You are on page 1of 47

Case study

ั้ ที่3
นักศึกษาพยาบาลศาสตร ์ชนปี
เริ่มศึกษา: 3 สิงหาคม 2563 ว ันสินสุ
้ ดการศึกษา: 20
สิงหาคม 2563 รวมระยะเวลาที่ศึกษา 3 สัปดาห ์
อาจารย ์นิ เทศ: อาจารย ์ยุวดี งอมสงัด
รายวิชา ฝึ กปฏิบตั ิการพยาบาลอนามัยชุมชน 1
มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา

1. ข้อมู ลทัวไปของครอบครั

ที่อยู ่ 89 หมู่ 1 ตำบลโพนเขวา อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ


สถานที่ใกล้เคียง วัดบ ้านโพนเขวา
ประเภทของครอบครัวตามลักษณะโครงสร้าง และแผนภู มิ
ครอบครัว
ครอบครัวของผู ้ป่ วยเป็ นลักษณะของครอบครัวขยาย ประกอบ
ไปด ้วย
แผนผังเครือข่าย
เค้าโครงเนื ้ อหาสองส่วนที่มีตาราง
o สัญลักษณ์แสดงหัวข ้อย่อยแรกที่นี่ ั้ ่
ชนที กลุ่ม 1 กลุ่ม 2
o สัญลักษณ์แสดงหัวข ้อย่อยที่สองที่นี่ ้ ่ 1
ชันที 82 95
o สัญลักษณ์แสดงหัวข ้อย่อยที่สามที่นี่ ้ ่ 2
ชันที 76 88

้ ่ 3
ชันที 84 90
พัฒนกิจของครอบครัวในระยะที่ศึกษา
พัฒนกิจของครอบครัวและทฤษฎี พัฒนกินครอบครัวของผู ป ้ ่ วย
7. ครอบครัว ระยะ วัยกลางคน เมื่อเปรียบเทียบกับทฤษฎีพฒั นาการตาม
(families of middle years) เป็ น แนวคิดทฤษฎีของดูวาลล ์ อยู่ในพัฒนกิจ
ช่วงที่บุตร แยกไปหมดแล้ว “รังร้าง” ระยะที่ 7 ครอบครัวระยะวัยกลางคน
มีพ่อแม่หรือสามีภรรยา อยู ่ดว้ ยกน ั (families of middle years) คือ
เพียงสองคน และเตรียมตัวเกษี ยณ ครอบครัววัยกลางคนที่มีอายุประมาณ
จาก หน้าที่การงาน โดยทัวไประยะนี
่ ้ 45-64 ปี ผูป้ ่ วยอายุ 47 ปี ผูด้ แู ลอายุ
จะเริ่มเมื่อพ่อแม่ อายุประมาณ 45- 48 ปี มีลก ู สาว ลูกเขย ลูกชาย
55 ปี สินสุ้ ดลงเมื่อเริ่มเกษี ยณ จาก
งาน แต่ในปั จจุบน ั จะมีบา้ งที่บาง
ครอบครัว
พัฒนกิจของครอบครัวและทฤษฎี พัฒนกินครอบครัวของผู ป
้ ่ วย
มีบุตรแต่งงานและยังคงให้การช่วย
เหลือไม่วา ่ จะเป็ นเรื่องการเงิน สิ่งของ
การช่วยดู แลหลาน เหล่านี ้ เป็ นต้น

ซึงอาจเป็ นผลดีทางด้านจิตใจพ่อ แม่
มีความรู ส ้ ึกอบอุน่ ใกล้ชดิ ไม่เหงาและ
รู ส
้ ึกยังมี คุณค่าในตนเอง มีความ
หมาย ในทางตรงกน ั ข้าม พ่อแม่อาจ
จะรู ส ้ ึกลำบากเหนื่ อยหนักต่อภาระ
หน้าที่ความรับผิดชอบต่อบุตรที่ไม่สิน ้
สุด
พัฒนกิจของครอบครัวและทฤษฎี พัฒนกินครอบครัวของผู ป ้ ่ วย
1. ส่งเสริมดู แลสุขภาพให้สมบู รณ์แข็งแรง 1. ผูป้ ่ วยไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกาย
ไดhตามปกติ
แต่มีน้ำหนักตัวตามเกณฑ ์มาตรฐาน
BMI =20.31 kg/m2
รับประทานอาหารทางสายให ้อาหารครบ
3 มือ้
พัฒนกิจของครอบครัวและทฤษฎี พัฒนกินครอบครัวของผู ป
้ ่ วย

2. มีการปรับเปลี่ยนกิจกรรมให้เหมาะ 2. ผูป้ ่ วยไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได ้


สม มีส่วนในกิจกรรมทางสังคมและ ด ้วยตัวเองไม่สามารถทำกิจกรรมและ
สันทนาการมากขึน ้ สันทนาการได ้เนื่ องจากผูป้ ่ วยเป็ นคนไข ้
ติดเตียง
ึ่
3. คงไว้ซงการสื ่อสารและสัมพันธภาพ 3. คงไว ้ซึงการสื
่ ่อสารและสัมพันธภาพที่ดี
ที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว ระหว่างสมาชิกในครอบครัว
พัฒนกิจของครอบครัวและทฤษฎี พัฒนกินครอบครัวของผู ป
้ ่ วย

4. มีการวางแผนสำหรับอนาคตในการ 4. ผูป้ ่ วยไม่สามารถเคลื่อนไหวได ้เอง


ดำเนิ นชีวิตหลังการเกษี ยณอายุ E4VTM6
ไม่ได ้มีการวางแผนถึงเรื่องอนาคต

ึ่ มพันธภาพและความพึง
5. คงไว้ซงสั 5. ผูป้ ่ วยสถานะสมรส สามีดแู ลรักใคร่กน

พอใจของคู ส ่ มรส เนื่ องจากระยะนี ้ เป็ น ดี
ระยะที่ยาวที่สุดของชีวิตครอบครัว
รายได้ของครอบครัว

o กรณี ศึกษานางทองสุข โพธิขาว ์ มีรายได้เพียงพอ โดยมีพี่สาวและสามีเป็ นคน


จ ัดการค่าใช้จา ้
่ ยทังหมด ไม่มีปัญหาเรื่องการเงิน ค่าใช้จา
่ ยส่วนมากอยู ่กบ
ั ค่า
อาหารเสริม ค่าทำกายภาพบำบัดทุกวน ั เสาร ์ และค่าไปพบแพทย ์ที่โรงพยาบาล
o รายได้เฉลี่ยของผู ป ้ ยงคนพิ
้ ่ วยประมาณ 1800 บาท ค่าเบียเลี ้ การ 800 บาท เงิน
สนับสนุ น อสม.1000 บาท
นายหนู แสงขาว สามี รายได้เฉลี่ย 14,000 บาท

