดีน (Clonidineclonidine )
และเมทิลโดปา(Methyldopa)
แบบแผนในการดำเนินชีวิตประจำวัน 11 แบบแผน

แบบแผนที่ 1 แบบแผนการรับรู้สุขภาพ การดูแลตนเองและ


ครอบครัว
ก่อนเจ็บป่ วย: ผู้ป่วยรับรู้ว่าตนเองเป็ นโรคความดันโลหิตสูง
ขณะเจ็บป่ วย: ผู้ป่วยมีการดูแลตนเองโดยการรับประทานยา แต่รับ
ประทานยาไม่ต่อเนื่อง เนื่องจากพร่องความรู้ และไม่ตระหนักถึงความ
สำคัญในแผนการรักษาของแพทย์ผู้ป่วยขาดการดูแลสุขภาพอย่างเป็ น
กิจจะลักษณะ ไม่มี การควบคุมอาหาร ขาดการออกกำลังกาย

แบบแผนที่ 2 แบบแผนโภชนาการและการเผาผลาญอาหาร
ก่อนเจ็บป่ วย: ผู้ป่วยรับประทานอาหารทั่วไป รับประทานอาหารครบ 3
มื้อ ไม่มีปัญหาเรื่องการกลืน

ขณะเจ็บป่ วย: ผู้ป่วยรับประทานอาหารตรงเวลา ครบ 3 มื้อ โดยผู้ป่วย


เป็ นผู้ประกอบอาหารเอง อาหารที่ รับประทานเป็ นประจำ คือ อาหาร
ประเภท ผัด ทอด แกง ต้ม และลวกผัก มื้อเที่ยงบางวันจะรับประทาน
อาหาร เดิมซ้ำจากอาหารมื้อเช้า มื้อเย็นจะรับประทานอาหารที่ไม่หนัก
มาก ส่วนมากจะเป็ นต้มและนึง่ ชอบรับประทาน จุกจิก ทุกครัง้ หลังจาก
รับประทานอาหารเสร็จจะดื่มน้ำตามครัง้ ละประมาณ 1-2 แก้ว

แบบแผนที่ 3 แบบแผนการขับถ่าย
ก่อนเจ็บป่ วย: ผู้ป่วยปั สสาวะวันละ 4-5 ครัง้ /วัน และขับถ่ายอุจจาระวัน
ละ 1-2 ครัง้ ปั สสาวะมีสีเหลืองใส

ขณะเจ็บป่ วย: ผู้ป่วยปั สสาวะวันละประมาณ 5-6 ครัง้ ปั สสาวะมีสี


เหลือง ไม่มีอาการปั สสาวะแสบขัด

อุจจาระสีเหลือง ลักษณะก้อนไม่แข็ง

แบบแผนที่ 4 แบบแผนการทำกิจกรรมและการออกกำลังกาย

ก่อนเจ็บป่ วย: ผู้ป่วยมีการออกกำลังกายรอบ ๆ บ้าน ผู้ป่วยช่วยเหลือ


ตนเองได้

ขณะเจ็บป่ วย: ผู้ป่วยมีการออกกำลังกายรอบ ๆ บ้าน โดยมีการนั่งแกว่ง


แขนและมีการยืด เหยียดร่างกายทำเป็ นบางครัง้

แบบแผนที่ 5 แบบแผนการพักผ่อน นอนหลับ

ก่อนเจ็บป่ วย: ผู้ป่วยนอนหลับได้ดี ไม่ต่ น


ื เข้าห้องน้ำกลางคืน เข้านอน
เวลา 20:00 น. ตื่นเวลา 05:00 น.

ขณะเจ็บป่ วย: ผู้ป่วยเข้านอนเวลา เวลา 20:00 น. ตื่นนอนเวลา 06:00


น. (ผู้ป่วยนอนหลับพักผ่อนเป็ นเวลา 6-8 ชั่วโมง)

แบบแผนที่ 6 ความคิดและการรับรู้

ก่อนเจ็บป่ วย: ผู้ป่วยรู้ตัว รู้เรื่องดี ไม่มีอาการสับสน จำเรื่องราวต่างๆได้ดี


ขณะเจ็บป่ วย: ผู้ป่วยรับรู้วันสถานที่ได้ตามปกติไม่มีปัญหาเรื่องการได้ยิน
รวมไปถึงการสื่อสาร การมองเห็นภาพชัดเจนดี ไม่ได้ใส่แว่นตา

แบบแผนที่ 7 แบบแผนการรับรู้ และ อัตมโนทัศน์

ก่อนเจ็บป่ วย: ผู้ป่วยรับรู้ว่าตนเองเป็ นโรคความดันโลหิตสูง

ขณะเจ็บป่ วย: ผู้ป่วยรับรู้ว่าตนเองเป็ น โรคความดันโลหิตสูง ยอมรับการ


เจ็บป่ วยมีความรู้สึกและการดูแลสุขภาพที่ดีกับตนเอง คิดว่าตนเองมีค่า

แบบแผนที่ 8 แบบแผนบทบาทและสัมพันธภาพ

ก่อนเจ็บป่ วย: สมาชิกในครอบครัวรักใคร่กันดี

ขณะเจ็บป่ วย: ผู้ป่วยมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อสมาชิกในครอบครัว เมื่อผู้ป่วย


