You are on page 1of 101

แนวคิดความเจ็บป่ วยและความ

รุ นแรงของความเจ็บป่ วยทุกระดับ
การใช้กระบวนการแก้ไขปั ญหา
สุขภาพผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ วิกฤติ
เรือ้ รัง การดูแลแบบประคับประคอง
และระยะสุดท้าย การใช้ยาอย่าง
สมเหตุสมผล

อ.กิติพงษ์ พินิจพันธ์
สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
เนือ้ หา

แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพและการเจ็บป่ วย
กระบวนการพยาบาล
การสร้างเสริมสุขภาพ
การใช้กระบวนการแก้ไขปั ญหาสุขภาพ
การดูแลแบบประคับประคอง และระยะสุดท้าย
การใช้ยาอย่างสมเหตุผล
แนวคิดเกี่ยวกับสุ ขภาพและการเจ็บป่ วย
(health and illness)
องค์ประกอบที่มีอิทธิพล
ต่อสภาวะสุขภาพ
อิทธิพลส่วนบุคคล
(Individual influences)
➢ วิถชี วี ติ (Lifestyle)
➢ นำ้ หนักของร่ำงกำย (Weight)
➢ กำรควบคุมนำ้ หนักของร่ำงกำย (Diet)
➢ กำรสูบบุหรี่ (Smoking)
➢ ควำมเครียด (Stress)
➢ กำรใช้ยำ (Drug abuse)
➢ พันธุกรรม (Genetics)
อิทธิพลทางสังคมและการทางาน
(Interpersonal Social, Work influences)
➢ ควำมสัมพันธ์กบั บุคคลอืน่ (Relationships)
➢ กำรสือ่ สำร (Communications)
➢ ควำมพึงพอใจในงำน (Job satisfaction)
➢ กำรสนับสนุนทำงสังคม(Social support)
➢ ควำมสัมพันธ์ภำยในครอบครัว (family
interactions)
อิทธิพลทางสิง่ แวดล้อม
(Environmental influences)
➢ อำกำศ (Air)
➢ นำ้ (Water)
➢ อุณหภูมิ (Temperature)
➢ สำรเคมีทท่ี ำให้เกิดมลภำวะเป็ นพิษ (Chemical
pollutants)
➢ สิง่ แวดล ้อมอืน่ ทีก่ ่อให้เกิดอันตรำย (Other
environmental hazards)
อิทธิพลของระบบการดูแลสุขภาพ
(Health-Care System influences)
➢ กำรเข้ำถึงรับบริกำรทำงกำรแพทย์ (Access to medical
care)
➢ คุณภำพของกำรให้บริกำร (Quality of care)
➢ ค่ำใช้จ่ำย (Cost factors)
➢ ควำมก้ำวหน้ำทำงเทคโนโลยี (Technological
advance)
ความหมายของ “สุขภาพ”
สุ ขภาพ หมายถึง สุ ขภาวะอันสมบูรณ์ และ
มีความเป็ นพลวัตทั้งทางกาย จิต สั งคม และ
จิตวิญญาณ และไม่ ใช่ เพียงการปราศจากโรค
และการเจ็บป่ วยเท่ านั้น

(องค์ การอนามัยโลก พ.ศ. 2541)


ความหมายของ “Health”

Health is a complete dynamic state of


physical, mental, social and spiritual well-
being and not merely the absence of disease
and infirmity
ความหมายของ “สุขภาพ”
สุ ขภาพ หมายถึง ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้งั ทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทาง
สังคม เชื่อมโยงเป็ นองค์รวมอย่างสมดุล และให้นิยาม “ปั ญญา” ว่าหมายถึง ความรู ้ทวั่
รู ้เท่าทัน และความเข้าใจอย่างแยกได้ในเหตุผลแห่ งความดี ความชัว่ ความมีประโยชน์และ
ความมีโทษ ซึ่งนาไปสู่ ความมีจิตอันดีงาม และเอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่

(พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550)


มิตสิ ขุ ภาพ
ทางกาย

ทางสั งคม สุ ขภาพ/ ทางจิต


สุ ขภาวะ

ทางจิตวิญญาณ
มิติสุขภาพ 4 ด้ าน
ไม่เจ็บป่ วย สุขภาพจิตดี มีความสบายใจ
ร่ างกายแข็งแรง
สดชื่น ร่ าเริ ง แจ่มใส
ไม่พิการ ไม่เครี ยด ไม่วิตกกังวล
มีกาลังคล่องแคล่ว กระฉับทางกาย
กระเฉง (physical)
ทางจิต (mental) ไม่ซึมเศร้า
เจ็บป่ วยก็ควบคุมโรคได้ ไม่เจ็บป่ วยทางจิต
ไม่ติดยาเสพติด แอลกอฮอล์

พิการก็ใช้อุปกรณ์ช่วย ทางานได้ ช่วยเหลือตัวเองได้


เคลื่อนไหวได้ สุ ขภาพ/สุ ขภาวะ
(Health/Well-being)
ในครอบครัว
เข้าใจสรรพสิ่ งตามความเป็ นจริ ง
ในที่ทางาน อยูร่ ่ วมกันด้วยดี

เข้าถึงความดีงามถูกต้อง
ในสังคม เอื้ออาทร ช่วยเหลือกัน
มีคุณธรรม ไม่เห็นแก่ตวั
ทางสั งคม (social) ทางจิตวิญญาณ/ปัญญา
ไม่ทาร้ายกัน (spiritual) มีความสงบสุขภายในจิตใจ
ความเชื่ อมโยงระหว่ างสุ ขภาพทางกายกับมิติสุขภาพอื่นๆ
การเจ็บป่ วยทางกาย
(เช่น เอดส์ มะเร็ ง อัมพาต ไตวาย
พิการ)
จิต
▪วิตกกังวล สั งคม
▪กลัวตาย กลัวสู ญเสี ย ▪ถูกให้ออกจากงาน
ขาดรายได้ ▪ญาติรังเกียจ
▪รู ้สึกมีปมด้อย ไร้ค่า ▪สังคมรังเกียจ
▪ท้อแท้ สิ้ นหวัง ▪เข้าสังคมไม่ได้
▪ซึมเศร้า หรื อแยกตัวเอง
▪คิดอยากฆ่าตัวตาย
▪คิดอยากทาร้าย หรื อแก้ จิตวิญญาณ (ปัญญา)
แค้น (เช่น ผูป้ ่ วยเอดส์) ▪ขาดความฉลาดรู ้เท่าทัน
▪ไม่เข้าใจสรรพสิ่ งตามความเป็ นจริ ง
▪เข้าไม่ถึงความดีงามถูกต้อง
▪ไม่มีความสงบสุ ขภายในจิตใจ
ความเชื่ อมโยงระหว่ างสุ ขภาพทางจิตวิญญาณ (ปัญญา) กับมิติสุขภาพอื่นๆ