นางรัตติยาภรณ์ โพธิขาว บุตรสาว เป็ นแม่บา้ น เป็ นผู ด
้ ู แลหลักของผู ป
้ ่ วย
ไม่มีรายได้
นายภัทรพล ์
โพธิขาว ่
บุตรชาย รับจ้างทัวไป รายได้เฉลี่ย 9,000 บาท
 
ข้อมู ลสมาชิกในครอบครัว

ชือ่ – ความสัมพันธ ์ อายุ เพศ สถานภา สิทธิการ การ อาชีพ ภาวะ


นามสกุล กับหัวหน้า พ รักษา ศึกษา สุขภาพ
ครอบครัว
นายหนู แสง หัวหน้า 48 ชาย สมรส ประกัน ม.6 พนักงาน สุขภาพ
ขาว ครอบครัว สังคม ของรัฐ ร่างกาย
แข็งแรงดี
นางทองสุข ภรรยา 47 หญิง สมรส บัตรทอง ป.4 พิการ ผูป่้ วยติด

โพธิขาว เตียง
นายภัทรพล บุตรชาย 28 ชาย โสด บัตรทอง ม.6 รับจ ้าง สุขภาพ

โพธิขาว ่
ทัวไป ร่างกาย
แข็งแรงดี
นางรัตติยาภ บุตรสาว 24 หญิง โสด บัตรทอง ม.6 ผูดู้ แล สุขภาพ

รณ์ โพธิขาว หลักไม่ได ้ ร่างกาย
ทำงาน
แข็งแรงดี
2. ข้อมู ลการประเมินสภาพของสมาชิกทุกคนใน
ครอบครัว(บุคคลที่มีปัญหา)
2.1 ชือ-สกุ่ ล นางทองสุข โพธิขาว ์ อายุ 47 ปี ได ้รับอุบต ั ิเหตุรถจักรยานยนต ์ชนกับ
รถกระบะ ศีรษะได ้รับการกระทบกระเทือนได ้เข ้ารับการรักษาและผ่าตัดเปิ ดกะโหลกศีรษะ
เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2562
2.2 ข้อมู ลพืนฐานด้ ้ านสุขภาพ
- ประวตั ิการเจ็บป่ วยในอดีต ปฏิเสธการเจ็บป่ วยในอดีต
- ประวต ั ิการเจ็บป่ วยในปั จจุบน ั ผูป้ ่ วยหญิงไทยอายุ 47 ปี ได ้รับ
อุบต ั ิเหตุรถจักรยานยนต ์ชนกับรถกระบะ ศีรษะได ้รับการกระทบกระเทือนไม่รสึ ู ้ กตัว ได นำ
้ ส่ง
โรงพยาบาลศรีสะเกษ โรงพยาบาลศรีสะเกษไดทำ ้ การส่งต่อโรงพยาบาลสรรพสิทธิ ์ เข ้ารับ
การผ่าตัดเปิ ดกะโหลกศีรษะ เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2562 Admid อยู่โรงพยาบาลสรรพ
สิทธิ ์ 1 เดือน อาการดีขน ึ ้ จึงได ้ส่งตัวมารักษาต่อที่โรงพยาบาลศรีสะเกษ 1 เดือน อาการ
ดีขนจึึ ้ งให ้กลับมาดูแลต่อที่บ ้าน ปัจจุบน ั ผูป้ ่ วยอาศัยอยู่บ ้านเลขที่ 89 หมู่ 1 บ ้านโพนเขวา
เป็ นผู ้ป่ วยติดเตียง ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได ้ ADL = 0 คะแนน มีแผลกดทับบริเวณ
ก ้นกบ Grade 2 บริเวณก ้น Grade 4 On Retained Foley’s catheter Urin Output
800-1200 cc สีเหลืองใส ไม่มีตะกอน
- ประวต ้
ั การตังครรภ ์ G2P2A0L2 การเจริญเติบโตปกติ พัฒนาการ
สมวัย
- ประวต ั ิการรับภู มิคม
ุ ้ กน ั ได ้รับวัคซีนครบตามเกณฑ ์

2.3 ข้อมู ลอืนๆ ที่เกียวข้
่ อง
แบบแผนในการดาเนิ นชีวิตประจำวัน 11 แบบแผน
แบบแผนที่ 1 แบบแผนการรับรู ส
้ ุขภาพ การดู แลตนเองและครอบครัว
ผู ้ป่ วยรับรูว่้ าตนเองประสบอุบต
ั ิเหตุ ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได ้ ต ้องมีญาติคอย
ดูแล ช่วยเหลือ
แบบแผนที่ 2 แบบแผนโภชนาการและการเผาผลาญอาหาร
ผู ้ป่ วยรับประทานอาหารตรงเวลา ครบ 3 มือ้ โดยมีลก ู สาว เป็ นคนให ้อาหารทาง
้ งจากรับประทานอาหารเสร็จจะดื่มน้ำตามครังละประมาณ
สายยาง ทุกครังหลั ้ 50cc
แบบแผนที่ 3 แบบแผนการข ับถ่าย

