You are on page 1of 10

MCS 3181

การพูดสาหรับผูน้ า
Speech for Leadership
โดย อ.วิ ช ชุ ต า มั ง คะลี
EMAIL: VICHUTA.M@GMAIL.COM
บทที่ 6 การเตรี ยม การจัดเรื่ องและการขึ้นเวทีพดู
The Preparation, Structure and
Delivery of Speech
- การเตรี ยมเรื่ องพู ด - การจั ด เรื่ อง - การกล่ า วปฏิ สั น ถารกั บ ผู้ ฟั ง
- การฝึ กซ้ อมพู ด -วิ ธี พู ด ด้ วยการอ่ า น - วิ ธี แ ก้ ความกั ง วลและตื่ น เวที
การเตรี ยมเรื่ องพูด
1. ขันเริ
้ ่มคิด – ผู้พดู จะพูดอะไรบ้ าง จดหัวข้ อที่คิดว่าน่าจะนาไปพูด
2. ขันเขี
้ ยนโคร่งร่าง (outline) – เพื่อเป็ นการวางแนวทางว่าตนพูดอะไรบ้ าง เพราะโครงร่างก็คือการ
เรี ยงลาดับเรื่ องที่จะพูด
3. ขันการค้
้ นคว้ า (research) – ขันการค้
้ นคว้ ารายละเอียดปลีกย่อยต่างๆ เพื่อให้ เนื ้อหาสมบูรณ์ วิธี
ค้ นคว้ าอาจทาได้ ด้วยการอ่านหนังสือ ซึง่ ควรเฉพาะที่เกี่ยวกับหัวข้ อที่จะนาไปพูดเท่านัน้
นอกจากนี ้ผู้พดู ก็อาจหาข้ อมูลได้ จากการสัมภาษณ์และจากประสบการณ์ของตนเองอีกด้ วย ผู้ที่จะเป็ นผู้นา
ควรจะเตรี ยมเรื่ องที่จะพูดด้ วยตนเอง ในกรณีมีความจาเป็ นต้ องให้ คนอื่นเตรี ยมให้ ควรให้ ผ้ ทู ี่ค้ นุ เคยเป็ นผู้
เตรี ยมให้ โดยผู้พดู ต้ องแนะแนวเรื่ องที่จะพูดไว้ ก่อน
การจัดเรื่ อง
1. คานา (Introduction)
คานาเป็ นส่วนสาคัญที่สดุ ควรมีความยาว 1 ใน 10 ของเนื ้อเรื่ องอาจขึ ้นด้ วย คาจากัดความ
คาถาม สุภาษิต คาคม ฯลฯ แล้ วค่อยๆเข้ าสูเ่ นื ้อเรื่ องอย่างนุ่มนวล
2. ตัวเนื ้อเรื่ อง (Main Body)
ส่วนเนื ้อเรื่ องสามารถดาเนินตามหัวข้ อที่ได้ เตรี ยมไว้ โดยจัดลาดับหรื อจัดหมวดหมู่ หรื อลาดับ
ตามหลักเหตุผล
3. บทสรุป (Conclusion)
สาคัญเท่าๆกับคานา บทสรุปควรใช้ น ้าเสียงที่ก่อให้ เกิดความประทับใจ ซึง่ อาจสรุปจบด้ วย คาคม
สุภาษิตและคาขอร้ อง
การกล่าวปฏิสนั ถารกับผูฟ้ ัง
1. การกล่าวคาปฏิสนั ถารชนิดที่เป็ นพิธีการ
ผู้นาเป็ นผู้พดู คากล่าวในงานรัฐพิธี งานศาสนพิธี และงานพิธีตา่ งๆ กล่าวเพื่อแสดงความรู้สกึ ผู้ให้
โอวาทจะต้ องกล่าวคาปฏิสนั ถาร
2. การกล่าวคาปฏิสนั ถารชนิดไม่เป็ นพิธีการ
ผู้นาการพูดใช้ หลักการพูดแบบนักการเมือง คือต้ องเข้ าถึงประชาชน การพูดควรเป็ นกันเองและ
เพิ่มคาที่แสดงความรู้สกึ ไม่มีชนชัน้