จิตวิญญาณ (ปัญญา)
▪มีความฉลาดรู ้เท่าทัน
▪เข้าใจสรรพสิ่ งตามความเป็ นจริ ง
▪เข้าถึงความดีงามถูกต้อง
▪มีความสงบสุขภายในจิตใจ
สั งคม
จิต ▪อยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นด้วยดี
▪นอนหลับสนิท ▪เอื้ออาทร ช่วยเหลือกัน
▪สบายใจ อารมณ์ผอ่ นคลาย ▪มีกลุ่มเพื่อนรักษ์สุขภาพ
▪ไม่มีความเครี ยด วิตกกังวล หรื อ ▪มีครอบครัวอบอุ่น
ซึมเศร้า กาย ▪มีแรงสนับสนุนจาก
▪รู ้สึกตัวเองมีคุณค่า ครอบครัว และสังคม
▪หลัง่ ฮอร์โมนเอาดอร์ฟินและฮอร์โมนกลุ่ม
อื่นๆที่มีผลดีต่อสุขภาพ
▪เพิ่มภูมิคุม้ กันโรค
▪มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี
▪รู ้จกั แสวงหาบริ การสุขภาพอย่างเหมาะสม
ปลอดภัย และประหยัด
▪ร่ างกายแข็งแรง
▪ควบคุมโรคได้ถา้ เจ็บป่ วย
ลักษณะสาคัญของภาวะสุขภาพและสุขภาพเบีย่ งเบน

สุขภาพ หมายถึง สภาวะความสมดุลของร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ


ตลอดจนมีวฒ ุ ิภาวะที่เหมาะสม สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม ให้ดารงชีวิตใน
สังคมได้อย่างมีความสุข
สุขภาพเบีย่ งเบน หมายถึงภาวะที่มีพยาธิสภาพเกิดขึน้ ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้าน
โครงสร้างหรือหน้าที่ตา่ ง ๆ ของร่างกาย จิตใจ ทาให้เกิดอาการและอาการแสดงที่ชดั เจน

การเจ็บป่ วย เป็ นสภาวะการเสียความสมดุลของร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และจิต


วิญญาณ ไม่วา่ จากสาเหตุใดก็ตาม
การเจ็บป่ วย คือการเกิดโรค

การเจ็บป่ วย คือการเสียดุลยภาพ
การเกิดโรค หมายถึงภาวะทีม่ ีพยาธิสภาพ
เกิดขึน้ ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้าน
โครงสร้างหรือหน้าทีต่ า่ ง ๆ ของร่างกาย
จิตใจ ทาให้เกิดอาการและอาการแสดงที่
Getting ill ชัดเจน
การเจ็บป่ วย (Illness) = เสียดุลยภาพ
หมายถึงสภาวะการเสียความสมดุลของ
ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และจิต
วิญญาณ ไม่ว่าจากสาเหตุใดก็ตาม
Health problem
ปั ญหาสุขภาพในวัยผู้ใหญ่ ปั ญหาสุขภาพในวัยผู้สูงอายุ
1. อุบตั ิเหตุ 1. โรคไร้เชือ้
2. โรคติดเชือ้ 2. โรคติดเชือ้
3. โรคไร้เชือ้ 3. ปั ญหาสุขภาพจิต
4. ปั ญหาสุขภาพจิต
วัยรุน่ (adolescence) อายุ 13 ปี ถึง 18 ปี
การแบ่งบุคคลที่อายุ
13 ปี ขึน้ ไป วั
ย ผู
ใ ้ หญ่ ต อนต้
น (early adulthood) อายุ 18 ปี ถึ ง 35 ปี
เป็ น 4 ช่วงวัย
วัยผูใ้ หญ่ตอนกลาง (middle adulthood) อายุ 35 ปี ถึง 60 ปี

วัยผูส้ งู อายุ (later maturity) อายุ 60 ปี ขนึ ้ ไป


ร่างกาย
- โภชนาการ เชื้อโรค
- อวัยวะ DNA

จิตใจ สังคม/อารมณ์
- ความเครียด -การอยู่ร่วมกัน
- วิธีคิด สติ ปัญญา -สงคราม
- ความเชื่อ โลกทัศน์ -โครงสร้างสังคม

สิ่งแวดล้อม
- อุณหภูมิ
- มลพิษ ภัยพิบตั ิ ต่าง ๆ
- สภาพการทางาน
ปฏิกิริยาตอบสนอง
ของคนต่อการเจ็บป่ วย

ร่างกาย จิตใจ ครอบครัว


และสังคม
ปฏิ กิ กิ ริ ริ ยิ ยาทางร่
ปฏ าทางร่าางกาย
งกาย
มีไข้ ชีพจรเต้นไม่สมา่ เสมอ ระบบการไหลเวียนเปลี่ยนแปลง
หัวใจเต้นผิดปกติ ระบบการย่อยผิดปกติ
ระบบการขับถ่ายเปลี่ยนแปลง

ร่างกายพยายามปรับตัว โดยจัด วัตถุดิบให้พอเพียง รักษาร่างกาย


ให้ปกติ

เกิดความสมดุล เสียสมดุล
ปฏิกิริยาทางจิตใจ
ตกใจ เสียใจ ไม่ยอมรับ

เข้าใจ ยอมรับ

ความกลัว ความกังวลหรือวิตกกังวล ความเครียด


ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม เจตคติเปลี่ยนไป
จู้จีจ้ กุ จิกมากเกินไป
ปฏิกิริยาต่อสังคมและครอบครัว
1. บทบาทของสมาชิกในครอบครัวเปลีย่ นไป