ผู ้ป่ วยปัสสาวะประมาณ 800-1200 ใน 8 ชัวโมง ปัสสาวะมีสีเหลือง ไม่มีตะกอน
อุจจาระสีเขียว ลักษณะเหลว สมาชิกในครอบครัวไม่มีปัญหาเรื่องการปัสสาวะและอุจจาระไม่มี
การใช ้ยาระบาย
แบบแผนที่ 4 แบบแผนการทำกิจกรรมและการออกกาลังกาย
ผู ้ป่ วยไม่สามารถทำกิจกกรรมและออกกำลังกายได ้ต ้องมีญาติคอยบีบนวด ทำ
กายภาพบำบัดอาทิตย ์ละ 1 ครัง้ สมาชิกในครอบครัวไม่ได ้มีการออกกำลังกาย นอกจากการ
ทำงาน
แบบแผนที่ 5 แบบแผนการพักผ่อน นอนหลับ
ผู ้ป่ วยเข ้านอนเวลา 21.00 น. จะตื่นนอนเวลา 06.00 น. (ผูป้ ่ วยนอนหลับพัก
ผ่อนเป็ นเวลา 9-14 ชัวโมง) ่ ผูป้ ่ วยหลับสนิ ทดี ไม่มีอาการสะดุ ้งตื่นในช่วงตอนกลางคืน
ลูกจะเปิ ดเพลงให ้ฟังเพื่อให ้รูว่้ าผูป้ ่ วยไม่โดดเดี่ยวหรืออยู่บ ้านคนเดียวเพียงลำพัง หลังจากรับ
ประทานอาหาร รับประทานยา ก็จะนอนหลับพักผ่อนประมาณ 1-2 ชม.
สมาชิกในบ ้านไม่มีปัญหาการนอนหลับ สภาพภายในบ ้านเงียบสงบไม่มีสิ่งรบกวน
เหมาะแก่การพักผ่อน
แบบแผนที่ 6 ความคิดและการรับรู ้
ผู ้ป่ วยรับรูวั้ นสถานที่ ไม่มีปัญหาเรื่องการได ้ยิน การสื่อสารตอบสนองโดยการกระพริบ
ตา การมองเห็นภาพชัดเจนดี ไม่ได ้ใส่แว่นตา ผูป้ ่ วยไม่สามารถตัดสินใจทำและพูดสิ่งต่างๆได ้
สมาชิกในครอบครัวไม่มีปัญหาในเรื่องของการได ้ยิน และ การมองเห็น
แบบแผนที่ 7 แบบแผนการรับรู ้ และ อ ัตมโนทัศน์
เนื่ องจากผู ้ป่ วยประสบอุบต
ั ิเหตุทางสมอง รับรูวั้ นเวลาสถานที่ สื่อสารโดยการกระพริบ
ตา
สมาชิกในครอบครัวรับรูภาวะการเจ็
้ บป่ วยของผูป้ ่ วย  
แบบแผนที่ 8 แบบแผนบทบาทและสัมพันธภาพ
ผูป้ ่ วยมีความสัมพันธ ์ที่ดีตอ
่ สมาชิกในครอบครัว เมื่อผูป้ ่ วยมีอาการเจ็บป่ วยจะมีสามีและ
ลูกสาวจะคอยดูแลเสมอ รายได ้ของครอบครัวจะได ้จากพี ่สาวและสามี ซึงเพี ่ ยงพอต่อการใช ้
จ่าย สัมพันธภาพของสมาชิกในครอบครัวค่อนข ้างดีดี มีการช่วยเหลือดูแลซึงกั ่ นและกัน
โดยปกติ
สมาชิกในครอบครัวจะอารมณ์ดีอยู่เสมอ ไม่มีการทะเลาะและไม่มีการแก ้ปัญหาด ้วย
ี ี่รุนแรง
วิธท
แบบแผนที่ 9 แบบแผนเพศ และการเจริญพันธุ ์
ผูป้ ่ วยไม่มีโรคทางเพศและการเจริญพันธุ ์
สมาชิกในครอบครัวไม่มีปัญหาเรื่องเพศและการเจริญพันธุ ์
แบบแผนที่ 10 แบบแผนการเผชิญไม่มีปัญหาความเครียด และการทน
ต่อความเครียด
ผู ้ป่ วยและญาติ เกิดความเครียดเนื่ องจากการเจ็บป่ วยเรือรั
้ งและการรักษาที่
ยาวนาน
สมาชิกในครอบครัวเมื่อเกิดความเครียดจะคอยช่วยเหลือกัน ดูแลกัน
แบบแผนที่ 11 แบบแผนคุณค่าและความเชือ

ผู ้ป่ วยนับถือศาสนาพุทธ ่ ่องบาปบุญ ทำบุญเมื่อมีโอกาส


ผูป้ ่ วยเชือเรื
่ ่องศาสนาเหมือนกัน หากมีวน
สมาชิกในครอบครัวมีความเชือเรื ั สำคัญ
หากมีเวลาว่างจะไปทำกิจกรรมทางศาสนา
สรุปแบบแผนที่มีปัญหา

แบบแผนที่ 2 แบบแผนโภชนาการและการเผาผลาญอาหาร
แบบแผนที่ 4 แบบแผนการทากิจกรรมและการออกกาลังกาย

แบบแผนที่ 10 แบบแผนการเผชิญไม่มีปัญหาความเครียด และการทนต่อ


ความเครียด
2.4 ข้อมู ลการตรวจร่างกาย
ตรวจร่างกายตามระบบ

ลักษณะทัวไป ่
ผู ้ป่ วยหญิงไทย อายุ 47 ปี รูปร่างสมส่วน น้ำหนัก 55kg. ส่วนสูง 165 cm. BMI =
20.20 ซึงอยู่ ่ในเกณฑ ์ปกติ สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได ้เล็กน้อย ไม่สามารถปฏิบต
ั ิกิจวัตร
ประจำวันได ้ตามปกติ
สัญญาณชีพ BP = 158/86 P = 90 ครัง/ ้ นาที R = 20 ครัง/นาที
้ ขณะสัมภาษณ์
ญาติผู ้ป่ วยให ้ความร่วมมือดีในการให ้ข ้อมูลของผูป้ ่ วย

ผิวหนัง
ผู ้ป่ วยมีผิวสีดำแดง ความตึงตัวของผิวหนังน้อย ความชุม ้
่ ชืนลดลงตามวั
ย มีบาดแผลกดทับ
บริเวณก ้นกบ Stage 2 และแผลกดทับบริเวณสะโพก stage 4 มีแผลบริเวณนิ วก ้ ้อยที่เท ้าด ้าน
ขวา
ผม
้ ดำ การกระจายตัวของเส ้นผมปกติ
ผมสันสี
ศีรษะและหน้า
ศีรษะบุ๋มลึก จากการผ่าตัดเปิ ดกะโหลกทางด ้านซ ้าย ใบหน้าสมมาตรกันทัง้ 2 ด ้าน
รูปร่างสัณฐานปกติ
ตา
เยื่อบุตาซีด ไม่มีอาการตาบวม รูม่านตามีขนาด 2 มิลลิเมตร ตา ทัง้ 2 ข ้าง
สมมาตรกัน ตอบสนองได ้ดี 
หู
การได ้ยินปกติ
จมู ก 
มีสายให ้อาหาร NG Tube เยื่อบุจมูกมีสีชมพู การได ้กลิ่นเป็ นปกติ ไม่มีรอยโรค

