You are on page 1of 4

การเป็ นหัวหน้ างาน

บทบาทของหัวหน้ า
1. ตัวกลางเชื่อมต่อระหว่างผู้บริ หารและพนักงาน มีการประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ได้ ดี
2. ทาตัวเป็ นแบบอย่างที่ดี (Role model)
3. สร้ างทัศนคติที่ดีในการบรรลุเป้าหมายองค์กร
4. รับความเสีย่ ง กล้ าตัดสินใจ
5. การใช้ จิตวิทยาในการบังคับบัญชา มีการการให้ คาปรึกษาแก่ลกู น้ อง
6. สนับสนุนความเป็ นทีม
7. การสอนงาน การสัง่ งานลูกน้ อง
8. ติดตามให้ ความช่วยเหลือลูกน้ องอย่างจริงจังและเป็ นระบบ (Monitor)
9. วางแผนงานและกาหนดเป้าหมาย
10. วิเคราะห์สาเหตุของปั ญหาและปรับปรุงแก้ ไข ประเมินผลงานอย่างต่อเนื่อง

สไตล์ หัวหน้ างาน

ชอบสั่ง ชอบสอน

ชอบช่ วยเหลือ พี่ใจร้ าย นักปฏิบตั ิ


(ช่วยเหลือเมื่อร้ องขอ) (ชอบช่วยเหลือ)

ไม่ ชอบช่ วยเหลือ นักเผด็จการ คุณครู


(สัง่ แล้ วต้ องได้ ) (ชี ้เป็ นขันตอน)

หัวหน้ างานมักจะมี 2 คุณสมบัตแิ ล้ วแต่วา่ จะมีมากน้ อยเพียงใด เช่น เป็ นนักปฏิบตั ิ+คุณครู หรื อ เป็ นพี่ใจร้ าย+
นักเผด็จการ ซึง่ ไม่มีแบบไหนดีทสี่ ดุ ขึ ้นกับสถานการณ์ เช่น
-เร่งด่วน ต้ องเป็ นเผด็จการทันที
-ลูกน้ องใหม่ เป็ นนักปฏิบตั กิ ่อนแล้ วเป็ นพี่ใจร้ าย เมื่อลูกน้ องเก่งแล้ วจึงเป็ นเผด็จการ

สัดส่ วนเวลาที่ให้ ลกู น้ อง

ลูกน้ อง 60% ตนเอง40%


งานลูกน้ อง 40% งานตนเอง 40%
พัฒนา 20%
ส่วนตัว 10%

1
ปั จจัยสาคัญที่ทาให้ ลูกน้ องทางานได้ สาเร็จ
1. มีความรู้
2. มีทกั ษะ
3. มีทศั นคติและความตังใจที ้ ่ดี
4. มีอารมณ์ทมี่ นั่ คง EQ
5. มีพฤติกรรมทีเ่ หมาะสม
6. มีการเรี ยนรู้ตอ่ เนื่อง
7. ได้ รับการสนับสนุนที่จาเป็ น
8. มีสภาพองค์กรทีเ่ อื ้ออานวย เช่น มีการช่วยเหลือซึง่ กันและกัน มี morning brief มาถึงทักทายกันไม่ใช่คยุ แต่เรื่ องงาน

อุปสรรคในการเป็ นหัวหน้ างานที่ดี


1. มีความรู้ความสามารถไม่เพียงพอ
2. ไม่ทราบบทบาทและหน้ าที่ของหัวหน้ างาน
3. ประสบการณ์ในการบริ หารงานน้ อย
4. บุคลิกภาพการวางตัว ขาดความเชื่อมัน่ มีความมัน่ ใจในตนเองน้ อย
5. มีคณุ ธรรม จริ ยธรรมไม่เพียงพอ มีความลาเอียง
6. ไม่มีศิลปะในการสือ่ สาร ในการพูด ฟั ง การโน้ มน้ าว การสัง่ การ
7. ไม่มีความอดทนต่อการกดดัน ภาระงานที่ได้ รับ
8. บริ หารเวลาไม่เหมาะสม
9. ไม่ร้ ูจกั ลูกน้ องของตนเอง
10. ขาดทักษะในการตัดสินใจและแก้ ไขปั ญหา

เทคนิคการเข้ าใจและเข้ าถึงลูกน้ อง


1. หัวหน้ าเข้ าใจลักษณะลูกน้ อง
2. หัวหน้ าปรับตัวเข้ าหาลูกน้ อง
3. ให้ เวลาทังในเวลางานและนอกเวลางาน