2. เปลีย่ นแปลงความรับผิดชอบของสมาชิกในครอบครัว

3. ครอบครัวมีความวิตกกังวล และอาจเกิดความขัดแย้งกัน เนื่องจากต้องเพิม่


ภาวะความรับผิดชอบมากขึน้
4. อาจเกิดปั ญหาด้านการเงิน

5. ครอบครัวหว้าเหว่ เนื่องจากผู้ป่วยอาจต้องรับการรักษาทีโ่ รงพยาบาลหรือต้อง


แยกผู้ป่วยเพือ่ ผลของการรักษาหรือการพลัดพรากจากกันเนื่องจากความตาย
ความเจ็บป่ วย
สามารถแบ่งได้หลายระดับ

1. เจ็บป่ วยเล็กน้ อย

ปวดศีรษะ กระทบการ
ไม่สบาย
ทาหน้ าที่ชวขณะ
ั่
ความเจ็บป่ วย
สามารถแบ่งได้หลายระดับ

2. เจ็บป่ วยปานกลาง

ไม่สมดุลของกาย จิต สังคม


ชัดเจน ด้อยสมรรถภาพ
ความเจ็บป่ วย
สามารถแบ่งได้หลายระดับ

3. เจ็บป่ วยวิกฤต

ไม่สมดุลของกาย จิต สังคม


อย่างรุนแรง ทาหน้ าที่ไม่ได้
การปฏิบตั ิ ตนเพื่อการมีสขุ ภาพดี

บริหาร บริหาร พักผ่อน


หย่อนใจ
กาย จิต
ช่วย
ทางานและ ชุมชน
อาหารพอดี
ปั จจัยทีม่ ีผลกระทบต่อสุขภาพ

ปั จจัยภายใน
 ด้านร่างกาย : มีไข้ ชีพจรเต้นไม่สม่าเสมอ ระบบการไหลเวียน
ผลกระทบของความเจ็บป่ วย เปลี่ยนแปลง หัวใจเต้นผิดปกติ ระบบการย่อยผิดปกติ ระบบการ
ขับถ่ายเปลี่ยนแปลง
 ด้านจิตใจ : ตกใจ เสียใจ ไม่ยอมรับ
 ด้านสังคม : 1) บทบาทของสมาชิกในครอบครัวเปลี่ยนไป
 2) เปลี่ยนแปลงความรับผิดชอบของสมาชิกในครอบครัว
 3) ครอบครัวมีความวิตกกังวล และอาจเกิดความขัดแย้งกัน เนื่องจากต้อง
เพิ่มภาวะความรับผิดชอบมากขึน้

ผูป้ ่ วย ครอบครัว และชุมชน  4) อาจเกิดปั ญหาด้านการเงิน


 5) ครอบครัวหว้าเหว่ เนื่องจากผูป้ ่ วยอาจต้องรับการรักษาที่โรงพยาบาล
หรือต้องแยกผูป้ ่ วยเพื่อผลของการรักษาหรือการพลัดพรากจากกัน
เนื่องจากความตาย
กระบวนการพยาบาล
(Nursing Process)
Nursing Process
การปฏิบัตกิ ารพยาบาลโดยคานึงถึงมิตทิ างการพยาบาล 4 มิติ

การฟื ้ นฟูสภาพ
การส่งเสริมสุขภาพ กำรป้ องกันโรค การดูแลรักษา
ร่างกาย
(health promotion) (prevention) (curation)
(rehabilitation)
การสร้างเสริมสุขภาพ
(health promotion)
การพึ่งตนเอง
พฤติกรรมการดูแลตนเอง
ในวัยผู้ใหญ่ การพึ่งบริการสุขภาพ

และการแก้ปัญหาของ การดูแลตนเองในสภาวะปกติ
บุคคลภายใต้บริบทชีวิต
Self-care
การดูแลตนเอง

การดูแลสุขภาพตนเองใน การดูแลสุขภาพตนเอง
สภาวะปกติ เมื่อเจ็บป่ วย
เป็ นการดูแลสุขภาพตนเอง และสมาชิกในครอบครัวให้ม ี

สุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์อยูเ่ สมอ ได้แก่


การดูแลตนเองในภาวะปกติ
 การดูแลส่งเสริมสุขภาพ เพือ่ ให้สุขภาพแข็งแรง สามารถ

ดาเนินชีวติ ได้อย่างปกติสุข เช่น อาหาร การออกกาลังกาย

การสร้างสุขวิทยาส่วนบุคคลทีด่ ี ไม่ดม่ื สุรา ไม่สบู บุหรี่

หลีกเลีย่ งจากสิง่ ทีเ่ ป็ นอันตรายต่อสุขภาพ

 การป้ องกันโรค เพือ่ ไม่ให้เจ็บป่ วยเป็ นโรค เช่น การไป

รับภูมคิ มุ้ กันโรคต่างๆ การไปตรวจสุขภาพ การป้ องกัน

ตนเองไม่ให้ตดิ โรค
การดูแลสุขภาพตนเองเมื่อเจ็บป่ วย

การขอคาแนะนา แสวงหาความรูจ้ ากผูร้ ู้ เช่น อาสาสมัครสาธารณสุข


ต่างๆ ในชุมชน บุคลากรสาธารณสุข เพือ่ ให้ได้แนวทางปฏิบตั ิ หรือ
การรักษาเบือ้ งต้นให้หายจากความเจ็บป่ วย ประเมินตนเองได้วา่
เมือ่ ไรควรไปพบแพทย์ เพือ่ รักษาก่อนทีจ่ ะเจ็บป่ วยรุนแรง และ
ปฏิบตั ติ ามคาแนะนาของแพทย์ หรือบุคลากรสาธารณสุข เพื่อ
บรรเทาความเจ็บป่ วยและมีสุขภาพดีดงั เดิม
การที่ประชาชนทั่วไปสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้นนั้
จาเป็ นต้องมีความรูค้ วามเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพ
ตัง้ แต่ยงั ไม่เจ็บป่ วย เพื่อบารุงรักษาตนเองให้สมบูรณ์
แข็งแรง รูจ้ กั ที่จะป้องกันตัวเองมิให้เกิดโรคและเมื่อเจ็บป่ วย
ก็รูว้ ิธีท่ีจะรักษาตนเองเบือ้ งต้นจนหายเป็ นปกติ หรือรูว้ า่
เมื่อไรต้องไปพบแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
แหล่งทางเลือกในการดูแลตนเองเมื่อเจ็บป่ วย