มีอาการเจ็บป่ วยจะมีภรรยาคอยดูแลเสมอ รายได้ของครอบครัวจะได้จาก
ผู้ป่วยได้รับเงินผู้สงู อายุ 700 บาท/เดือน เงินผู้พิการ 800 บาท/เดือน มี
เงินเดือนจากลูกชายทำงานที่ต่างจังหวัด เดือนละ 3,000 บาท ซึ่งไม่
เพียงพอต่อการใช้จ่าย สัมพันธภาพของสมาชิกในครอบครัวค่อนข้างดี มี
การช่วยเหลือดูแลซึ่งกันและกันโดยปกติ มีอารมณ์ดีอยู่เสมอ ไม่มีการ
ทะเลาะและไม่มีการแก้ปัญหาด้วยวิธีที่รุนแรงหรือผิด ใจกัน

แบบแผนที่ 9 แบบแผนเพศ และการเจริญพันธุ์

ก่อนเจ็บป่ วย: แสดงออกทางเพศได้เหมาะสม ไม่มีโรคทางเพศสัมพันธ์

ขณะเจ็บป่ วย: ไม่มีโรคทางเพศสัมพันธ์


แบบแผนที่ 10 แบบแผนการเผชิญไม่มีปัญหาความเครียด และการ
ทนต่อความเครียด

ก่อนเจ็บป่ วย: ผู้ป่วยเกิดความเครียดไม่บ่อย แต่เมื่อเกิดความเครียดผู้


ป่ วยจะเล่าให้ภรรยาฟั ง มักใช้วิธีคลายเครียดโดยการคุยเล่นกับเพื่อนบ้าน
และสังสรรค์ด่ ม
ื แอลกอฮอล์กับเพื่อนๆ

ขณะเจ็บป่ วย: ผู้ป่วยเกิดความเครียดไม่บ่อย แต่เมื่อเกิดความเครียดผู้


ป่ วยจะแสดงออกด้วยสีหน้าที่หงุดหงิดให้ภรรยาฟั ง มักใช้วิธีคลายเครียด
โดยการเงียบและทำใจให้สบายไม่คิดมาก

แบบแผนที่ 11 แบบแผนคุณค่าและความเชื่อ

ก่อนเจ็บป่ วย: ผู้ป่วยเชื่อว่าเมื่ออายุมากขึน


้ ร่างกายไม่แข็งแรงมักจะมีโรค
ตามมา

ขณะเจ็บป่ วย: ผู้ป่วยพร่องความรู้และไม่ตระหนักถึงความสำคัญของ


แผนการรักษาของแพทย์

สรุปแบบแผนที่มีปัญหา

แบบแผนที่ 1 แบบแผนการรับรู้สุขภาพ การดูแลตนเองและ


ครอบครัว

แบบแผนที่ 2 แบบแผนโภชนาการและการเผาผลาญอาหาร

แบบแผนที่ 5 แบบแผนการพักผ่อน นอนหลับ


แบบแผนที่ 10 แบบแผนการเผชิญไม่มีปัญหาความเครียด
และการทนต่อความเครียด

แบบแผนที่ 11 แบบแผนคุณค่าและความเชื่อ

บันทึกการเยี่ยมบ้านตามแนวทาง IN HOMESSS

1.Immobility Impairment ผู้ป่วยสามารถทำกิจวัตรประจำวัน


(การเคลื่อนไหวร่างกาย) ได้บางส่วน เช่น ทานข้าวได้เอง
ลุกนั่งบนที่นอนได้ และการ
ปั สสาวะ อุจจาระ การรับ
ประทานยา
2.Nutrition (โภชนาการ) ผู้ป่วยรับประทานอาหารพื้นบ้าน
รับประทานอาหารตรงเวลา และ
รับประทานอาหาร 3 มื้อ เช่น นึ่ง
ปลา น้ำพริก ต้มไก่ ต้มปลา
เป็ นต้น ส่วนสูง 150cm. หนัก 80
kg. ภาวะโภชนาการสูงกว่าปกติ
BMI = 35.56kg/m2
3.Housing สิ่งแวดล้อมภายในบ้านไม่เป็ น
(ภาวะแวดล้อมทั่วไป) ระเบียบ ของในบ้านไม่ค่อยจัดเป็ น
ระเบียบ
4.Other people ผู้ดูแล (Care giver) ชื่อ-สกุล นาง
(บุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง) ทองดี รจนัย 67 ปี
ความสัมพันธ์กับผู้ป่วย เป็ นภรรยา
สมาชิกในครอบครัว มีจำนวน 7
คน ได้แก่
นายยศ รจนัย (ผู้ป่วย)
นางทองดี รจนัย (มี
ความสัมพันธ์เป็ นภรรยา)
สมาชิกในครอบครัวรักใคร่กลม
เกลียว
5.Medication (การใช้ยา) รายการที่แพทย์สั่งให้

1. Amlodipine 1*1 pc ยา
รักษาความดันโลหิตสูง
6.Examination Vital Sign T=36.8 c PR=
76 /min
(ตรวจร่างกาย)
RR= 20 /min BP= 118/60
mmHg

3. ข้อมูลด้านสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมของครอบครัว

สภาพบ้านของผู้ป่วยเป็ นบ้าน 1 ชัน


้ มีพ้น
ื ที่กว้าง บริเวณรอบ ๆ
บ้าน ลักษณะบ้านเป็ นปูนชัน
้ เดียว ค่อนข้างไม่ค่อยเป็ นระเบียบ บ้านไม่
ค่อยข้างสะอาด มีห้องน้ำในบ้าน 1 ห้อง และมีห้องครัวที่ประกอบอาหาร
เป็ นสัดส่วน ภายในบ้านสะอาด ห้องน้ำถูกสุขอนามัย การจัดวางของไม่
ค่อยเป็ นระเบียบเรียบร้อย