4. รับฟั งปั ญหา-งานและส่วนตัว
5. มอบหมายงานที่เหมาะสม
6. ตรวจสอบและติดตามผล
7. บริ หารให้ เหมาะสมกับสิง่ ที่เข้ าเป็ น
8. ทาดี ให้ ได้ ดจี ริ ง
9. ผิดต้ องเตือน
10. ดีต้องชมอย่างจริ งใจ
11. สร้ างและรักษาความสัมพันธ์
12. มี teamwork
13. เพิ่มความเก่งและความดี

2
14. หาปั ญหาลูกน้ องและช่วยเหลือ
15. มีกิจกรรมนอกเวลางาน
16. จดจาเหตุการณ์และวันสาคัญของลูกน้ อง

สร้ างความรู้ สึกเหมือนคนในครอบครั วเดียวกัน

การสร้ างพลังทีม สร้ างพลังตนให้ ลกู น้ อง กระตุ้นให้ คนทางาน


1. ใช้ ความชานาญที่แตกต่างของลูกน้ อง
2. มีเป้าหมายร่วมกัน
3. มีความรับผิดชอบร่วมกัน
4. รับฟั งและให้ เกียรติซงึ่ กันและกัน
5. ลดความเสีย่ ง ลดความผิดพลาด
6. ต้ องอาศัยภาวะผู้นา
7. มี Team spirit และ Unity
8. มีทศั นคติเชิงบวก

วิธีตดิ ตามการทางานของลูกน้ อง
1. ต้ องบอกวัตถุประสงค์ของงานนันให้ ้ ชดั เจน บอกประโยชน์วา่ ทาแล้ วจะได้ อะไร ไม่ใช่สงั่ เพียงอย่างเดียว
2. บอกเนื ้อหาว่ามีอะไรบ้ าง มีการยกตัวอย่างที่ชดั เจน เป็ นขันเป็ ้ นตอน ฝึ กทดลองทา แสดงบทบาทสมมติ มีศิลปะในการ
สอน ไม่ดุ สอนอย่างน้ อย 2 รอบ มีการทวนสอบความเข้ าใจ ให้ โอกาสเขาสอบถาม ทาการสอนให้ สนุก
3. มีการสรุป
4. ชี ้แจงว่าจะมีการติดตามเมื่อไร ติดตามอะไรบ้ าง อาจมีการคิดคาขวัญในการติดตาม
5. ปั ญหาในการสอนงาน
-ลูกน้ องชอบเถียง ให้ บอกเขาว่า ขอให้ เราพูดจบก่อน
ต้ องกล้ ายืนยันในหลักการ
-ลูกน้ องดื ้อเงียบ ให้ เขาเป็ นคนพูดว่าเขาจะต้ องทาอะไร
ให้ เขาทา check list ว่าต้ องทาอะไร เพื่อเป็ นการยืนยันด้ วยตนเอง และเราเพิ่มเติมในส่วนที่
ขาด
ให้ เขาพูดความเห็นของเขา
ชมในสิง่ ที่เขาทาได้ ดี สนับสนุนเขา เช่น พี่มนั่ ใจว่าน้ องทาได้ แน่นอน
6. ทาให้ สนุก หาเครื่ องมือทาให้ เขารู้สกึ สนุก
7. ให้ มีพนั ธะสัญญาร่วมกัน ฝึ กทาให้ เป็ นนิสยั จะได้ ไม่ร้ ูสกึ ฝื นใจ
8. มีการใช้ ระบบพี่เลี ้ยง
9. ขณะสอนต้ องให้ ความสาคัญกับทุกคน
-ต้ องประยุกต์เหตุการณ์ให้ เห็นทุกสถานการณ์ (ใช้ เพียง 1 เรื่ องโยงกับเรื่ องอื่น)

3
-อย่าเกิน 2 ชัว่ โมงต่อครัง้
10. ประชุมด้ วยกันบ่อยๆ เพื่อสร้ างความเข้ าใจร่วมกัน
11. บอกเขาว่าเราจะช่วย ถ้ าผิดพลาดเราก็จะให้ โอกาส

เมื่อพบปั ญหาว่ าลูกน้ องไม่ ปฏิบัติตามที่สอน


1. ถ้ ามีปัญหาอย่าปล่อยปั ญหาไว้ นานเกิน 3 ชัว่ โมง
2. อย่าเพิง่ ด่าก่อน ให้ ชี ้แจงปั ญหาทีพ่ บ โดยพูดข้ อเท็จจริ งทีเ่ กิดขึ ้น ให้ โอกาสเขาชี ้แจงสิง่ ที่เกิดขึ ้น
3. พูดชมก่อนแล้ วค่อยติ โดยกล่าวถึงสิง่ ที่ควรจะทาเพิม่
4. ห้ ามสอนงานเชิงตาหนิตอ่ หน้ าผู้อื่นหรื อตรงหน้ างาน
5. ใช้ คาพูดแบบพี่สอนน้ อง อย่าใช้ ระบบสัง่

You might also like