*ทางเลือกใหม่ในการดูแลสุขภาพแบบผสมผสาน การดูแลแบบผสมผสานในการบาบัด
ทางการพยาบาล

การดูแลแบบองค์รวมเป็ นเฉพาะรายบุคคลรวบยอดเฉพาะรายรักษาที่สาเหตุ เป็ นการดูแล


ที่ตอ้ งอาศัยความร่วมมือกันระหว่างบุคคลที่แวดล้อมผูป้ ่ วย สหสาขาวิชาชีพพยาบาล

สังเกตความต้องการเพือ่ ความสมดุลในชีวติ ของผูป้ ่ วย

ตอบสนองความต้องการโดยให้การดูแลแบบองค์รวม ที่ผสมผสานระหว่างวิถกี ารทางชีว


การแพทย์ ( Biomedical ) และการดูแลอย่างเอื้ออาทร ( Caring )
การดูแลทางเลือก - เทคนิควิธีการทางการแพทย์ทาง
Alternative อื่นๆ ที่ไม่เป็ นที่รูจ้ กั หรือยอมรับอย่างเป็ นทางการ
care

โดยบุคลาการทางแพทย์ ในระบบการแพทย์กระแสหลัก
หรือการแพทย์แผนปั จจุบนั มีลกั ษณะ : " ไม่กระทาต่อ
ร่างกายอย่างรุนแรงหรือ ไม่ใช้เภสัชภัณฑ์ท่ีเป็ นสารเคมี
มี 6 กลุม่ หลักคือ
Alternative care

การสร้างสมดุลของกระแสไฟฟ้า การบาบัดโครงสร้าง และพลังชีวิต


แบบแผนประเพณีดงั้ เดิม เช่น ชีวภาพในร่างกายเพื่อการรักษา ให้คืนสูส่ มดุล เช่น การกดจุด การ
แพทย์แผนจีน การแพทย์อายุรเวท โรค และส่งเสริมสุขภาพ เช่น การ นวดแบบจีน การออกกาลังกาย
ใช้แสงอาทิตย์ การดัดกระดูกสันหลัง วารีบาบัด

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ
การเน้นความสัมพันธ์ ของกาย การใช้สารชีวภาพบาบัด และ
บริโภคอาหาร เช่น อาหารต้าน
และจิต เช่น จิตนาการบาบัด ส่งเสริมสุขภาพ เช่น การรักษาด้วย
มะเร็ง การล้างพิษ การสวนล้าง
ดนตรีบาบัด ศิลปะบาบัด โอโซน สุมนไพร
ลาไส้ใหญ่
องค์การอนามัยโลกเสนอทัศนะว่า ทักษะความรู ้
การดูแล ( บาบัด/ ทางการดูแลหรือการแพทย์ระบบอื่นน่าจะช่วยเสริม
หรือชดเชยการแพทย์แผนปั จจุบนั ให้สมบูรณ์ย่ิงขึน้ ซึง่
การแพทย์ ) เสริม จุดเด่นของการดูแลทางเลือก คือ การดูแลสุขภาพแบบ
องค์รวม ( ความสมดุลของร่างกาย จิต สังคม
วิญญาณ )
1. อาหารและโภชนาการ
เทคนิควิธีการพืน้ ฐานใน
การดูแลสุขภาพแบบ 2. การผ่อนคลายความเครียด
องค์รวม 3. การหลีกเลี่ยงสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีตอ่ สุขภาพ

4. การนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอการ

5. เยียวยาทางจิตใจภายใน
1. Movement Intervention ; breathing exercise
Movement therapy เช่น กำรเต้นรำ ชี่กง
วิธีการบาบัดที่นามาใช้
ในการพยาบาล 2.Cognitive Intervention ; Contraction,
Guided imagery, yoga

3.Sensory Intervention ; Application of heat


and cold , Aromatherapy, music therapy,
Biofeedback, Massage, Therapeutic touch
4.Social Intervention; Active listening ,Family
support, Group support , Pet therapy
การใช้กระบวนการแก้ไขปั ญหาสุขภาพ
(Nursing roles)
บทบาทของแม่แบบ (model)
Nursing roles

บทบาทในการให้คาปรึกษา การ
ให้คาแนะนา (educator)
บทบาทเป็ นผูช้ ่วยเหลือ (assist)
Empowerment

การให้ความรูก้ บั ผูป้ ่ วย Health Education เป็ นสิ่งที่จาเป็ นและสาคัญในการให้ความรูท้ ่ีสาคัญแก่ผปู้ ่ วยและ


ญาติ โดยเน้นให้ผปู้ ่ วยเข้าใจโรคของตัวเอง และสามารถดูแลตนเองได้ ญาติหรือผูด้ แู ลก็ตอ้ งมั่นใจว่าจะ
ช่วยเหลือผูป้ ่ วยได้เช่นกัน

แต่กระบวนการ Empowerment ถือว่าเป็ นวิธีหรือเป็ นกลยุทธ์หนึ่งที่สาคัญที่จะทาให้ผูป้ ่ วยหรือญาติ พัฒนา


ศักยภาพ ให้สามารถจัดการแก้ไขปั ญหา ช่วยเหลือตัวเอง โดยต้องมีการร่วมมือกันทากิจกรรมต่าง ๆ ได้เองที่
บ้าน และควบคุมสิ่งต่าง ๆ เพื่อการเปลี่ยนแปลงชีวิต และสิ่งแวดล้อมที่ตนอาศัยอยู่ได้ตามบริบทของโรคนัน้ ๆ
โดยมีวิธีการ ดังนี ้
 การสอนให้ทาอะไรสักอย่างได้
Empowerment  การส่งเสริมสุขภาพ
 การให้ความรู ้
1) การสร้างความมั่นใจให้กบั ผูป้ ่ วย
 2) ตรงตามความต้องการ
 3) ผูป้ ่ วยมีสว่ นร่วม
 4) สามารถกลับไปดูแลตนเองต่อได้อย่างมั่นใจ
Empowerment