4. ผลการวิเคราะห์ปัญหา

4.1 ปั ญหารายบุคคล

- ผู้ป่วยพร่องความรู้และไม่ตระหนักถึงความสำคัญในแผนการรักษาของ
แพทย์ และมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่เหมาะสมกับโรค

4.2 ปั ญหาภาพรวม -

4.3 กำหนดแผนการเยี่ยม

ครัง้ ที่ 1 วันที่ 30 พฤษภาคม 2566 เยี่ยมปั ญหา กรณีศก


ึ ษาเป็ นโรค
ความดันโลหิตสูง

ครัง้ ที่ 2 วันที่ 7 มีนาคม 2566 เยี่ยมปั ญหา กรณีศก


ึ ษาพร่องความรู้
และไม่ตระหนักถึงความสำคัญใน แผนการรักษาของแพทย์

ปั ญหา วัตถุประสงค์ วิธีการปฎิบัติ ผลการประเมิน

ผู้ป่วยอายุ 67 ปี -เพื่อให้ทราบ สร้าง ทราบข้อมูล


เป็ นโรคความ ข้อมูลเบื้องต้น สัมพันธภาพกับ เบื้องต้น ของผู้
ดันโลหิตสูง ของกรณีศึกษา ผู้ป่วยและญาติ ป่ วยและญาติ
และการให้การ -ซักประวัติส่วน
พยาบาลและคำ ตัวและประวัติ
แนะนำที่ถูกต้อง ครอบครัว
-ประเมิน
แบบแผน
สุขภาพ -ตรวจ
ร่างกายเบื้องต้น

ผู้ป่วยขาดความ -ผู้ป่วยมีความรู้ “ความดัน ผู้ป่วยรับฟั งและ


รู้เรื่องโรคความ เรื่องโรคความ โลหิต” ความดัน เข้าใจ
ดัน โลหิตสูง ดัน โลหิตมาก โลหิตของบุคคล
ขึน
้ จะเกี่ยวข้อง
สัมพันธ์กับ
ประสิทธิภาพ
การบีบ ตัวของ
หัวใจและแรง
ต้านการไหล
เวียนของ หลอด
เลือดส่วนปลาย
โดยความดัน
โลหิต คือ
ปริมาณเลือดที่
ออกจากหัวใจใน
1 นาที (cardiac
output) และ
ความต้านทาน
ของ หลอดเลือด
ส่วนปลายการมี
ระดับความดัน
โลหิตสูงเกิดจาก
การเพิ่มขึน
้ ของ
ปั จจัยใด ปั จจัย
หนึง่ หรือทัง้ สอง
ปั จจัย หรือจาก
ความ ล้มเหลว
ของกลไกการ
ปรับชดเชย
ปั จจัย หลักที่มี
ผลต่อการ
เปลี่ยนแปลง
ระดับความ ดัน
โลหิต ได้แก่
ระบบประสาท
ซิมพาธิติ
ก(Sympatheti
c nervous
system) ระบบ
เรนิน – แองจิโอ
เทนซิน
(reninangioten
sin system)
และระบบการ
ทำงานของไต
เป็ นแรงดันที่
ผลักต้านภายใน
หลอดเลือดใน
ระบบไหลเวียน
โลหิต มีค่า
ตัวเลข 2 ค่า
ได้แก่ ความดัน
โลหิตซีสโตลิก
เป็ นค่าความดัน
ขณะที่หัวใจบีบ
ตัวเพื่อสูบฉีด
เลือดไปเลีย
้ ง
ส่วนต่าง ๆ ของ
ร่างกาย ความ
ดันโลหิตไดแอส
โตลิก เป็ นค่า
ความ ดันขณะ
หัวใจคลายตัว
ความหมายของ
ค่าความดัน
โลหิตแต่ละ
ระดับ - ความ
ดันโลหิตซีสโต
ลิก

(มิลลิเมตร
ปรอท) น้อยกว่า
120 ความดัน
โลหิตปกติ 120-
139 ระดับก่อน
การเป็ นความ
ดัน โลหิตสูง
140 ขึน
้ ไป
ความดันโลหิต
สูง - ความดัน
โลหิตไดแอสโต
ลิก (มิลลิเมตร
ปรอท) น้อยกว่า
80 ความดัน
โลหิตปกติ 80-
89 ระดับก่อน
การเป็ นความ
ดันโลหิต สูง 90
ขึน
้ ไป ความดัน
โลหิตสูง สาเหตุ
ของภาวะความ
ดันโลหิตสูง
ภาวะความดัน
โลหิตสูง ไม่
ทราบสาเหตุที่
แน่ ชัด แต่มี
ปั จจัยร่วมบาง
อย่างที่ทำให้
ความดัน โลหิต
สูง โดยมากกว่า
ร้อยละ 90 ของ
ผู้ป่วย ความดัน
โลหิตสูงจะไม่
ทราบ

