You are on page 1of 18

พัฒนาการ

มน ุษย์
27

ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางสังคม
ทฤษฎี และบ ุคลิกภาพ
จิตวิทยา
พัฒนาการ ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางอารมณ์
28

ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางสังคมและบ ุคลิกภาพ

• การเจริญเติบโตทางร่างกาย และสิ่งแวดล้อม มีความสัมพันธ์กบั พัฒนาการ


ทางจิตใจ และบุคลิกภาพ ทาให้บคุ คลสามารถปรับตัวอยู่ร่วมกับผูอ้ ื่นในสังคมได้
• สิ่งแวดล้อมทัง้ ทางกายภาพ (Physical) ทางสังคม (Social) ทางวัฒนธรรม (Cultural)
และทางความคิด (Ideational) มีอิทธิพลกับพัฒนาการของชีวิตมนุษย์ตงั้ แต่แรกเกิด
จนวัยชรา
• ส่งผลต่อความคิดริเริ่ม ความสามารถในการปรับตัว
บุคลิกภาพ และพฤติกรรมต่างๆ
29

พัฒนาการทางจิตสังคม 8 ขัน้
ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางสังคมและบุคลิกภาพ

• แบ่งช่วงชีวิตของมนุษย์ จากแรกเกิดถึงประมาณอายุ 80 ปี เป็ น 8 ช่วง


ตามการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย และสมอง
• จากวัยเด็กจนถึงวัยรุ่นจะมีการเจริญเติบโตเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
• ช้าลงในช่วงวัยผูใ้ หญ่ตอนต้น มีความคงที่ในวัยผูใ้ หญ่
• วัยผูใ้ หญ่ตอนกลางจนถึงวัยชราพัฒนาการในด้านต่างๆ เริ่มเสื่อมถอยลง แต่คงไว้
ซึ่งประสบการณ์ชวี ิตที่ผา่ นมา
• ขัน้ 1 ถึงขัน้ 4 การสัง่ สมประสบการณ์ และการเรียนรูใ้ นการแก้ปัญหา
• ขัน้ 5 การปรับตัวเพื่อแสวงหาอัตลักษณ์
• ขัน้ 6 ถึงขัน้ 8 เป็ นการนาเอาอัตลักษณ์ไปใช้
30

พัฒนาการทางจิตสังคม 8 ขัน้
ขัน้ ที่ 1 ความรส้ ู ึกไว้เนื้อเชื่อใจ กับ ความไม่ไว้วางใจ (Trust vs. Mistrust)
• ตัง้ แต่แรกเกิดจนถึงขวบปี แรก
• ทารกจะมีความสุขความพึงพอใจบริเวณปาก และกิจกรรมเกี่ยวกับการกลืนกิน
• หากทารกได้รบั การตอบสนองต่อความต้องการขัน้ พื้นฐานทางกายและทางจิตใจ
ตอบสนอง อ าง เ ยงพอ ความ นคง
า ก
จะ
อย่างต่อเนือ่ ง เช่น การมอบความรัก การดูแลเอาใจใส่ ใน ตใจ

• จะพัฒนาความรูส้ ึกไว้เนือ้ เชือ่ ใจขัน้ พื้นฐาน (Basic Trust)


ต่อบุคคลและสิ่งแวดล้อม
• เป็ นจุดพื้นฐานเริ่มต้นของการพัฒนาอัตลักษณ์แห่งตน
(Self-concept) นาไปสูก่ ารรับรูค้ วามสามารถของตน
าไ บไ เ ยงพอ จะไ นคง +
ไ ไ ใจ ง แวด อม
ถู
ถ้
ถ้
จิ
มั่
มี
รั
มั่
สิ่
พี
พี
ว้
ม่
ม่
ด้
ย่
ม่
ล้
31