บริเวณจมูกด ้านนอก ไม่มีสารคัดหลังภายในจมู ก
 
ระบบหายใจ

ทรวงอกมีขนาดสมมาตรกัน ทังสองข ้าง รูปร่างของทรวงอกปกติ เสียง หายใจปกติ
การเคลื่อนไหวของทรวงอกสัมพันธ ์กับการหายใจ อัตราการหายใจ 20 ครัง/นาที

ท้องและระบบทางเดินอาหาร
หน้าท ้องไม่โตขยายนู นกว่าปกติ ไม่เห็นเส ้นเลือดดำขยายใต ้ผิวหนัง ไม่มีท ้องมารและ
ตับโต
ระบบทางเดินปั สสาวะ
ผู ้ป่ วยใส่สายสวน Foley catheter ขับถ่ายปัสสาวะปกติ ปัสสาวะมีสีเหลืองใส ไม่มีอาการ
ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะเฉลี่วันละ800-1200 cc
ระบบสืบพันธ ์
ไม่มีโรคทางเพศสัมพันธ ์
ผลการตรวจร่างกาย พบระบบและอวยั วะที่มีปัญหา ดงั นี ้

1. ระบบผิวหนัง
ผู ้ป่ วยมีผิวสีดำแดง ความตึงตัวของผิวหนังน้อย ความชุม ้
่ ชืนลดลงตามวั
ย มี
บาดแผลกดทับบริเวณก ้นกบ Stage 2 และแผลกดทับบริเวณสะโพก stage 4 มีแผล
้ ้อยที่เท ้าด ้านขวา
บริเวณนิ วก
2. ศีรษะและหน้า
 ศีรษะบุ๋มลึก จากการผ่าตัดเปิ ดกะโหลกทางด ้านซ ้าย ใบหน้าสมมาตรกันทัง้ 2
ด ้าน  รูปร่างสัณฐานปกติ
3. ระบบทางเดินปั สสาวะ
ผู ้ป่ วยใส่สายสวน Foley catheter ขับถ่ายปัสสาวะปกติ ปัสสาวะมีสีเหลืองใส
ไม่มีอาการปัสสาวะแสบขัด
ปัสสาวะเฉลี่วันละ800-1200 cc
4. ระบบประสาท
ผู ้ป่ วยตอบสนองโดยการกระพริบตาE4VTM2 Moter power Grad 1
5. ระบบกล้ามเนื ้ อและกระดู ก 
อัมพาตครึ่งซีกด ้านขวา แขนและขาข ้างซ ้ายเคลื่อนไหวได ้เล็กน้อย
3. ข้อมู ลด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของครอบครัว
ผู ้ดูแลหลัก นางรัตติยาภรณ์ โพธิขาว์ ดูแลเรื่องสุขวิทยาทัวไป
่ และล ้างแผล
อสม.และเจ ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ ้านหนองแวง ติดตาม ประเมินอาการ
ทุก 1 เดือน
ผู ้สนับสนุ นด ้านการเงิน พี่สาวและสามีเป็ นคนจัดการค่าใช ้จ่าย
4. ผลการวิเคราะห ์ปั ญหา
4.1 ปั ญหารายบุคคล
1. กรณี ศึกษานางทองสุข โพธิขาว ์ อายุ 47 ปี
- ผูป้ ่ วยมีแผลกดทับบริเวณก ้นกบเนื่ องผูป้ ่ วยไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได ้
- ผูป้ ่ วยมีภาวะข ้อติดแข็งเนื่ องจากไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได ้
- มีภาวะพร่องสุขวิทยาส่วนบุคคลเนื่ องจากไม่สามารถปฏิบต ั ิกิจวัติประวันได ้
- เสี่ยงต่อการติดเชือของทางเดิ
้ นกระเพาะปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะเป็ นเวลานาน
2. นางรัตติยาภรณ์ โพธิขาว ์ อายุ 24 ปี ผูด้ แู ลหลัก
- ประเมินภาวะเครียดของผูด้ แู ล มีภาวะเครียดเล็กน้อย เนื ่ องจากต ้องดูแลผูป้ ่ วยเป็ นระยะ
เวลานาน
4.2 ปั ญหาครอบครัว ภาพรวม
มีภาวะเครียด เนื่ องจากต ้องดูแลผูป้ ่ วยเป็ นระยะเวลานาน ทำให ้รายได ้ลดลง
ลูกๆต ้องกลับช่วยเหลือและดูแลผูป้ ่ วย
4.3 แผนกำหนดการเยี่ยม
o 4.3 แผนกำหนดการเยี่ยม
้ ่ 1 วันที่ 5 กรกฎาคม
ครังที 2563 เยี่ยมปัญหากรณี ศึกษาประสบอุบต ั ิเหตุ ได ้รับบาด
เจ็บทางสมอง สร ้าง
สัมพันธภาพกับผู ้ป่ วยและญาติ
้ ่ 2 วันที่ 7 กรกฎาคม
ครังที 2563 ผูป้ ่ วยมีแผลกดทับบริเวณก ้นกบ
ครังที้ ่ 3 วันที่ 11 กรกฎาคม 2563 ผูป้ ่ วยเสี่ยงต่อการติดเชือของกระเพาะปั
้ สสาวะ
จากการคาสายสวนปัสสาวะเป็ นเวลานาน
ครังที ้ ่ 4 วันที่ 18 กรกฎาคม 2563 ผูป้ ่ วยมีภาวะข ้อติดแข็ง และพร่องสุขวิทยาส่วน
บุคคล
ปัญหา วัตถุประสงค ์ วิธก
ี ารปฏิบต
ั ิ เกณฑ ์การประเมิน
ผู ้ป่ วยอายุ 63ปี เพื่อที่จะให ้ทราบ ้ ้อง
-ซักประวัติสว่ นตัวและ ทราบข ้อมูลเบืองต
ประสบอุบต ั ิเหตุทาง ้ ้นของ
ข ้อมูลเบืองต ครอบครัว ของผูป้ ่ วยอย่างถูกต ้อง
สมอง กรณี ศึกษาและการ -สอบถามอาการเบือง ้ และครบถ ้วน
ให้การพยาบาลคำ ต ้น
แนะนำที่ถูกต ้องและ -ประเมินแบบแผน
เหมาะสม สุขภาพ
-ตรวจร่างกาย
ผู ้ป่ วยมีแผลกดทับ เพื่อลดการเกิดแผล 1.แนะนำให ้ญาติดแู ล -ผูป้ ่ วยและผูด้ แู ลตอบ
บริเวณก ้นกบเนื่ องผู ้ กดทับเพิ่มมากขึน้ ความสะอาดของ คำถามของนักศึกษา
ป่ วยไม่สามารถ ผิวหนังให ้แห ้งและ ได ้ 3 ใน 4 ข ้อ
เคลื่อนไหวร่างกายได ้ สะอาดอยู่เสมอ
2.แนะนำไม่ควรให้
ผิวหนังผูป้ ่ วยสัมผัส
กับผา้ ยางโดยตรงเพื่อ