สาเหตุ

แต่อาจเกิดจาก
2 ปั จจัยคือ
พันธุกรรมและ
พฤติกรรม และ
น้อยกว่าร้อยละ
10 ของ ผู้ป่วย
ความดันโลหิต
สูงเป็ นความดัน
โลหิต สูงชนิดที่
ทราบสาเหตุ
เช่น ความดัน
โลหิต สูงจาก
การใช้ยาคุม
กำเนิดบางชนิด
หรือการ เกิด
เนื้องอกของ
ต่อมหมวกไต
เป็ นต้น

อาการและ
อาการแสดง

1. ปวดศีรษะมัก
พบในผู้ป่วยที่มี
ระดับความ ดัน
โลหิตสูงรุนแรง
โดยลักษณะ
อาการปวด
ศีรษะมักปวดที่
บริเวณท้ายทอย
โดยเฉพาะ เวลา
ตื่นนอนในช่วง
เช้าต่อมาอาการ
จะ ค่อยๆดีขน
ึ้
จนหายไปเอง
ภายในระยะ
เวลา ไม่กี่ชั่วโมง
และอาจพบมี
อาการคลื่นไส้
อาเจียน ตาพร่า
มัวร่วมด้วย โดย
พบว่า อาการ
ปวดศีรษะเกิด
จากมีการ

เพิ่มแรงดัน ใน
กะโหลกศีรษะ
มากในช่วงระยะ
เวลาหลัง ตื่น
นอนเนื่องจากใน
เวลากลางคืน
ขณะนอน หลับ
ศูนย์ควบคุมการ
หายใจในสมอง
จะลด การกระ
ตุ้นจึงทำให้มี
การคัง่ ของ
คาร์บอนไดออก
ไซด์มีผลทำให้
เส้นเลือดทั่ว
ร่างกายโดย
เฉพาะอย่างยิ่ง
ในสมองขยาย
ขนาดมากขึน
้ จึง
เพิ่มแรงดันใน
กะโหลกศีรษะ

2. เวียนศีรษะ
(dizziness) พบ
เกิดร่วมกับ
อาการปวด
ศีรษะ

3. เลือดกำเดา
ไหล (epistaxis)

4. เหนื่อยหอบ
ขณะทำงานหรือ
อาการ เหนื่อย
หอบนอนราบไม่
ได้แสดงถึงการมี
ภาวะหัวใจห้อง
ล่างซ้ายล้มเหลว

5. อาการอื่นๆที่
อาจพบร่วม
ได้แก่อาการ
เจ็บหน้าอก
สัมพันธ์กับภาวะ
กล้ามเนื้อหัวใจ
ขาดเลือดจาก
การมีเส้นเลือด
หัวใจตีบหรือ
จากการมีกล้าม
เนื้อหัวใจหนา
มากจากภาวะ
ความดันโลหิต
สูงที่เป็ นมา
นานๆ ดังนัน
้ ถ้า
มีภาวะความดัน
โลหิตสูงอยู่เป็ น
ระยะเวลานานๆ
จึงอาจมีผลต่อ
อวัยวะที่ สำคัญ
ต่างๆของ
ร่างกายทำให้
เกิดความ เสื่อม
สภาพถูกทำลาย
และอาจเกิด
ภาวะแทรกซ้อน
ตามมาได้

ภาวะแทรกซ้อน
1. สมอง ความ
ดันโลหิตสูง จะ
ทำให้ผนังหลอด
เลือด แดงที่ไป
เลีย
้ งสมองมี
ลักษณะหนาตัว
และ แข็งตัว
ภายในหลอด
เลือดตีบ

แคบรูของ
หลอดเลือดแดง
แคบลงทำให้
การไหลเวียน
เลือดไปเลีย
้ ง
สมองลดลงและ
ขาดเลือดไป
เลีย
้ ง ส่งผลให้
เกิดภาวะสมอง
ขาดเลือดไป
เลีย
้ งชั่วคราวผู้
ป่ วยที่มีภาวะ
ความดันโลหิต
สูงจึงมีโอกาส
เกิดโรคหลอด
เลือดสมอง
(stroke) ได้
มากกว่าบุคคล
ปกติ นอกจากนี ้
ยังทำให้มีการ
เปลี่ยนแปลงที่
ผนัง เซลล์สมอง
ทำให้เซลล์สมอง
บวมผู้ป่วยจะมี
อาการผิดปกติ
ของระบบ
ประสาทการรับ
รู้ ความทรงจำ
ลดลงและอาจ
รุนแรงเสียชีวิต
ได้ ซึ่งเป็ นสาเหตุ
การตายถึงร้อย
ละ 50 และมี
ผลทำให้ผู้ที่รอด
ชีวิตเกิดความ
พิการตามมา

2. หัวใจ ระดับ
ความดันโลหิต
สูงเรื้อรังจะส่ง
ผลทำให้ ผนัง
หลอดเลือดที่ไป
เลีย
้ งหัวใจหนา
ตัวขึน
้ ปริมาณ
เลือดเลีย
้ งหัวใจ
ลดลงหัวใจห้อง
ล่าง ช้ายทำงาน
หนักมากขึน
้ ต้อง
บีบตัวเพิ่มขึน