การศึกษาปั ญหาทีแ่ ท้จริง และการสร้างพลัง


อานาจ
ให้กับผู้ป่วยและชุมชน เหมือนเป็ นการแก้ปัญหาที่
ต้นตอ (Root cause analysis ) และเป็ นการติด
อาวุธทางปั ญญาให้ชุมชนซึง่ อาจจะทาให้อัตราการ
เจ็บป่ วย, Re-admission, ภาวะแทรกซ้อนของ
โรค ลดลงและทาให้คุณภาพชีวิตของคนในชุมชนดี
ขึน้
การดู แ ลแบบประคับ ประคอง และระยะสุ ด ท้า ย
WHO 2005
กระบวนการคัดกรอง
Gold Standard Frameworkในประเทศอังกฤษ
1. กำรวินิจฉัย (Identify)
2. กำรประเมิน (Asscess) โดยใช้เครื่องมือทีเ่ หมำะสม ถูกต้อง เช่น กำรซักประวัติ
ตรวจร่ำงกำย LAB ตรวจพิเศษต่ำง ๆ
3. กำรวำงแผน (Plan) เพือ่ พิจำรณำกำรดูแลทีจ่ ำเป็ นตอบสนองควำมต้องกำรของ
ผูป้ ่ วย
“คุณมีความสาคัญ และคุณเป็ นคนทีม่ คี ่ าจนกระทัง่ วินาทีสุดท้ าย
ของชีวติ และเราจะทาทุกอย่ างเต็มความสามารถไม่ เพียงแต่ ให้ คุณ
จากไปอย่ างสงบ แต่ ยงั จะช่ วยให้ คุณอยู่อย่ างมีคุณภาพชีวติ
จนกระทัง่ คุณจากไป ”
• ในขณะที่เรากาลังป่ วยหนักถึงขั้นทีค่ งจะต้ องเสี ยชีวติ และมี
ทีมสุ ขภาพมาบอกเราด้ วยคาพูดดังกล่ าว คงทาให้ เรารู้สึก
อุ่นใจ ปลอดภัย ไม่ เดียวดาย และพร้ อมเผชิญหน้ ากับอะไรก็
ตามที่กาลังจะเกิดขึน้
 การก้าวกระโดดของเทคโนโลยี

 แพทย์เชีย
่ วชาญมากขึน้
 การดูผป
ู้ ่ วยแบบแยกส่วน
 การเสียชีวต
ิ คือความล้มเหลวทาง
การแพทย์
 ค่าใช้จา่ ยทีเ่ พิม
่ ขึน้ อย่างมหาศาล
การแพทย์ในปั จจุบนั ทีส่ นใจแต่มติ ทิ างกาย
ดูแลโดยผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะโรคแบบแยกส่วน
การขาดความตระหนักในการดูแลผูป้ ่ วยระยะสุดท้าย
Palliative care = End of life care?
Palliative care คนละความหมายกับ end of life care
•Palliative care คือแนวทางการดูแลผู้ป่วยทีม่ ี
โรคคุกคามต่อชีวติ สามารถให้ดแู ลผู้ป่วยได้
ตัง้ แต่เริ่มต้นวินิจฉัย
•End of Life Care คือ การดูแลผู้ป่วยวาระ
สุดท้ายทีถ่ ูกวินิจฉัยว่ามีเวลาทีเ่ หลืออยู่
3-6 เดือน
ความตระหนัก
ทีมสุขภาพ
ขาดองค์ความรู้ Palliative care
มีระเบียบ กฎเกณฑ์ (Opioids)

สังคม วัฒนธรรม
ความเชือ่
http://www.who.int/ncds/management/palliative-care/pc-
infographics/en/
• ความตายเป็ นมิตหิ นึ่งของชีวติ
• ไม่เร่งหรือยืดเยือ้ ความตาย
• ปลดเปลือ้ งอาการไม่สขุ สบาย
• ให้ผปู้ ่ วยมีชวี ติ อยูอ่ ย่าง active ทีส่ ดุ
• ดูแลด้านจิตสังคมและจิตวิญญาณ
• จัดหาระบบการช่วยเหลือ
• ทางานเป็ นทีม
• หลีกเลีย่ งการรักษาทีไ่ ม่เกิดประโยชน์
WHO, 2005
Palliative/ D
Life Prolonging Care Hospice E
A
Care T
H
Disease Progression

Life closure - preparedness


Final hours of life care

http://www.who.int/ncds/management/palliative-
care/pc-infographics/en/
ผูป้ ่ วยทีม่ ี advance disease หรือ progressive life limiting
condition ท่านจะประหลาดใจหรือไม่ถา้ ผูป ้ ่ วยจะเสียชีวติ ในไม่ก่ี
เดือน/สัปดาห์/วัน ข้างหน้า
• ควรพิจารณาโดยอาศัยการประเมินทางคลินิก โรคร่วม
สังคมและปั จจัยอื่นๆประกอบด้วย เพือ่ ให้เห็นในภาพรวม
• ถ้าไม่ประหลาดใจ ควรเริม ่ ดาเนินการวางแผนการดูแล
เพือ่ ให้ผปู้ ่ วยมีคณ
ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี และเตรียมตัวสาหรับการ
เสือ่ มถอยของโรค
Thomas K, et al. Prognostic Indicator Guidance 4th Ed, Oct 2011.
Thomas K, et al. Prognostic Indicator Guidance 4th Ed, Oct 2011.
Thomas K, et al. Prognostic Indicator Guidance 4th Ed, Oct 2011.
Thomas K, et al. Prognostic Indicator Guidance 4th Ed, Oct 2011.
Cancer นาง ก. อายุ 54 ปี เป็ น CA colon,
liver metastasis, jaundice
แพทย์แนะนาให้ใส่ stent เพือ่ ลด
Organ failure
อาการตัวเหลือง ผูป้ ่ วยอ่อนเพลีย
เบื่ออาหาร น้าหนักลด
Frialty/Dementia