ป้ องกันการอับชืนและ
เกิดการเสียดสี
3.แนะนำให ้ญาติพลิก
ตะแคงผูป้ ่ วยทุก 2
ชม. เพื่อให ้เกิดแผล
กดทันเพิ่มมากขึน้
ปัญหา วัตถุประสงค ์ วิธก
ี ารปฏิบต
ั ิ เกณฑ ์การประเมิน
ผูป้ ่ วยมีภาวะข ้อติด เพื่อลดการเกิด 1.แนะนำให ้ญาติ -ผู ้ป่ วยและผู ้ดูแล
แข็งเนื่ องจากไม่ ภาวะข ้อติดแข็ง กายภาพผู ้ป่ วยทุก ตอบคำถามของ
สามารถเคลื่อนไหว วันเพื่อลดภาวะข ้อ นักศึกษาได ้ 3 ใน
ร่างกายได ้ ติดแข็ง 4 ข ้อ

1.เพื่อให ้ผู ้ป่ วย 1.ประเมิน ADL = -ผู ้ป่ วยและผู ้ดูแล


มีภาวะพร่อง สามารถปฏิบต ั ิกิจ 0 มีภาวะพึ่งพา ตอบคำถามของ
สุขวิทยาส่วนบุคคล วัติประจำวันได ้ 2.แนะนำญาติเสริม นักศึกษาได ้ 3 ใน
เนื่ องจากไม่สามารถ 2.ญาติสามารถดูแล สร ้างทักษะและ 4 ข ้อ
ปฏิบต ั ิกิจวัติประวัน ช่วยเหลือผู ้ป่ วยใน กระตุนให
้ ้ผู ้ป่ วยมี
ได ้ การปฏิบต ั ิกิจวัติ ส่วนร่วมในการ
ประจำวันได ้ ปฏิบต ั ิกิจกกรม
ต่างๆ
ปัญหา วัตถุประสงค ์ วิธก
ี ารปฏิบต
ั ิ เกณฑ ์การประเมิน
เสี่ยงต่อการติดเชือ้ เพื่อป้ องกันติดเชือ้ 1.แนะนำวิธเี ช็ด -ผู ้ป่ วยและผู ้ดูแล
ของทางเดิน ของทางเดินปัสสาวะ ทำความสะอาด ตอบคำถามของ
กระเพาะปัสสาวะ บริเวณสายสวน นักศึกษาได ้ 3 ใน
จากการคาสายสวน ปัสสาวะ ทุกวัน 4 ข ้อ
ปัสสาวะเป็ นเวลา วันละ 2 ครัง้
นาน 2.แนะนำให ้ดูแล
สายสวนปัสสาวะให ้
อยู่ในระบบปิ ดโดย
ไม่ปลดข ้อต่อ
ระหว่างสายสวน
ปัสสาวะกับถุงรองรับ
น้ำปัสสาวะ
3.แนะนำให ้ดุแลถุง
รองรับน้ำปัสสาวะให ้
อยุ่ต่ำกว่ากระเพาะ
ปัสสาวะ
5. การปฏิบต
ั ิตามแผน

รายงานการเยี่ยมครังที
้ ่ 1
วันที่ 5 สิงหาคม 2563 เวลา 09.00-10.00 น.
สถานการณ์ขณะเยี่ยมบ้าน
วันแรกที่นักศึกษาพยาบาลเข ้าเยี่ยมบ ้านนางทองสุข ซึงอาศั
่ ยอยู่ในชุมชนชนบท
สังเกตเห็นบ ้านคุณทองสุขเป็ นบ ้าน2ชันไม่้ มีเศษขยะบริเวณหน้าบ ้าน เมื่อนักศึกษาพยาบาลศาสตร ์
ไปถึงหน้าประตูบ ้านได ้ส่งเสียงเรียกคุณญาติผูด้ แู ลเพื ่อสอบถามชือและบ
่ ้านเลขที่เพื่อความมั่นใจและ
ได ้ทำการแนะนำตัวกับญาติ (ผูด้ แู ลว่าเป็ นนักศึกษาพยาบาลฝึ กงานที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตำบลบ ้านหนองแวง จึงขออนุ ญาต (ผูด้ แู ล) เข ้าไปในบ ้านด ้านล่างสิ่งของภายในบ ้านจัดวางได ้
สัดส่วนมีการระบายอากาศค่อยข ้างดีบ ้านที่ในไม่คอ ่ ยทึบมีแสงสว่าง (ผูด้ แู ล) ได ้เชิญนักศึกษา
พยาบาลศาสตร ์นั่งตรงเก ้าอีภายในบ
้ ้าน นักศึกษาบอกวัตถุประสงค ์แก่ญาติผูด้ แู ล สอบถามอาการ
ของผู ้ป่ วย ประเมินปัญหา และได ้นัดหมายการเยี่ยมครังต่ ้ อไปแก่ญาติผูด้ แู ล V/S : T=36.6 C P
=94/min R=20/min BP=126/74mmHg
บันทึกการเยี่ยมบ้าน

วันที่เยี่ยม ปัญหา ข ้อมูลจากการเยี่ยมและการ ผูเ้ ยี่ยม ผลการเยี่ยม


ช่วยเหลือ

้ ่ 1
ครังที สร ้าง แจ ้งวัตถุประสงค ์ให้ข ้อมูลใน ลงชือ่ นายอานนท ์ ผูด้ แู ลเข ้าใจ และรับทราบ
วันที่ 5 สิงหาคม สัมพันธภาพกับผู ้ป่ วย การเยี่ยมบ ้าน เพ็งแจ่ม และนางสาวใบ วัตถุประสงค ์ในการเยี่ยม
2563 และญาติ 1.รวบรวมข ้อมูลและประเมิน พร มุกดาราช กรณี ศึกษา
แบบแผนการดำเนิ นชีวิตของ นักศึกษาพยาบาล ชัน้
ครอบครัว ปี ที่3 วันที่ 5
2.รวบรวมข ้อมูลผังเครือญาติ สิงหาคม 2563
ของครอบครัว
3.ตรวจร่างกายตามระบบของ
สมาชิกในครอบครัว ประเมิน
ปัญหา
รายงานการเยี่ยมครังที
้ ่ 2
วันที่ 11 สิงหาคม 2563 เวลา 09.00-10.00 น.