เพื่อต้านแรงดัน
เลือดในหลอด
เลือดแดงที่ เพิ่ม
ขึน
้ ดังนัน
้ ใน
ระยะแรกกล้าม
เนื้อหัวใจจะ
ปรับตัวจาก
ภาวะความดัน
โลหิตสูงโดย
หัวใจ บีบตัวเพิ่ม
ขึน
้ เพื่อให้
สามารถต้านกับ
แรง ต้านทานที่
เพิ่มมากขึน
้ และ
มีการขยายตัว
ทำ ให้เพิ่มความ
หนาของผนัง
หัวใจห้องล่าง
ซ้าย ทำให้เกิด
ภาวะหัวใจห้อง
ล่างซ้ายโต (left
ventricular
hypertrophy)
หากยัง ไม่ได้รับ
การรักษาและ
เมื่อกล้ามเนื้อ
หัวใจไม่
สามารถขยายตัว
ได้อีกจะทำให้
การทำงาน ของ
หัวใจไม่มี
ประสิทธิภาพ
เกิดภาวะหัวใจ
วายกล้ามเนื้อ
หัวใจขาดเลือด
หรือเกิดภาวะ
หัวใจล้มเหลว
และเสียชีวิตได้

3. ไต ระดับ
ความดันโลหิต
สูงเรื้อรังมีผล
ทำให้เกิด การ
เปลี่ยนแปลง
ของหลอดเลือด
ที่ไปเลีย
้ ง ไต
หนาตัวและแข็ง
ตัวขึน
้ หลอด
เลือดตีบแคบ ลง
ส่งผลให้หลอด
เลือดแดงเสื่อม
จากการ ไหล
เวียนของ
ปริมาณเลือดไป
เลีย
้ งไตน้อยลง
ประสิทธิภาพ
การกรองของ
เสียลดลงและทำ
ให้เกิดการคั่ง
ของเสีย ไตเสื่อม
สภาพ และเสีย
หน้าที่เกิดภาวะ
ไตวายและมี
โอกาส เสียชีวิต
ได้มีการศึกษา
พบว่าผู้ป่วยโรค
ความดันโลหิต
สูงประมาณร้อย
ละ 10 มัก เสีย
ชีวิตด้วยภาวะไต
วาย
4. ตา ผู้ป่วยที่มี
ภาวะความดัน
โลหิตสูงรุนแรง
และ เรื้อรังจะ
ทำให้มีผลต่อ
การ
เปลี่ยนแปลง
ของ ผนังหลอด
เลือดที่ตาหนา
ตัวขึน
้ มีแรงดัน
ใน หลอดเลือด
สูงขึน
้ มีการ
เปลี่ยนแปลง
ของ หลอดเลือด
ที่ไปเลีย
้ งตาตีบ
ลงหลอดเลือด
ฝอยตีบแคบ
อย่างรวดเร็วมี
การหดเกร็ง
เฉพาะที่อาจมี
เลือดออกที่จอ
ตาทำให้มีการ
บวมของจอภาพ
นัยย์ตาหรือจอ
ประสาทตา
บวม
(papilledema)
ทำให้การมอง
เห็น ลดลงมี
จุดบอดบางจุดที่
ลานสายตา
(scotomata)
ตามัวและมี
โอกาสตาบอดได้

5. หลอดเลือด
ในร่างกาย
ความดันโลหิต
สูงจากแรงต้าน
หลอดเลือด ส่วน
ปลายเพิ่มขึน

ผนังหลอดเลือด
หนาตัว จาก
เซลล์กล้ามเนื้อ
เรียบถูกกระตุ้น
ให้เจริญ เพิ่มขึน

หรืออาจเกิดจาก
มีไขมันไปเกาะ
ผนัง หลอดเลือด
ทำให้หลอด
เลือดแดง แข็ง
ตัว
(artherosclero
sis) มีการ
เปลี่ยนแปลง
ของผนังหลอด
เลือดหนาและ
ตีบแคบการไหล
เวียนเลือดไป
เลีย
้ งสมอง หัวใจ
ไตและตาลดลง
ทำให้เกิด ภาวะ
แทรกซ้อนของ
อวัยวะดังกล่าว
ตามมา ได้แก่
โรคหัวใจและ
หลอดเลือดโรค
หลอด เลือด
สมองและไตวาย
เป็ นต้น
วิธีการรักษา

1. การรักษาโดย
วิธีการใช้ยา
(pharmacologi
c treatment)
เป้ าหมายใน
การลดความดัน
โลหิตโดย การใช้
ยาคือการ
ควบคุมระดับ
ความดัน โลหิต
ให้ลดต่ำกว่า
140/90
มิลลิเมตร
ปรอท" โดยลด
แรงต้านของ
หลอดเลือดส่วน
ปลายและเพิ่ม
ปริมาณเลือด ที่
ออกจากหัวใจ
การเลือกใช้ยา
ในผู้ป่วยโรค
ความดันโลหิต
สูง จึงขึน
้ อยู่กับ
ความเหมาะสม
ของผู้ป่วยแต่ละ
รายและควร
พิจารณาปั จจัย
ต่างๆ ได้แก่
ความรุนแรงของ
ระดับ ความดัน
โลหิตปั จจัยเสี่ยง
ต่ออวัยวะสำคัญ
โรคที่มีอยู่เดิม
ปั จจัยเสี่ยงอื่นๆ