นาย ข. อายุ 76 ปี เป็ น DM มี


CHF จาก ischemic heart
นาง ค. อายุ 81 ปี มี CHF,
disease, dyspnea on exertion
osteoarthritis , dementia,
fractured hip จากการหกล้มเมือ ่ ได้รบั การรักษาด้วยยาขับปั สสาวะ
3 เดือนก่อน เดินไม่ได้ใช้รถเข็น
และยาขยายหลอดเลือดหลาย
และต้องมีผดู้ แู ลเกือบตลอด ขนาน เข้ารพ.ด้วยอาการ CHF 2
ครัง้ ในปี ทผ่ี า่ นมา
หลักสาคัญการประเมิน
1. ให้ผูป้ ่ วยเป็ นศูนย์กลางการประเมิน เน้นผูป้ ่ วยเป็ นสาคัญ บนพื้นฐานความร่วมมือกัน
ระหว่างผูป้ ่ วยกับทีมรักษาพยาบาล ในการวางแผนดูแล การประเมิน คานึ งถึงการเลือก
การตัดสินใจของผูป้ ่ วย
2. เคารพในสิทธิของผูป้ ่ วย คานึ งว่าเป็ นส่วนบุคคล และการรักษาความลับ
3. วางแผนการประเมินอย่างเป็ นระบบ โดยความร่วมมือกันในทีมการดูแลรักษาละผูท้ ่ี
เกี่ยวข้อง
4. มีความละเอียดอ่อนทางวัฒนธรรม ปฏิบตั ติ ่อผูป้ ่ วยอย่างเคารพนับถือในคุณค่า ศักดิ์ศรี
และยอมรับในความแตกต่างทางความคิดความเชื่อของผูป้ ่ วย
ผูป้ ่ วยมะเร็ง
1. มีอำกำรรบกวนทีค่ วบคุมไม่ได้ เช่น Pain
2. มีควำมทุกข์ทรมำนระดับปำนกลำงถึงรุนแรงมำก ทีส่ มั พันธ์กบั กำรวินิจฉัยและรักษำ
โรคมะเร็ง
3. มีกำรพยำกรณ์โรคว่ำน่ำจะมีชวี ติ อยู่ < 6 เดือนเช่น PPS < 50
4. มีกำรลุกลำมแพร่กระจำยของก้อนมะเร็ง
5. ผูป้ ่ วยและครอบครัวต้องกำรกำรดูแลแบบประคับประคอง
 การประเมินด้านกายใน PC แตกต่างจากการประเมินตามปกติ
คือ PC มีการประเมินสมรรถนะและอาการ มากกว่าการประเมิน
ตาม organ system
 ประเมินอาการ สมรรถนะ ความปลอดภัย สภาวะโภชนาการ

 การตรวจร่างกายเป็ น therapeutic touch ช่วยหาสาเหตุอาการ


ของผูป้ ่ วย และประเมินความจาเป็ นของการตรวจทาง
ห้องปฏิบตั กิ าร
 อาการทางกายอาจมีสาเหตุจากหลายปั จจัย เช่นจากโรคหลัก จาก
การรักษาในปั จจุบนั หรือในอดีต หรืออาจจากโรคอื่นหรือโรคร่วมทีม่ ี
 ปั จจัยด้านจิตสังคมและจิตวิญญาณอาจมีบทบาทสาคัญต่ออาการ
ทางกาย
 การประเมินอาการโดยผูป
้ ่ วยเป็ นผูบ้ อกเองเป็ น gold standard
 แต่ละอาการ ซักลงในรายละเอียด
PPS Survival time
% (in days) เป็ นแบบประเมินระดับสมรรถนะผูป้ ่ วย
Mean (95%CI)
ระยะท้าย
10 3 (1,5)

20 7 (4,11) มีระดับตัง้ แต่ 0-100%


30 20 (16,24)
วัตถุประสงค์
40 39 (34,44)

50 76 (64,88)  สือ่ สารให้เห็นสมรรถนะของผูป้ ่ วยและ


60 92 (80,105) การพยากรณ์ระยะเวลาทีเ่ หลืออยู่
70 141 (92,190)
 ช่วยประกอบการตัดสินใจในการ
Lau, Downing et al.
J Pain Symp Manage. 2009 .
ดาเนินการต่างๆ
PPS
การ การปฏิบ ัติกจ
ิ กรรมและ การดูแลตนเอง การร ับประทาน ระด ับความรูส ึ ต ัว
้ ก
%
เคลือ
่ นไหว การปรากฏของโรคให้เห็น
100 ปกติ ทากิจกรรมและทางานได้ปกติ ปกติ ปกติ รูส ึ ต ัวดี
้ ก
ไม่ปรากฏอาการของโรค

90 ปกติ ทากิจกรรมและทางานได้ปกติ ปกติ ปกติ รูส ึ ต ัวดี


้ ก
โรคเริม
่ ปรากฏให้เห็น

80 ปกติ ต้องใชค ้ วามพยายามในการทากิจกรรม ปกติ ปกติหรือ รูส ึ ต ัวดี


้ ก
ตามปกติ ลดลง
โรคเริม
่ ปรากฏให้เห็น

70 ลดลง ไม่สามารถทากิจกรรมและทางานได้ ปกติ ปกติหรือลดลง รูส ึ ต ัวดี


้ ก
ตามปกติ

โรคปรากฏให้เห็นชดเจน

60 ลดลง ไม่สามารถทางานอดิเรก/งานบ้าน ่ ยเหลือ


ต้องชว ปกติหรือ รูส
้ ก ั
ึ ต ัวดีหรือสบสน

โรคปรากฏให้เห็นชดเจน เป็นครงคราว
ั้ ลดลง

50 นง่ ั /นอนเป็น ไม่สามารถทางานได้เลย ่ ยเหลือ


ต้องชว ปกติหรือ รูส
้ ก ั
ึ ต ัวดีหรือสบสน
สว่ นใหญ่ โรคมีการลุกลามมาก มากขึน้ ลดลง