สถานการณ์ขณะเยี่ยมบ้าน
วันที่2ของการเยี่ยมบ ้าน นักศึกษาพยาบาลเข ้าเยี่ยมบ ้านนางทองสุข ซึงอาศั
่ ยอยู่
ในชุมชนชนบ ้านโพนเขวา เป็ นบ ้าน2ชันไม่ ้ มีเศษขยะบริเวณหน้าบ ้าน เมื่อนักศึกษาพยาบาล
ศาสตร ์ไปถึงหน้าประตูบ ้านได ้สังเกตุเห็นลูกสาวของนางทองสุข จึงส่งเสียงเรียกลูกสาวผูด้ แู ล
สวัสดีคะ่ และได ้ทำการแนะนำตัวกับลูกสาว (ผูด้ แู ลว่าเป็ นนักศึกษาพยาบาลฝึ กงานที่โรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพตำบลบ ้านหนองแวง) จึงขออนุ ญาต (ผูด้ แู ล) เข ้าไปในบ ้าน ด ้านล่างสิ่งของ
ภายในบ ้านจัดวางได ้สัดส่วนมีการระบายอากาศค่อยข ้างดี ในบ ้านมีแสงสว่างเพียงพอ (ผูด้ แู ล)ได ้
เชิญนักศึกษาพยาบาลศาสตร ์นั่งตรงเก ้าอีภายในบ
้ ้าน จึงสอบถามการพลิกตะแคงตัวของผูป้ ่ วย ผู ้
ดูแลแจ ้งว่าพลิกตะแคงทุก 1 ชม. และบอกว่าผูป้ ่ วยมีแผลกดทับ 2 ที่ ล ้างแผลทุกวัน (ผู ้
ดูแล)ให ้ความร่วมมือกับนักศึกษาดี บอกอาการ บอกประวัติผูเ้ จ็บป่ วยให ้ข ้อมูลกับนักศึกษา มี

สีหน้ายิมแย ้ม V/S : T=36.0 C P=90/min R=20/min BP=120/70mmHg
วันที่เยี่ยม ปัญหา ข ้อมูลจากการเยี่ยมและการ ผูเ้ ยี่ยม ผลการเยี่ยม
ช่วยเหลือ

้ ่ 2
ครังที 1. ผู ้ป่ วยมีแผลกดทับ S:ญาติบอกผู ้ป่ วยผู ้ป่ วยไม่ ลงชือ่ นายอานนท ์ ผูด้ แู ลเข ้าใจ และรับทราบ
วันที่ 11 สิงหาคม บริเวณก ้นกบเนื่ องผู ้ สามารถช่วยเหลือตนเองได ้ เพ็งแจ่ม และนางสาวใบ วัตถุประสงค ์ในการเยี่ยม
2563 ป่ วยไม่สามารถ 0:มีแผลกดทับที่บริเวณก ้นกบ พร มุกดาราช กรณี ศึกษา
เคลื่อนไหวร่างกายได ้ A:ผู ้ดูแลขาดความรู ้ในการ นักศึกษาพยาบาล ชัน้
ดูแล ปี ที่3
P: 1.แนะนำให ้ญาติดแู ลความ
สะอาดของผิวหนังให ้แห ้งและ
สะอาดอยู่เสมอ
2.แนะนำไม่ควรให ้ผิวหนังผู ้
ป่ วยสัมผัสกับผ ้ายางโดยตรง
เพื่อป้ องกันการอับชืนและเกิ
้ ด
การเสียดสี
3.แนะนำให ้ญาติพลิกตะแคงผู ้
ป่ วยทุก 2ชม. เพื่อให้เกิดแผล
กดทันเพิ่มมากขึน้
รายงานการเยี่ยมครังที
้ ่ 3

วันที่ 14 สิงหาคม 2563 เวลา 09.00-10.00 น.


สถานการณ์ขณะเยี่ยมบ้าน
วันที่3 ของการเยี่ยมบ ้าน นักศึกษาพยาบาลเข ้าเยี่ยมบ ้านนางทองสุข ซึงอาศั
่ ยอยู่
ในชุมชนชนบ ้านโพนเขวา เป็ นบ ้าน2ชันไม่ ้ มีเศษขยะบริเวณหน้าบ ้าน เมื่อนักศึกษาพยาบาล
ศาสตร ์ไปถึงหน้าประตูบ ้านได ้สังเกตุเห็นลูกสาวของนางทองสุข จึงได ้ทักทาย สวัสดี และได ทำ ้ การ
แนะนำตัวกับลูกสาว (ผูด้ แู ลว่าเป็ นนักศึกษาพยาบาลฝึ กงานที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
บ ้านหนองแวง) จึงขออนุ ญาต (ผูด้ แู ล) เข ้าไปในบ ้าน ด ้านล่างสิ่งของภายในบ ้านจัดวางได ้สัดส่วน
มีการระบายอากาศค่อยข ้างดี ในบ ้านมีแสงสว่างเพียงพอ (ผูด้ แู ล) นักศึกษาจได ้เชิญนักศึกษา
พยาบาลศาสตร ์นั่งตรงเก ้าอีภายในบ
้ ้าน ให ้ความร่วมมือกับนักศึกษาดี บอกอาการ บอกประวัติผู ้

เจ็บป่ วยให ้ข ้อมูลกับนักสึกษา มีสีหน้ายิมแย ้ม
V/S : T=36.0 C P=90/min R=20/min BP=120/70mmHg
วันที่เยี่ยม ปัญหา ข ้อมูลจากการเยี่ยมและการ ผูเ้ ยี่ยม ผลการเยี่ยม
ช่วยเหลือ