พัฒนาการทางจิตสังคม 8 ขัน้
ขัน้ ที่ 2 ความเป็นตัวของตัวเอง กับ ความละอายและสงสัย
(Autonomy vs. Shame and Doubt)
• อายุ 2 – 3 ขวบ
• การอบรมเลี้ยงดูอย่างเหมาะสม มีความมัน่ คงอดทน
ให้โอกาสเด็กได้ทาสิ่งต่างๆ ตามความความต้องการ
• จะทาให้เด็กเกิดความรูส้ ึกเป็ นตัวของตัวเอง (Sense of Autonomy)
และการควบคุมตนเอง (Self Control)
• หากปล่อยปละละเลย ดุว่า หรือเข้มงวดกับเด็กมากเกินไป เด็กจะรูส้ ึกละอาย
สงสัยในความสามารถของตนเอง ไม่มนั ่ ใจในการแสดงความคิดเห็น
ไม่มนั ่ ใจว่าจะควบคุมชีวิตตนเองได้
32

พัฒนาการทางจิตสังคม 8 ขัน้
ขัน้ ที่ 3 ความคิดริเริม่ กับความรูส้ ึกผิด (Initiative vs. Guilt)
อ ห ง เ ยน แบบ แ )
• อายุ 3 – 5 ปี เ ก
→ จะ การ เ ยน
แบบ -
อ แ (
ชาย เ ยน
แบบ ,

• เด็กเริ่มเรียนรูบ้ ทบาททางเพศ มาตรฐานทางศีลธรรม และการควบคุมอารมณ์


• ครอบครัวจะเป็ นแหล่งชี้แนะถึงสิ่งต่างๆ ในสังคมให้แก่เด็ก
ส่งเสริมอย่างเหมาะสมให้เด็กเกิดความมัน่ ใจ เป็ นการพัฒนา
การเรียนรูค้ วามสามารถของตนเอง (Self-efficacy)
• เด็กเริ่มสร้างบุคลิกภาพและความรูส้ ึกผิดชอบชัว่ ดี
จากกิจกรรมและประสบการณ์ร่วมกับสิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัว
• การเรียนรูน้ เี้ ด็กจะได้รบั จากตัวแบบ (Role Model) ในครอบครัว ๆ

กอ าง
จะ เ ด ความไ นใจใน ว เอง

• หากจากัดการทากิจกรรม หรือถูกตาหนิ เมือ่ คิดและทดลองทาสิ่งต่าง ๆ


ทาให้ขาดความเชื่อมัน่ ในตนเอง มีความคิดคัดค้าน หรือความรูส้ ึกผิดเกิดขึน้
มี
พ่
พ่
ทุ
ถ้
ก็
ตั
มั่
กิ
ลี
ลี
ลี
ม่
ย่
ด็
ม่
ม่
ญิ
33

พัฒนาการทางจิตสังคม 8 ขัน้
ขัน้ ที่ 4 การรูส้ ึกประสบความสาเร็จกับความรูส้ ึกต่าต้อย
(Industry vs. Inferiority)
• อายุ 6 – 12 ปี เ ม ความ ด ตน เอง สา
ของ มาก อะไรไ เห อน ให
• การเสาะแสวงหาสิ่งต่างๆ ทาให้เด็กมีประสบการณ์กบั สิ่งใหม่ ๆ รอบตัวเขามากขึน้
• เนือ่ งจากก่อนหน้านีไ้ ม่สามารถทากิจกรรมหลายอย่างได้ เพราะมีผใู้ หญ่คอยบังคับ
และควบคุม p
ป ก ง
ความ ก เจ
• จุดสาคัญคือการได้แสดงออกว่าตนเองมีความคิด
และมีความสามารถเหมือนผูใ้ หญ่คนอื่นๆ เช่นกัน
สร้างความเชือ่ มัน่ ว่าจะประสบความสาเร็จในอนาคตได้
• เริ่มมีการเปรียบเทียบและแข่งขันกับผูอ้ ื่นมากขึน้ ซึ่งอาจนาไปสู่ความไม่มนั ่ ใจ
ทำ
คิ
มี
ผู้
รู้
สำ
ริ่
สึ
ด้
ลู
มื
ญ่
ร็
ฝั
34