40 อยูบ
่ นเตียง ไม่สามารถทากิจกรรมสว่ นใหญ่ได้ ต้องชว ่ ยเหลือ ปกติ หรือ รูส ึ ต ัวดีหรือง่วงซม
้ ก ึ
เป็นสว่ นใหญ่ โรคมีการลุกลามมาก ่
เป็นสวนใหญ่ ลดลง +/- สบสน ั

30 อยูบ
่ นเตียง ไม่สามารถทากิจกรรมใดๆ ต้องชว่ ยเหลือทุก ปกติหรือ รูส ึ ต ัวดีหรือง่วงซม
้ ก ึ
ตลอดเวลา โรคมีการลุกลามมาก อย่าง ลดลง +/- สบสน ั

20 อยูบ
่ นเตียง ไม่สามารถทากิจกรรมใดๆ ต้องชว่ ยเหลือทุก จิบนา้ ได้ รูส ึ ต ัวดีหรือง่วงซม
้ ก ึ
ตลอดเวลา โรคมีการลุกลามมาก อย่าง เล็กน้อย +/- สบสน ั

10 อยูบ
่ นเตียง ไม่สามารถทากิจกรรมใดๆ ต้องชว่ ยเหลือทุก ึ หรือไม่รส
ทาความสะอาดปาก ง่วงซม ึ ต ัว
ู้ ก
ตลอดเวลา โรคมีการลุกลามมาก อย่าง เท่านน
ั้ ั
+/- สบสน

0 ี ชวี ต
เสย ิ - - - -
กำรใช้ยำอย่ำงสมเหตุผล
ทีม่ าความสาคัญ
 มีการใช้ยาไม่เหมาะสมมากกว่าร้อยละ 50 ของการใช้ยา
ยาปฏิชีวนะ มีการสัง่ ใช้อย่างไม่สมเหตุผลในอัตราที่สูงมาก (ร้อยละ 41-91)
การใช้ยาอย่างไม่สมเหตุเกิดได้กบั ยาทุกกลุ่ม และกับผูส้ งั่ ใช้ยาทุกระดับ
 ผลเสี ย
ทาให้มีการใช้ยาที่ไม่จาเป็ น เพิม่ ความเสี่ ยงจากการใช้ยา
ทาให้เกิดปัญหาเชื้อดื้อยาในวงกว้าง
สร้างความสิ้ นเปลืองให้แก่ระบบประกันสุ ขภาพ และตัวผูป้ ่ วยเอง
กระทบต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ โดยไม่ช่วยแก้ไขปัญหาการเจ็บป่ วยของผูป้ ่ วย
ความหมาย
“การใช้ยาโดยมีข้อบ่ งชี้ เป็ นยาที่มปี ระสิ ทธิภาพจริง สนับสนุนด้วยหลักฐานที่
น่าเชื่อถือ ให้ประโยชน์กบั ผูป้ ่ วยมากกว่าความเสี่ ยงจากการใช้ยาอย่างชัดเจน มี
ราคาเหมาะสม คุม้ ค่าตามหลักเศรษฐศาสตร์สาธารณสุ ข เป็ นการใช้ ยาตามขั้นตอน
ทีถ่ ูกต้ องตามแนวทางการพิจารณาการใช้ยา โดยใช้ยาในขนาดที่พอเหมาะกับผูป้ ่ วย
ในแต่ละกรณี ด้วยวิธีการให้ ยาและความถี่ในการให้ยาที่ถูกต้องตามหลักเภสัช
วิทยาคลินิก ด้วยระยะเวลาการรักษาที่เหมาะสม ผูป้ ่ วยให้การยอมรับ และสามารถ
ใช้ยาดังกล่าวได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง กองทุนในระบบประกันสุ ขภาพหรื อระบบ
สวัสดิการสามารถให้เบิกจ่ายค่ายานั้นได้อย่างยัง่ ยืนไม่เลือกปฏิบตั ิ”
กรอบแนวคิดในการใช้ยาอย่างสมเหตุผลและตัวอย่าง

1. ข้อบ่งชี้ (Indication)
 ใช้ยาเมื่อมีความจาเป็ น (เกิดประโยชน์มากกว่าโทษ)
ตัวอย่าง
การให้ยาลดไขมันในผูป้ ่ วยที่ไขมันในเลือดสู งและมีความเสี่ ยงต่อการเกิด
โรคหลอดเลือดหัวใจ
การใช้ยา ABO ในผูป้ ่ วยที่เป็ นหวัดที่ไม่มีการติดเชื้อแบคทีเรี ย
การให้ยาคลายกล้ามเนื้อในผูส้ ู งอายุ
 เวียนหัว ท้องผูก ง่วงซึ ม ปากแห้ง ความจาเสื่ อม
กรอบแนวคิดในการใช้ยาอย่างสมเหตุผลและตัวอย่าง
2. ประสิ ทธิผล (Efficacy)
ยานั้นเป็ นประโยชน์ต่อผูป้ ่ วยอย่างแท้จริ ง
 ดูกลไกการออกฤทธิ์
 ยาคลายกล้ามเนื้อ ใช้ในโรคกล้ามเนื้อหดเกร็ ง ไม่ใช่ใช้ในโรคที่มีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
เช่น RA, OA
 มีหลักฐานเชิงประจักษ์สนับสนุนเพียงพอ
 พาราเซตามอล ใช้แก้ปวดลดไข้
 กลูโคซามีน ใช้ลดภาวะข้อเสื่ อม ยังมีขอ้ ขัดแย้ง
 ประโยชน์แตกต่างจากยาหลอกและมีความหมายทางคลินิก
 ยาลดบวม ผลไม่ต่างจากยาหลอก
ใช้ยา bromhexine ลดเสมหะได้ 4 ml (ผูป้ ่ วยแยกความต่างไม่ได้)
กรอบแนวคิดในการใช้ยาอย่างสมเหตุผลและตัวอย่าง