สาหรับสรรพนามที่ใช้ เรี ยกผู้ฟังนันควรเป็


้ นคาที่ให้ เกียรติหรื อแสดงความเป็ นพวกเดียวกันกับผู้พดู
การฝึ กซ้อมพูด
• วิธีซ้อมพูดหน้ ากระจก
ผู้พดู ควรพยายามพูดและแสดงท่าทางเหมือจริงทุกอย่าง เมื่อซ้ อมพูดได้ ประมาณ 5 นาทีก็เริ่มเปลี่ยนอิริยาบถ
และขณะที่ซ้อมพูดผู้พดู ควรพูดเสียงดัง (ไม่ตะโกน) และแสดงท่าทางประกอบอย่างตังใจและเต็
้ มที่ เพราะการซ้ อมคือการ
พูดจริงที่มีโอกาสค้ นหาข้ อบกพร่องของตนเอง ข้ อควรจาก็คือผู้พดู จะต้ องยืนพูดออกมาจริงๆไม่ใช่นั่งพูดอยูใ่ นใจ
• วิธีซ้อมพูดกับคนคุ้นเคย
วิธีนี ้ช่วยให้ ผ้ พู ดู ขจัดความอายตื ้นเต้ นไปทีละน้ อย และยังช่วยให้ ร้ ูจกั ควบคุมตัวเองอีกด้ วย การพูดต่อหน้ าคนใน
ครอบครัว ต่อหน้ าเพื่อน หรื อคนคุ้นเคย ผู้พดู ควรพูดให้ ดีที่สดุ แสดงท่าทางให้ ดี เสนอข้ อเท็จจริ งและข้ อคิดเห็นของตนเอง
ให้ เชื่อมโยงติดต่อกัน พร้ อมทังพู ้ ดให้ น ้าเสียงมีชีวิตจิตใจและเป็ นธรรมชาติที่สดุ
ผู้พดู ควรคานึงถึงความเป็ นธรรมชาติ และความไม่ตงึ เครี ยดเกินไป เพราะการตังใจพู
้ ดเกินไปอาจก่อให้ เกิดความตึงเครี ยด
วิธีพดู ด้วยการอ่าน
พิธีใดควรอ่านหรื อพูดด้ วยปากเปล่านันขึ้ ้นอยูก่ บั ความสาคัญของงาน อาจจะถือเป็ นแนวปฏิบตั ิวา่ ถ้ าพิธี
ใดถือว่าสาคัญแล้ วก็ควรจะใช้ วิธีอา่ น แต่ถ้าพิธีเป็ นประเพณีของชุมชน หรื อกลุม่ สังคม หรื อกลุม่ คนไม่
ใหญ่มากนักจะนิยมการพูดปากเปล่า นอกจากนันยั ้ งขึ ้นอยูก่ บั ประสบการณ์ ความชานาญของตัวผู้พดู แต่
ละบุคคลด้ วย
วิธีพดู ด้ วยการอ่าน คือการพูดจากต้ นฉบับ ซึง่ จัดอยูใ่ นประเภทการพูดให้ ความรู้ ผู้พดู ต้ องยืนอ่าน ดังนัน้
ความสาคัญอยูท่ ี่การฝึ กน ้าเสียงในการอ่าน การจับกระดาน และการใช้ สายตา ส่วนท่าทางนัน้ ไม่ต้องใช้
เลย
น ้าเสียงต้ องได้ จงั หวะ ไม่อา่ นเสียงเนิบเกินไป หรื อเร็วเกินไป และสิง่ ท่สาคัญอีกประการหนึง่ คือ ต้ องใช้
สายตามองผู้ฟังเป็ นครัง้ คราว เพื่อแสดงความสนใจต่อผู้ฟังด้ วย
วิธีแก้ความกังวลและตื่นเวที