พัฒนาการทางจิตสังคม 8 ขัน้
ขัน้ ที่ 5 ความเป็นอัตลักษณ์กบั ความสับสนในบทบาท
(Identity vs. Role Confusion)
• อายุ 13 – 20 ปี
• เป็ นช่วงแสวงหาเอกลักษณ์ของตน (Identity)
โดยการเปรียบเทียบกับผูอ้ ื่น
• พบปั ญญหาการปรับตัวในวัยนีม้ าก เพราะมีการเปลี่ยนแปลงทัง้ ทางด้านร่างกาย
และจิตใจเพื่อเตรียมเข้าสูว่ ยั ผูใ้ หญ่
• ให้ความสาคัญกับกลุม่ เพื่อนรุ่นราวคราวเดียวกัน (Peer group) มากเป็ นพิเศษ
เพราะใช้ชวี ิตและทากิจกรรมด้วยกันมาก
35

พัฒนาการทางจิตสังคม 8 ขัน้
ขัน้ ที่ 6 ความใกล้ชิดสนิทสนมกับความรูส้ ึกโดดเดี่ยวอ้างว้าง
(Intimacy vs. Isolation)
• อายุประมาณ 21 – 35 ปี
• รูจ้ กั ตนเอง รูว้ ่าตนเองมีความเชือ่ อย่างไร ต้องการอะไรในชีวิต
• เกิดความรูส้ ึกต้องการพัฒนาความรูส้ ึกผูกพันกับผูอ้ ื่น ที่จะรับและแลกเปลี่ยนสิ่งต่างๆ
ถ้าไม่สามารถสร้างความรูส้ ึกผูกพันใกล้ชดิ กับผูอ้ ื่นได้ มีความต้องการแข่งขันหรือ
ทะเลาะเบาะแว้งกับผูอ้ ื่น ก็จะนาไปสูค่ วามรูส้ ึกโดดเดีย่ วอ้างว้าง
• การปรับตัวของวัยนีค้ ือ การเลือกคูค่ รอง และการมีหน้าที่การงานที่เหมาะสม รวมทัง้
การเข้ากันได้ดกี บั เพื่อนร่วมงาน
• การไม่สามารถปรับตัวได้จะทาให้บคุ คลแยกตัวออกไปจากสังคม และครอบครัว
36

พัฒนาการทางจิตสังคม 8 ขัน้
ขัน้ ที่ 7 ความรส้ ู ึกรับผิดชอบแบบผูใ้ หญ่กบั ความรูส้ ึกเฉื่อยชา
(Generativity vs. Self absorption/ Stagnation)
• อายุ 36 – 59 ปี → ส าง ประโยช ใ งคม

• ต้องการมีบตุ รไว้สืบสกุล หากไม่สามารถพัฒนามาถึงขัน้ นี้ ย่อมเกิดความรูส้ ึกท้อถอย


และเหนือ่ ยหน่ายในชีวิต คิดถึงแต่ตนเอง เริ่มมีความเจ็บป่ วยเรื้อรัง และปฏิเสธความ
รับผิดชอบต่อสังคม
• เป็ นวัยที่สนใจและต้องการสร้างประโยชน์ให้แก่สงั คม รวมเป็ นอันหนึง่ อันเดียวกับชีวิต
ส่วนตัว
• รูจ้ กั แก้ปัญหาที่เกิดขึน้ กับตนเอง ปั ญหาครอบครัว และเลี้ยงดูบตุ รด้วยความเอาใจใส่
• ระยะนีเ้ ป็ นระยะที่บคุ คลตัง้ ใจทางานเพื่อให้สิ่งต่างๆ ดีขนึ้
สั
ร้
ห้
น์
37

พัฒนาการทางจิตสังคม 8 ขัน้
ขัน้ ที่ 8 ความมัน่ คงสมบูรณ์ในชีวิตกับความสิ้นหวัง (Integrity vs. Despair)
• อายุ 60 – 80 ปี หาก ฒนา 1-7 ไ ตอน จะ Peak

