You are on page 1of 11

MCS 3181

การพู ดสาหรับผู น้ า
SPEECH FOR
LEADERSHIP
โดย อ.วิชชุตา มังคะลี
Email: Vichuta.m@gmail.com
■ วิธีการดาเนินการ
บทที่ 11
■ การเตรียมตัวตอบข้อซักถามและข้อข้องใจ
การตอบข้อซักถาม ข้อ
■ รู้ลักษณะของผู้ซักถามข้อข้องใจ
ข้องใจ
(The Q&A) ■ เทคนิคและวิธีตอบข้อซักถามและข้อข้องใจ
วัตถุประสงค์ของการตอบข้อซักถามและข้อข้องใจ

■ ให้โอกาสผู้พูดเน้นหรือย้าเนื้อหาสาระสาคัญของเรื่องที่พูดอีกครั้งหนึ่ง
■ ให้โอกาสผู้ฟังซักถามข้อสงสัยหรือความข้องใจต่างๆให้หมดไป
■ ให้โอกาสผู้ฟังเสนอข้อคิดเห็นที่แตกต่างหรือขัดแย้งกับของผู้พูด
■ เปิดโอกาสให้ผู้พูดได้สร้างความเชื่อถือ และความไว้วางใจจากผู้ฟัง
■ เป็นการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ระหว่างผู้พูดกับผู้ฟัง
วิธีการดาเนินการ
แบ่งเป็น 2 วิธี
■ รูปแบบอย่างเป็นทางการ และมีประธานในสถานที่นั้น (เช่น การประชุม การอภิปราย
ฯลฯ) ผู้ตอบข้อซักถามจะรับหน้าที่ตอบข้อข้องใจของผู้ฟัง
■ รูปแบบที่ค่อนข้างไม่เป็นพิธีการ หรือรูปแบบที่ต้องการความคล่องตัวสูง กรณีนี้ผู้ตอบ
จะเป็นผู้ที่พูดบรรยายเรื่องนั้นๆเอง จะไม่มีตัวกลางเป็นผู้รับช่วงตอบคาถามจากผู้ฟัง
ซึ่งความนิยมในสังคม (ส่วนใหญ่ในด้านธุรกิจและการเมือง ใช้แบบไม่เป็นพิธีการมาก)
การเตรียมตัวตอบข้อซักถามและข้อข้องใจ
■ แสดงความเต็มใจที่จะตอบข้อซักถาม ไม่แสดงท่าทางเบื่อหน่ายหรือราคาญ
■ ตั้งใจและอดทนฟังคาถาม บางครั้งผู้ซักถามพูดวกวนเข้าใจย่กหรืออาจใช้ถ้อยคาที่ไม่
เหมาะสม
■ เคารพและให้เกียรติผู้ซักถาม จะได้นามาซึ่งความเข้าใจที่ดีของทั้งสองฝ่าย
■ มีการเตรียมตัวมาอย่างดี เพราะการพูดที่ดีย่อมต้องตระเตรียมข้อมูล รายละเอียดใน
เนื้อหามาล่วงหน้า
■ มีความเชื่อมั่นในตนเอง สาหรับผู้พูดที่มีประสบการณ์ในการพูดในที่สาธารณะน้อย วิธี
แก้หรือช่วยลดความประหม่าคือการเตรียม ซ้อมเรื่องที่จะพูดให้พร้อม และพยายาม
ควบคุมตัวเองให้ปกติโดยการทาสมาธิกับเนื้อหาที่จะพูด
รู้ลักษณะของผู้ ■ ถามเพื่อลดความกดดันภายในตนเอง
ซักถามข้อข้องใจ หรือระบายความคับแค้นใจ
■ ถามเพื่อแสวงหาผู้ที่มีความคิดเห็นแบบ
เดียวกับตน
เพื่อทราบว่า “ซักถามไป
■ ถามเพื่อลองดีผู้ตอบว่ารู้จริงหรือไม่
ทาไม? สงสัยอะไร?”
■ ถามขัดจังหวะเล่นสนุกๆเท่านั้นเอง
ซึ่งปกติคนที่ถามคาถามมักมี ■ ถามเพื่อผลัดผ่อนให้การตัดสินใจเลื่อน
เหตุผลดังนี้ ออกไป
รู้ลักษณะของผู้ ■ ถามเพื่อเรียกความสนใจของผู้ฟังไปสู่
ซักถามข้อข้องใจ จุดหรือประเด็นที่ตนต้องการ
■ ถามเพื่อกลบเกลื่อนความผิดที่ตนไม่ได้
ตั้งใจฟัง
เพื่อทราบว่า “ซักถามไป
■ ถามเพื่อให้ผู้อื่นเห็นว่าตนเป็นคนฉลาด
ทาไม? สงสัยอะไร?”
■ ถามเพื่อต้องการความกระจ่างชัดของ
ซึ่งปกติคนที่ถามคาถามมักมี เรื่องที่ฟังหรืออยากรู้ เพื่อเนื้อหาที่
เหตุผลดังนี้ ละเอียดยิ่งขึ้น และเพื่อพิจารณา
ตัดสินใจ
เทคนิคและวิธีตอบข้อซักถามและข้อข้องใจ
■ ให้ความเป็นกันเองและเพื่อช่วยให้บรรยากาศไม่ตึงเครียด
■ ในกรณีที่ผู้ฟังค่อนกล้าขี้อาย ไม่กล้าและเกรงใจที่จะถามผู้พูด ผู้พูดควรตอบข้อซักถาม
เพื่อชักจูงใจและส่งเสริมให้ผู้ฟังมีส่วนร่วมในการซักถามด้วย
■ การไม่ทราบคาตอบนั้นไม่ใช่เรื่องที่น่าอับอาย ควรคิดเสมอว่าผู้ตอบข้อซักถามไม่ควร
ตอบคาถามที่ตนไม่ทราบ หรือไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เพราะคาตอบที่ตนให้ไปอาจนา
ความเสียหายมาให้ภายหลังก็ได้ (การตอบคาถามที่ผู้พูดไม่ทราบข้อมูล แสดงถึงความ
ไม่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม) ดังนั้นควรตอบปฏิเสธอย่างสุภาพ อาทิ ข้อซักถาม
นั้นๆผู้พูดไม่สันทัดขออนุญาตให้ผู้รับผิดชอบด้านนี้เป็นผู้ตอบเพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง
ในขั้นตอนหรือกระบวนนั้นๆ เป็นต้น
เทคนิคและวิธีตอบข้อซักถามและข้อข้องใจ