้ ่ 3
ครังที 2. ผู ้ป่ วยเสี่ยงต่อการ S: - ่
ลงชือนางสาวปิ ยะวรรณ ผูป้ ่ วยเข ้าใจ และผูด้ แู ล
วันที่ 14 สิงหาคม ้
ติดเชือของกระเพาะ 0: - มีสายสวนปัสสาวะ จันทกรณ์ นางสาว เข ้าใจ และรับทราบ
2563 ปัสสาวะจากการคา A:ผู ้ป่ วยสามารถดูแลความ เรวดี สัมมาวรกิจนัก
สายสวนปัสสาวะเป็ น สะอาดบริเวณที่คาสาสวย ศึกษาพยาบาล ชันปี้
เวลานาน ปัสสาวะได ้เอง ที่3
P: 1.แนะนำวิธเี ช็ดทำความ
สะอาดบริเวณสายสวนปัสสาวะ
ทุกวันวันละ 2 ครัง้
2.แนะนำให้ดูแลสายสวน
ปัสสาวะให้อยู่ในระบบปิ ดโดย
ไม่ปลดข ้อต่อระหว่างสายสวน
ปัสสาวะกับถุงรองรับน้ำ
ปัสสาวะ
3.แนะนำให้ดุแลถุงรองรับน้ำ
ปัสสาวะให้อยุ่ต่ำกว่ากระเพาะ
ปัสสาวะ
รายงานการเยี่ยมครังที
้ ่ 4

วันที่ 18 สิงหาคม 2563 เวลา 09.00-10.00 น.


สถานการณ์ขณะเยี่ยมบ้าน
วันแรกที่นักศึกษาพยาบาลเข ้าเยี่ยมบ ้านนางทองสุข ซึงอาศั
่ ยอยู่ในชุมชน
ชนบทสังเกตเห็นบ ้านคุณทองสุขเป็ นบ ้าน2ชันไม่ ้ มีเศษขยะบริเวณหน้าบ ้าน เมื่อนักศึกษา
พยาบาลศาสตร ์ไปถึงหน้าประตูบ ้านได ้ส่งเสียงเรียกคุณญาติผูด้ แู ลเพื ่อสอบถามชือและบ
่ ้านเลข
ที่เพื่อความมั่นใจและได ้ทำการแนะนำตัวกับญาติ (ผูด้ แู ลว่าเป็ นนักศึกษาพยาบาลฝึ กงานที่โรง
พยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ ้านหนองแวง จึงขออนุ ญาต (ผูด้ แู ล) เข ้าไปในบ ้านด ้านล่าง
สิ่งของภายในบ ้านจัดวางได ้สัดส่วนมีการระบายอากาศค่อยข ้างดีบ ้านที ่ในไม่คอ ่ ยทึบมีแสงสว่าง
(ผูด้ แู ล) ได ้เชิญนักศึกษาพยาบาลศาสตร ์นั่งตรงเก ้าอีภายในบ
้ ้าน นักศึกษาบอกวัตถุประสงค ์
แก่ญาติผู ้ดูแล สอบถามอาการของผูป้ ่ วย ประเมินปัญหา และได ้นัดหมายการเยี ่ยมครังต่ ้ อไป
แก่ญาติผู ้ดูแล
วันที่เยี่ยม ปัญหา ข ้อมูลจากการเยี่ยมและการ ผูเ้ ยี่ยม ผลการเยี่ยม
ช่วยเหลือ

้ ่4
ครังที 3. ผู ้ป่ วยมีภาวะข ้อติด S: ญาติแจ ้งว่าต ้องจ ้างนัก ลงชือ่ นางสาวศศิธร ผูป้ ่ วยเข ้าใจ และผูด้ แู ล
วันที่ 18 สิงหาคม แข็งเนื่ องจากไม่ กายภาพบำบัดมาทำกายภาพ ปะสาวะโถ นางสาวสุ เข ้าใจ และรับทราบ
2563 สามารถเคลื่อนไหว ทุกอาทิตย ์ นิ ษร กองทน
ร่างกายได ้ ้
0: สังเหตุเห็นกล ้ามเนื อแขน นักศึกษาพยาบาล ชัน้
ขาผู ้ยป่ วยแข็งเกร็ง ปี ที่ 3
A: ไม่สามารถเคลื่อนไหว
ร่างกายได ้
P: 1.แนะนำให้ญาติกายภาพผู ้
ป่ วยทุกวันเพื่อลดภาวะข ้อติด
แข็ง
2.แนะนำให ้ญาติพลิกตะแคง
ตัวทุก 2 ชม.
วันที่เยี่ยม ปัญหา ข ้อมูลจากการเยี่ยมและการ ผูเ้ ยี่ยม ผลการเยี่ยม
ช่วยเหลือ

้ ่4
ครังที 4. มีภาวะพร่อง S: ญาติแจ ้งว่าผู ้ป่ วยไม่ ลงชือ่ นางสาวดาริกา ผูป้ ่ วยเข ้าใจ และผูด้ แู ล
วันที่ 18 สิงหาคม สุขวิทยาส่วนบุคคล สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได ้ ปรือปรัง นางสาวสุนิษร เข ้าใจ และรับทราบ
2563 เนื่ องจากไม่สามารถ 0: ADL = 0 มีภาวะพึ่งพา กองทน นักศึกษา
ปฏิบต ั ิกิจวัติประวันได ้ A: ไม่สามารถเคลื่อนไหว ้ ที่ 3
พยาบาล ชันปี
ร่างกายได ้
P: 1.ประเมิน ADL = 0 มี
ภาวะพึ่งพา
2.แนะนำญาติเสริมสร ้างทักษะ
และกระตุ ้นให ้ผู ้ป่ วยมีสว่ นร่วม
ในการปฏิบต ั ิกิจกกรมต่างๆ
5.3 สรุปปั ญหาที่ยังคงเหลือ

1. แผลกดทับ
2. เสี่ยงต่อการติดเชือของกระเพาะปั
้ สสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะ
3. ภาวะข ้อติดแข็งเนื่ องจากไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได ้
4. ภาวะพร่องสุขวิทยาส่วนบุคคลเนื่ องจากไม่สามารถปฏิบต ั ิกิจวัติประวันได ้
6. สรุปผลการให้การพยาบาล

ช่วงเวลาที่เยี่ยมบ ้านผู ้ป่ วยหญิงไทย อายุ 47 ปี


้ ่ 1 วันที่ 5 สิงหาคม 2563 เยี่ยมปัญหากรณี ศึกษาประสบอุบต
ครังที ั ิเหตุ ได ้รับบาดเจ็บทาง
สมอง สร ้าสัมพันธภาพกับผูป้ ่ วยและญาติ
้ ่ 2 วันที่ 7 สิงหาคม 2563
ครังที ผูป้ ่ วยมีแผลกดทับบริเวณก ้นกบ
้ ่ 3 วันที่ 11 สิงหาคม 2563 ผูป้ ่ วยเสี่ยงต่อการติดเชือของกระเพาะปั
ครังที ้ สสาวะจากการคา
สายสวปัสสาวะเป็ นเวลานาน
ครังที้ ่ 4 วันที่ 18 สิงหาคม 2563 ผูป้ ่ วยมีภาวะข ้อติดแข็ง และพร่องสุขวิทยาส่วนบุคคล