• พัฒนาการขัน้ สุดท้ายนีม้ พี ื้นฐานจากการปรับตัวในช่วงต้นของชีวิต
• บุคคลในช่วงวัยนีม้ กั แสวงหาความมัน่ คงภายในจิตใจ ซึ่งเกิดเมือ่ บุคคลสามารถผ่าน
พัฒนาการในขัน้ ต่างๆ มาได้อย่างดี
• เป็ นวัยของการยอมรับความเป็ นจริง ใช้คณ ุ ค่าจากประสบการณ์ ที่สงั ่ สมมา ให้เป็ น
ประโยชน์ตอ่ ชนรุ่นหลัง
• ถ้าบุคคลมีความทรงจาที่ผดิ หวังอยู่ตลอด และพบปั ญหาอุปสรรคในพัฒนาการของ
ช่วงที่ผา่ นมา จะมีความรูส้ ึกท้อแท้ หมดหวัง เหนือ่ ยหน่ายกับชีวิต
พั
สุ
นี้
ดี
ด้
38

ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางอารมณ์

• พัฒนาการทางอารมณ์ในวัยเด็กตอนต้นมีความสาคัญ
• เป็ นการวางรากฐานในวัยต่อไป
• ทาให้เห็นการตอบสนองทีไ่ ม่เหมือนกันในการก้าวไปสูอ่ ีกวัย
39

ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางอารมณ์
อารมณ์โกรธ

• เกิดขึน้ กับเด็กทุกคน เมือ่ มีสิ่งมาขัดขวางการกระทา


• เกิดขึน้ เมือ่ เด็กอายุประมาณ 6 เดือน
และเกิดบ่อยครัง้ มากขึน้ หลัง 6 เดือนไปแล้ว
• อัตราการแสดงความโกรธจะแตกต่างกันตามอายุ
• ช่วง 6 เดือน ถึง 2 ขวบ จะแสดงความโกรธ
ทางการกระทา เช่น ร้อง ดิ้น เตะ ถีบ
40

ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางอารมณ์
อารมณ์กลัว

• เป็ นปฏิกิริยาการสนองตอบระหว่างการเรียนรู้ และวุฒิภาวะ


• ความกลัวจะเปลี่ยนแปลงไปตามวัย
• เด็กแรกเกิดจะไม่รจู้ กั ความกลัว
• ความกลัวส่วนใหญ่จึงเกิดจากการเรียนรู้

อ า หยอก เ ก

( แ ว อาจาร
ใ ต งไง กทม )
.
ชี
ที่
ยั
ด็
ล้
ช้
ย่
วิ
ย์
41

ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางอารมณ์
อารมณ์อิจฉาริษยา

• เกิดขึน้ เมือ่ เด็กอายุได้ 1 ขวบครึ่ง


• รวมอารมณ์โกรธและกลัวเข้าไว้ดว้ ยกัน
• เกิดเมือ่ รูส้ ึกต่อต้านหรือไม่พอใจ
เมือ่ เห็นพ่อแม่เอาใจใส่นอ้ งมากกว่า
• อาจเกิดได้กบั ครอบครัวที่ไม่ได้อบรม
เรื่องการมีวินยั อย่างสมา่ เสมอ
42

ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางอารมณ์
อารมณ์ดีใจ

• การแสดงออกของอารมณ์ที่มคี วามสุข
• 2-3 เดือนแรก เด็กจะแสดงออกด้วยการยิ้ม และหัวเราะ
• 1 ขวบครึ่ง จะยิ้มกับกิจกรรมของตนเองและยิ้มกับผูอ้ ื่นได้
43

ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางอารมณ์
อารมณ์รกั

• เกิดขึน้ กับเด็กทุกคนเมือ่ ได้รบั การดูแลเอาใจใส่


• ส่วนใหญ่เกิดขึน้ เมือ่ มีประสบการณ์ที่รื่นรม
• เกิดกับตนเองก่อน คือ รักตนเอง ต่อมาจึงรูจ้ กั รักผูอ้ ื่น
• เด็ก 2 ขวบจะรูส้ ึกรักตนเอง และรักสิ่งของที่เป็ นของตน

You might also like