2. การรักษาโดย
ไม่ใช้ยาหรือการ
ปรับเปลี่ยน
แบบแผนการ
ดำเนินชีวิต
(lifestylemodi
fication) เป็ น
พฤติกรรม
สุขภาพที่ต้อง
ปฏิบัติเป็ น
ประจำสม่ำเสมอ
เพื่อลดระดับ
ความดันโลหิต
และป้ องกัน
ภาวะแทรกซ้อน
กับอวัยวะ
สำคัญ ควบคู่ไป
กับการรักษา
ด้วยยาผู้ป่วย จะ
ต้องมีพฤติกรรม
ส่งเสริมสุขภาพ
ที่ดี การดูแลผู้
ป่ วยความดัน
โลหิตสูง การ
ออกกำลังกาย
ควรเลือกออก
กำลังกายแบบ
แอโรบิค
(Aerobic
exercise) หรือ
การออกกำลัง
กาย แบบต่อ
เนื่อง ระดับการ
ออกกำลังกายที่
สามารถออกได้
คือ เบาถึงปาน
กลาง หลีกเลี่ยง
การออกกำลัง
กายที่หนักหรือ
หัก โหม บุหรี่
และสุรา ควรงด
สูบบุหรี่และงด
ดื่มสุรา
เนื่องจากทัง้
บุหรี่และสุราส่ง
ผลกระทบทาง
ลบต่อสุขภาพ
และระดับความ
ดันโลหิต การใช้
ยา รับประทาน
ยาอย่าง
สม่ำเสมอ ไม่
ปรับยาเอง การ
รับประทานยา
ต้องอยู่ภายใต้
การดูแล ของ
แพทย์ผู้รักษา
ควบคุมน้ำหนัก
พยายามควบคุม
น้ำหนักให้อยู่ใน
เกณฑ์ที่ เหมาะ
สม เลือกรับ
ประทานอาหาร
ที่มี ประโยชน์
ต่อร่างกาย รวม
ถึงการออกกำลัง
กายที่เหมาะสม

อาหารสำหรับผู้
ที่มีความดัน
โลหิตสูง

1. หลีกเลี่ยง
อาหารเค็มจัด
เพราะเกลือ
ทำให้ความตึงตัว
ของผนังหลอด
โลหิตแดง เพิ่ม
ขึน
้ ทำให้ความ
ดันเลือด
Diastolic สูงขึน

2. อาหารพวก
เนื้อสัตว์ ไข่ นม
ถั่วเมล็ด ซึง่ เป็ น
อาหารพวก
โปรตีน ถ้าไตทำ
หน้าที่ได้ ตาม
ปกติก็ไม่ต้อง
ลดลง แต่ถ้ามี
อาการทาง ไต
แทรกซ้อน ต้อง
ลดโปรตีน

3. อาหารไขมัน
อยู่ระดับกลาง
ค่อนข้าง ต่ำ
ควรหลีกเลี่ยงไข
มันจากสัตว์และ
พวก กะทิ

4. อาหารหวาน
จัด เช่น ขนม
หวานทุก ชนิด
พยายามหลีก
เลี่ยงให้มากที่สุด
เพราะ จะทำให้
น้ำหนักตัว และ
ระดับไขมันใน
เลือด เพิ่มขึน

5. เครื่องดื่ม
ต่างๆ เช่น ชา
กาแฟ ซึง่ มี สาร
คาฟอีนสูง
กระตุ้นให้หัวใจ
ทำงานหนัก ขึน

สูบฉีดโลหิตแรง
ขึน
้ เป็ นอันตราย
สำหรับ ผู้มี
ความดันโลหิต
สูง

6. เครื่องดื่มที่มี
แอลกอฮอล์ เช่น
เหล้า เบียร์ จะ
ทำให้หลอด
เลือดขยายตัว
การ ไหลเวียน
ของโลหิตเร็ว
และแรงขึน

หัวใจ ต้อง
ทำงานหนักและ
แรงโลหิตจะพุ่ง
สูงขึน
้ นับว่าเป็ น
อันตรายยิ่ง ควร
งดเด็ดขาด และ
งดสูบบุหรี่
ผู้ป่วยพร่อง ผู้ป่วยมีความรู้ 1. ให้ความรู้ ให้ ผู้ป่วยรับทราบ
ความรู้และไม่ และตระหนักถึง ผู้ป่วยตระหนัก และ เข้าใจ
ตระหนักถึง ความสำคัญใน ในการดูแล
ความสำคัญใน แผนการรักษา ตนเอง คือ ให้
แผนการรักษา ของ แพทย์ รับประทานยา
ของแพทย์ อย่างต่อเนื่อง
แม้ไม่มีอาการ
หากหยุดยาเอง
อาจทำให้ ความ
ดันค่อยๆสูงขึน

เนื่องจากยาลด
ความ ดันโลหิต
มีฤทธิไ์ ม่ยาว มี
ฤทธิไ์ ม่เกิน 1
วัน ดันนัน
้ ต้อง
รับประทานยา
ทุกวันเป็ น
ประจำ จึงช่วย
ลดอัตราเสี่ยงใน
การเกิดโรค
หลอด เลือด
สมอง

2. แนะนำวิธี
การรับประทาน
ยาให้มี
ประสิทธิภาพ -
รับประทานยา
สม่ำเสมอตาม
แพทย์สั่ง - รับ
ประทานยาให้
ตรงเวลา เพื่อให้
ยาออก ฤทธิ ์
สม่ำเสมอ - ยา
ลดความดันที่
แพทย์สั่งให้กิน
ก่อน อาหารครึ่ง
เม็ด ตื่นนอนมา
รับประทานเลย
ให้ด่ ม
ื น้ำตา
มมากๆ เพื่อไม่
ให้ยาตกตะกอน