ครอบครัวของผู ้ป่ วยมีสมาชิกทังหมด 5 คน ประกอบไปด ้วยสามี (หัวหน้าครอบครัว) ภรรยา
(ผู ้ป่ วย) ลูกสาว ลูกชาย ลูกเขย
ปัญหาสุขภาพของคนในครอบครัวของผู ้ป่ วย สมาชิกทุกคนในครอบครัวของผู ้ป่ วยมีสข
ุ ภาพร่างกายแข็งแรงดี มีภาวะ
เครียดเล็กน้อย เนื่ องจากต ้องดูแลผู ้ป่ วยและทำให ้รายได ้ในครอบครัวลดลง
การพยาบาลและคำแนะนำ ในระยะเวลาที่ปฎิบต
ั ิการเยี่ยมบ้าน
1. แนะนำให้ญาติดแู ลความสะอาดของผิวหนังให ้แห ้งและสะอาดอยู่เสมอ
2. แนะนำไม่ควรให้ผิวหนังผู ้ป่ วยสัมผัสกับผ ้ายางโดยตรงเพื่อป้ องกันการอับชืนและเกิ
้ ดการเสียดสี
3. แนะนำให้ญาติพลิกตะแคงผู ้ป่ วยทุก 2 ชม. เพื่อให ้เกิดแผลกดทันเพิ่มมากขึน้
4. แนะนำวิธเี ช็ดทำความสะอาดบริเวณสายสวนปัสสาวะทุกวันวันละ 2 ครัง้
5.แนะนำให ้ดูแลสายสวนปัสสาวะให ้อยู่ในระบบปิ ดโดยไม่ปลดข ้อต่อระหว่างสายสวนปัสสาวะกับถุงรองรับน้ำปัสสาวะ
6. แนะนำให้ดุแลถุงรองรับน้ำปัสสาวะให ้อยุ่ต่ำกว่ากระเพาะปัสสาวะ
7. แนะนำญาติเสริมสร ้างทักษะและกระตุนให
้ ้ผู ้ป่ วยมีสว่ นร่วมในการปฏิบต
ั ิกิจกกรมต่างๆ
ปั ญหาของครอบครัวที่ยังคงเหลืออยู ่ภายหลังจากการเยี่ยมบ้าน
1. ผูป้ ่ วยมีแผลกดทับ
2. ผูป้ ่ วยเสี่ยงต่อการติดเชือของกระเพาะปั
้ สสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะเป็ นเวลานาน
3. ผูป้ ่ วยมีภาวะข ้อติดแข็งเนื่ องจากไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได ้
4. มีภาวะพร่องสุขวิทยาส่วนบุคคลเนื่ องจากไม่สามารถปฏิบต
ั ิกิจวัติประวันได ้
D - METHOD
D = Diagnosis อธิบายถึงการเกิด Head injury ว่าเป็ นการที่ศีรษะได ้รับ
อันตรายจากแรงภายนอกมากระทบที่ศีรษะ และมีปัญหาทางสาธารณสุขมาก อาการ
สาเหตุ วิธป
ี ้ องกันการเกิด
M = Medicine แนะนำการใช ้ยาให ้ผูป้ ่ วยได ้กินยาต่อเนื่ องและสม่ำเสมอ อธิบายให ้
ผู ้ป่ วยเข ้าใจอย่างละเอียด สรรพคุณ ขนาด วิธใี ช ้ เวลา ข ้อควรระวังการใช ้ยา ผลข ้าง
เคียง เพื่อป้ องกันการกินไม่ถก ู ต ้อง
E = Enviroment / Economic แนะนำการจัดสิ่งแวดล ้อมภายในบ ้านให ้สะอาด มี
อากาศถ่ายเทสะดวก ของใช ้ภายในบ ้านควรเช็ดให ้สะอาด จัดให ้เป็ นระเบียบเรียบร ้อย
หยิบจับของใช ้ได ้สะดวก
T = Treatment แนะนำผูป้ ่ วยและญาติ ให ้เข ้าใจการใช ้ยาสำหรับการรักษา บางตัว
อาจจะมีอาการข ้างเคียง ควรให ้ผูป้ ่ วยได ้รับยาต่อเนื่ องและตรงเวลา ไปตามนัดของแพทย ์
เพื่อให ้แพทย ์ประเมินอาการทางโรคที่กำลังดำเนิ นอยู่ นอกจากนี ควรให้ ้คำแนะนำเกี่ยวกับ
การปฏิบต ั ิตวั เพื่อป้ องกันไม่ให ้โรคมีอาการที่เลวร ้ายลงไปมากกว่านี ้
H = Health แนะนำเกี่ยวกับการกายภาพบำบัด เช่น การยืดเหยียด แขน ขา
ควรทำในปริมาณที่เพียงพอกันในทุกวัน เหมาะสม แนะนำการนวดฝ่ าเท ้า กดนวด และส่ง
เสริมสภาพของทางด ้านร่างกายและจิตใจตลอดจนการป้ องกันการเกิดภาวะแทรกซ ้อนต่างๆ ที ่
้ ้
อาจเกิดขึนได

O = Out-patent referral ผูป้ ่ วยรายนี แพทย ์นัดให ้มาตรวจทุก 3 เดือน จึงแนะนำ
ให ้สังเกตอาการ ชักหรือเกร็ง หากมีไข ้สูง ไอ ปัสสาวะไม่ออก ปวดศีรษะ คลื ่นไส ้ อาเจียน
หรือมีอาการผิดปกติอื่นๆ ให ้มาพบแพทย ์ ก่อนนัด ไม่ควรซือยามารั
้ บประทานเอง 
่ ป้ ่ วยรายนี ชอบรั
D = Diet แนะนำให ้รับประทานอาหารประเภทต ้ม ไข่ ซึงผู ้ บประทาน
ไข่ต ้ม ต ้มปลา และควรหลีกเลี่ยงอาหารประเภททอด และของมัน ของเค็ม เถ ้ากินอาหารรส
เค็มมากๆ จะทำให ้ไตทำงานหนัก และเสี่ยงต่อการเป็ นโรคความดันโลหิตสูง
จบการนำเสนอ

You might also like