1. หายใจเข้ าลึกๆ แล้ วเก็บลมหายใจในปอดประมาณ 5 วินาทีแล้ วค่อยผ่อนลมหายใจออก ทาประมาณ
3-4 ครัง้ จะช่วยลดความตื่นเต้ นลง (เพราะวิธีนี ้เป็ นการเพิ่มออกซิเจนในปอด)
2. เมื่อรู้สกึ ว่าเสียงพูดเริ่มสัน่ ให้ ผ้ พู ดู เริ่มใช้ จงั หวะการพูดให้ ช้าลงประมาณ 1 นาที เมื่อรู้สกึ ดีขึ ้นให้ เริ่ม
พูดจังหวะปกติ
3. เมื่อรู้ปาก-คอแห้ ง ซึง่ เป็ นอาการหนึ่งของความตื่นเต้ น กังวล ควรหาพูดแล้ วดื่มน ้า ผู้พดู ควรก้ มหน้ า
แล้ วอ้ าปาก (น้ อยๆ) น ้าลายจะมาภายใน 20-25 วินาที
ฉะนันผู ้ ้ พดู จึงควรที่จะยอมรับความกลัวและความวิตกนันโดยการเตรี
้ ยมเรื่ องพูดไปให้ พร้ อม มีการฝึ กซ้ อม
ก่อนหลายๆครัง้ สร้ างความเชื่อมัน่ ให้ กบั ตัวเองและรู้จกั ควบคุมตัวเอง ตลอดจนนากลวิธีและเทคนิคต่างๆที่
ได้ ศกึ ษาหรื อรู้มาไปใช้ ทังนี
้ ้โดยมีจดุ มุง่ หมายและความหวังที่จะแก้ ไข และปรับปรุงตัวเองให้ มีพฒ ั นาการ
อย่างส่าเสมอ
สรุ ปเนื้อหาบทที่ 5
1. ในการพูดในที่ชมุ ชนหรื อที่สาธารณะ การแสดงหรื อเสนอข้ อคิดเห็นต่อผู้ฟัง ผู้พดู ควรรู้จักการเตรี ยม
2. การตระเตรี ยมเรื่ องเริ่มจากคิดเรื่ องที่จะพูด ขันเขี
้ ยนโครงร่างและขันค้
้ นคว้ า
3. การเรื่ องพูดจะเริ่มตามลาดับดังนี ้คือ คาปฏิสนั ถาร คานา เนื ้อเรื่ องและบทสรุป
4. การพูดในที่สาธารณะจาเป็ นต้ องมีการกล่าวปฏิสนั ถาร ควรใช้ คาปฏิสนั ถารที่เหมาะสมทังแบบทางการและไม่

เป็ นทางการ
5. การฝึ กซ้ อมพูดมี 2 วิธีคือ วิธีซ้อมพูดหน้ ากระจก และวิธีซ้อมพูดกับคนคุ้นเคย
6. การขึ ้นเวทีพดู ผู้พดู ต้ องฝึ กซ้ อม และรู้หลักการขึ ้นเวทีพดู เช่น วิธีการยืน การใช้ มือ การใช้ สายตา การออกเสียง
7. ปั ญหาความกังวลและการตื่นเวทีกนั เกือบทุกคน ผู้พดู จะแก้ ปัญหาการตื่นเวทีได้ ด้วยการฝึ กซ้ อมพูดมาอย่างดี
และมีความเชื่อมัน่ ในตนเองให้ มาก
การบ้านเก็บคะแนน 10 คะแนน

• ให้ นกั ศึกษาเตรี ยมหัวข้ อ (คาโอวาท : จากผู้นา) มา1 เรื่ อง


• ให้ นาข้ อมูลที่เตรี ยมมาขึ ้นพูดในชันไม่
้ เกิน 10 นาที

You might also like