3.แนะนำวิธี
เตือนไม่ให้ลืมกิน
ยา - ก่อนรับ
ประทานอาหาร
เตรียมยามาไว้
เลย จะตัง้ น้ำไว้
แก้วหนึ่ง ถ้าน้ำ
ไม่ยุบแสดงว่ายัง
ไม่ได้รับประทาน
ยา - จัดยาใส่
กล่องรับ
ประทานตาม
เวลา ถ้ามา เปิ ด
ดูว่ายายังเหลือ
อยู่ แสดงว่ายัง
ไม่ได้ รับ
ประทาน - เขียน
เตือนมน
ตำแหน่งที่เห็น
ง่าย - ห้ามหยุด
ยาหรือลดขนาด
ยาเอง เพราะมี
ผลทำให้ความ
ดันโลหิตสูงขึน

ได้ มีโอกาส เกิด
โรคหลอดเลือด
ในสมองแตก
เป็ นอัม พฤกษ์
อัมพาตได้

4.หากลืมรับ
ประทานยา ให้
รับประทาน
ทันทีที่นึกได้
และไม่ซ้ำกับมื้อ
ถัดไป ถ้าเวลา
ไกล้ม้อ
ื ถัดไปให้
ข้ามไปรับ
ประทานมื้อต่อ
ไป เลย โดยไม่
ต้องเพิ่มปริมาณ
ยาเป็ น 2 เท่า
ผู้ป่วยมี พื่อให้ผป
ู้ ่ วย ให้ความรู้และคำ ผู้ป่วยรับทราบ
พฤติกรรมการ ทราบ ถึงอาหาร แนะนำแก่ผป
ู้ ่ วย และ เข้าใจ
บริโภคอาหารที่ ที่ควร บริโภค เกี่ยวกับ การรับ
ไม่เหมาะสมกับ และอาหาร ที่ ประทานอาหาร
โรคที่ตนเอง เหมาะสมกับ ที่ดีต่อสุขภาพ
เป็ นอยู่ โรค ที่ผู้ป่วยเป็ น อาหารที่เหมาะ
สมกับโรค อาทิ

1) จำกัด
ปริมาณโซเดียม
ในอาหาร
โซเดียมเป็ นแร่
ธาตุชนิดหนึ่งพบ
ได้ใน อาหาร ซึง่
อาหารตาม
ธรรมชาติจะมี
โซเดียมอยู่ใน
ปริมาณน้อย แต่
อาหารแปร รูป
สำเร็จรูป เบเก
อรี่ และเครื่อง
ปรุงต่าง ๆ จะมี
โซเดียมปริมาณ
มาก ผู้ที่มีความ
ดัน โลหิตสูงไม่
ควรได้รับ
โซเดียม เกิน
2400 มิลลิกรัม
ต่อวัน

ดังนัน
้ จึง
แนะนำให้หลีก
เลี่ยงการปรุง
อาหารด้วย
เครื่องปรุงรส
เค็ม เลี่ยง

อาหารแปรรูป
เลี่ยงการใช้ผง
ปรุงรส และ
เลี่ยงการซด น้ำ
ซุปน้ำแกงต่าง
ๆ รวมทัง้ เลี่ยง
อาหาร รสจัด ผู้
ป่ วยที่ไม่มีปัญหา
การทำงานของ
ไตลดลงอาจ
เลือกใช้เครื่อง
ปรุงลดโซเดียม
ได้

2) รับประทาน
ข้าว ธัญพืชไม่
ขัดสี ปริมาณที่
แนะนำคือ 6 –
8 ส่วน/วัน (เช่น
ข้าวกล้อง 6 – 8
ทัพพี) เลือก
แบบไม่ขัด สีเพื่อ
เพิ่มใยอาหาร
ซึง่ ใยอาหารจะ
ช่วย ลดการดูด
ซึมไขมันเข้าสู่
กระแสเลือด จึง
ช่วยควบคุมไข
มันในเลือด
นอกจากนีใ้ ย
อาหารยังช่วยให้
อาหารอยู่ท้องได้
นาน ทำ ให้ไม่
หิวบ่อย ช่วย
ควบคุมน้ำหนัก
ตัวได้

3) เพิ่มผักใน
อาหารทุกมื้อ ผู้
ป่ วยรับฟั งและ
เข้าใจ 17
ปริมาณแนะนำ
4 – 5 ส่วน/วัน
(เช่น ผัก สด 4
– 5 ถ้วยตวง)
ในผักอุดมไป
ด้วย
โพแทสเซียม
และแมกนีเซียม
ซึง่ เป็ นแร่ ธาตุที่
มีผลช่วยควบคุม
ความดัน โลหิต
ควรเลือกผักให้
หลากสีและ
หลาก ชนิด

4) รับประทาน
ผลไม้
ปริมาณแนะนำ
4 – 5 ส่วน/วัน
(ผลไม้6 – 8 ชิน

คำ หรือผลเท่า
กำปั ้ น 1 ผล
เท่ากับ 1 ส่วน)
ซึง่ ผลไม้อุดมไป
ด้วย วิตามินและ
แร่ธาตุ รวมถึง
โพแทสเซียม
และแมกนีเซียม
ด้วย

5) รับประทาน
เนื้อสัตว์ไขมัน
ต่ำ การเลือก
เนื้อสัตว์ไขมัน
ต่ำจะช่วยลด
ปริมาณไขมัน
อิ่มตัวและ
คอเลสเตอรอล
ซึง่ จะพบมากใน
ไขมัน จากสัตว์
ไขมันเหล่านีเ้ พิ่ม
ความเสี่ยงต่อ
การเกิดโรค
หลอดเลือดมาก
ขึน
้ ได้ ส่งผล ต่อ
การเพิ่มความ
ดันโลหิต
ปริมาณ แนะนำ
6 ส่วน/วัน (เช่น
เนื้อสัตว์12 ช้อน
โต๊ะ/วัน)