3. ความเสี่ ยง (Risk)
 คานึงถึงความปลอดภัยของผูป้ ่ วยเป็ นหลัก
ประโยชน์มากกว่าโทษ
 ยาลดไขมันในผูป้ ่ วยไขมันสู ง หรื อผูป้ ่ วยเบาหวานที่มีความเสี่ ยงโรคหัวใจ
 การใช้ยาคลายกล้ามเนื้อ (Orphenadrine) ในผูส้ ู งอายุ
ไม่มีขอ้ ห้ามในผูป้ ่ วย
 การใช้ Atorvastatin พาราเซตามอล ในคนที่เป็ นโรคตับ
 การใช้แอสไพริ นในเด็กต่ากว่า 12 ปี
กรอบแนวคิดในการใช้ยาอย่างสมเหตุผลและตัวอย่าง

4. ค่าใช้จ่าย (Cost)
 ใช้ยาอย่างพอเพียงและคุม้ ค่า
การใช้ยาตามชื่อสามัญ (พาราเซตามอล กับ ไทลินอล)
การใช้ยาต้นแบบที่ผลิตจากต่างประเทศ
ยากลุ่มยับยั้ง COX-II กับ NSAIDs
กรอบแนวคิดในการใช้ยาอย่างสมเหตุผลและตัวอย่าง

5. องค์ประกอบอื่น ๆ ที่จาเป็ น (Other considerations)


รอบรู ้ รอบคอบ ระมัดระวัง รับผิดชอบและใช้ยาอย่างเป็ นขั้นตอน
ตามมาตรฐานทางวิชาการ
 ไม่ใช้ยาซ้ าซ้อน: Norgesic กับ พาราเซตามอล
 ไม่ใช้ยาพร่ าเพรื่ อ: ยาปฏิชีวนะ
 ใช้ยาตามแนวทางการรักษา
 ใช้พาราเป็ นยาตัวแรกในการรักษาเข่าเสื่ อมอาการเล็กน้อย
กรอบแนวคิดในการใช้ยาอย่างสมเหตุผลและตัวอย่าง

6. ขนาดยา (Dose)
 ใช้ยาถูกขนาด ไม่นอ้ ยหรื อมากเกินไป ไม่ปรับยาเอง

7. วิธีให้ยา (Method of administration)


 ใช้ยาถูกวิธี
ยาก่อนอาหาร กินตอนท้องว่าง
หลีกเลี่ยงการใช้ยาฉี ดโดยไม่จาเป็ น
หลังพ่นยาสเตียรอยด์ควรบ้วนปาก
ยาหยอดจมูกแก้คดั จมูกไม่ควรใช้เกิน 3 วัน
กรอบแนวคิดในการใช้ยาอย่างสมเหตุผลและตัวอย่าง

8. ความถี่ในการให้ยา
 ใช้ยาด้วยความถี่ที่เหมาะสม
Amoxicillin ใช้วนั ละ 2-3 ครั้ง (ไม่ควรใช้ 4 ครั้ง)
Cloxacillin ใช้วนั ละ 4 ครั้ง
9. ระยะเวลาในการให้ยา (Duration of treatment)
ใช้ยาในระยะเวลาการรักษาที่เหมาะสม ไม่นานหรื อสั้นเกินไป
 การใช้ยารักษาแผลในกระเพาะควรใช้ต่อเนื่อง 4 สัปดาห์
 การใช้ยารักษาสิ วใช้ต่อเนื่อง 6-8 สัปดาห์
กรอบแนวคิดในการใช้ยาอย่างสมเหตุผลและตัวอย่าง

10. ความสะดวก (Patient compliance)


 ใช้ยาโดยคานึงถึงความสะดวกและการยอมรับของผูป้ ่ วย
อธิบายหรื อให้ขอ้ มูลให้ผปู ้ ่ วยเข้าใจ
 Tretinoin ชนิดทาทาให้ระคายเคือง สิ วเห่อในสัปดาห์แรก หลีกเลี่ยงแสงแดด
เลือกยาที่ใช้สะดวก เช่น กินวันละ 1-2 ครั้งมากกว่ากินวันล 3-4 ครั้ง
มีการตรวจสอบความเข้าใจและติดตามผลการใช้ยาทุกครั้ง
ตัวอย่ างการใช้ ยาไม่ เหมาะสมทีพ่ บบ่ อย
 ยาระบาย นามาใช้เป็ นยาลดความอ้วน
ไม่มีขอ้ บ่งใช้ ไม่มีหลักฐานทางิชาการสนับสนุน กลไกการออกฤทธิ์ไม่
สนับสนุน
 พาราเซตามอล
ปกติกินวันละไม่เกิน 4 กรัม กินติดต่อกันไม่เกิน 5 วัน หลีกเลี่ยงการใช้ในคนที่
เป็ น G-6PD ผูท้ ี่ดื่มสุ ราหรื อสู บบุหรี่
ปัญหาที่เจอ:
 กินติดต่อกันทุกวัน มีการกินยาในคนที่ดื่มสุ รา
 กินยาเกินขนาด
ตัวอย่ างการใช้ ยาไม่ เหมาะสมทีพ่ บบ่ อย
 ไม่ สบายต้ องฉีดยาจึงจะหาย
 การหยุดยาเอง หรื อปรับยาเอง
 การกินยาปฏิชีวนะพร่าเพรื่ อ
ท้ องเสี ย เจ็บคอ
 การฉีดยาให้ ผวิ ขาว
กลูตา
วิตามินซี
สรุ ป

การดูแลสุขภาพของบุคคล จะได้ผลดีนนั้ จะต้องให้บคุ คลสามารถ


ช่วยเหลือตนเองเกี่ยวกับสุขภาพ คือบุคคลจะต้องสามารถกาหนด
เป้าหมายเกี่ยวกับสุขภาพของตนเองได้วา่ ต้องการให้สขุ ภาพของ
ตนเองเป็ นอย่างไร โดยพยาบาลต้องสามารถช่วยเหลือให้บคุ คลมี
ความรูค้ วามสามารถในการปฏิบตั ิตนเพื่อป้องกันและส่งเสริม
สุขภาพของตนเองขณะเจ็บป่ วยได้
101

ข้อซักถามครับ
คบส.ลำพูน 2561

You might also like