6) รับประทาน
ถั่วเปลือกแข็ง
และถั่ว เมล็ด
แห้ง ปริมาณ
แนะนำ 4 – 5
ส่วน/ สัปดาห์
(ประมาณ 4 – 5
กำมือ/สัปดาห์)
เนื่องจากถั่วมีแร่
ธาตุ
โพแทสเซียม
และแมกนีเซียม
สูง รวมทัง้ มีใย
อาหารด้วย ทัง้ นี ้
ถั่วมีปริมาณไข
มัน 18 สูง แม้ว่า
ไขมันจากถั่วจะ
เป็ นไขมันที่ดีแต่
หากรับประทาน
มากเกินไปอาจ
ทำให้ น้ำหนัก
เพิ่มขึน
้ ได้

7) จำกัดไขมัน
ในอาหาร 2 – 3
ส่วน/วัน (น้ำมัน
2 – 3 ช้อน ชา)
เนื่องจากไขมัน
ส่งผลต่อการเพิ่ม
ความ ดันโลหิต
ได้วิธีการเลี่ยงไข
มันคือ เลือก
เมนูอาหารที่ปรุง
ด้วยวิธีที่ไม่ใช้
น้ำมัน เช่น การ
ต้ม นึ่ง อบ
เป็ นต้น เลี่ยง
อาหารทอด
อาหารใส่กะทิ
และเลือกใช้
น้ำมันที่มีไขมัน
ไม่อิ่มตัวสูง เช่น
น้ำมันรำ ข้าว
น้ำมันมะกอก
น้ำมันถั่วลิสง
น้ำมัน ดอก
ทานตะวัน
เป็ นต้น

8) ดื่มนมไขมัน
ต่ำ นมเป็ น
อาหารที่มี
แคลเซียมสูง
ช่วยใน การ
ควบคุมความ
ดันโลหิตได้
นอกจากนี ้
แคลเซียมจาก
นมยังสามารถ
ดูดซึมไป ใช้ได้ดี
ปริมาณแนะนำ
คือ 2 – 3
ส่วน/วัน (เช่น
นม 2 – 3
แก้ว/วัน) ควร
เลือกนมรสจืด
เพื่อหลีกเลี่ยง
การได้รับ
ปริมาณน้ำตาล
มากเกินไป
5.การปฏิบัติตามแผน

5.1 สถาณการณ์และสิ่งที่พบขณะเยี่ยมบ้าน ( ครัง้ ที่ 1)

วันแรกที่นักศึกษาพยาบาลเข้าเยี่ยมบ้าน ผู้ป่วยซึ่งอาศัยอยู่ใน
ชุมชน สังเกตเห็นว่าบ้านเป็ นบ้านปูนหนึง่ ชัน
้ ไม่มีรว
ั ้ หน้า บ้าน บริเวณ
หน้าบ้านติดถนนเมื่อนักศึกษาพยาบาลไปถึงหน้าบ้าน ได้สอบถามชื่อ
และได้ทำการแนะนำตัวว่าเป็ นนักศึกษา พยาบาลศาสตร์ชน
ั ้ ปี ที่3 มาจาก
หาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนาจังหวัดศรีสะเกษ ฝึ กงานอยู่ที่โรงพยาบาลส่ง
เสริมสุขภาพตำบลบ้านแทง และขออนุญาต สอบถามถึงผู้ป่วยกรณีศึกษา
และได้ทำการซักประวัติผู้ป่วยบริเวณบ้านตรงข้าม และได้พูดคุยซักถาม
ข้อมูลกับผูป
้ ่ วย ผู้ป่วยมี ท่าทางที่เป็ นมิตรยิม
้ แย้มแจ่มใส ผู้ป่วยให้ความ
ต้อนรับ และให้ความร่วมมือในการซักถามข้อมูลเป็ นอย่างดี Vital signs:
T= 36.8c, P=76 /min, R = 20/min, BP = 118/60 mmHg

วันที่เยี่ยม ปั ญหา ข้อมูลจาก ผู้เยีย


่ ม ผลการเยี่ยม
การเยี่ยม
และการ
ช่วยเหลือ
ครัง้ ที่ 1 สร้าง แจ้ง นักศึกษา ผู้ป่วยรับ
วันที่ 30 สัมพันธภาพ วัตถุประสงค์ พยาบาล ทราบ
มิถุนายน 25 กับผู้ป่วย ให้ข้อมูลใน ชัน
้ ปี ที่ 3 วัตถุประสงค์
66 เยี่ยมบ้าน ในการเยี่ยม
กรณีศึกษา
1.รวบรวม
ข้อมูลและ
ประเมิน
แบบแผน
การดำเนิน
ชีวิตของ
ครอบครัว

2.รวบรวม
ข้อมูลผัง
เครือญาติ
ของ
ครอบครัว

3.ตรวจ
ร่างกายตาม
ระบบของผู้
ป่ วย
5.2 กิจกรรมการพยาบาลและคำแนะนำที่ให้

ข้อวินิจฉัย
ทางการ
พยาบาล
และข้อมูล
สนับสนุน

You might also like