■ ในกรณีที่ผู้ฟังหรือผู้ซักถามมีคาถามที่ไม่เกี่ยวข้องหรือเป็นเรื่องที่ขาดเหตุผลในเรื่องที่
บรรยายไปนั้น ผู้ตอบควรเลี่ยงการตอบอย่างสุภาพ จากนั้นจึงขอตอบคาถามอื่นต่อไป
■ การตอบข้อซักถามนั้นควรดาเนินไปอย่างคล่องตัวไม่ช้าเกินไป เพราะจะเกิดความเบื่อ
หน่ายทั้งผู้ซักถามและผู้ตอบคาถาม ตลอดจนผู้ที่มาร่วมฟังอยู่ด้วย ถ้าผู้ตอบไม่เข้าใจ
คาถามสามารถถามผู้ถามได้ใหม่ จะเป็นผลดีกว่าการตอบอย่างไม่ตรงเป้าหมาย
■ เมื่อผู้ตอบข้อซักถามได้ตอบคาถามสุดท้ายแล้ว ก็ควรพูดสรุปและย้าถึงเนื้อหาหรือ
วัตถุประสงค์ที่สาคัญในการตอบข้อซักถามครั้งนั้นด้วย
เป็นการพูดชนิดหนึ่งที่ผู้นาอาจจะต้องพบ
และนับว่าเป็นการพูดที่ท้าทายผู้พูดมาก ผู้
พูดจะประสบความสาเร็จได้ด้วยการเตรียม
การตอบข้อซักถาม ตัวให้พร้อมและมีประสบการณ์มา
พอสมควร
ข้อข้องใจ “The
สาหรับผู้ที่มีประสบการณ์น้อยอาจฝึกได้
Q&A” ด้วยการกล้าตอบปัญหาหรือข้อซักถาม (ที่
รุนแรง) ในหมู่เพื่อนฝูง หรือในที่ที่มีคน
มากๆ
สรุปเนือ้ หาบทที่ 11
■ การตอบข้อซักถามข้อข้องใจ (Q&A) มีวัตถุประสงค์ให้ผู้ฟังมีโอกาสซักถาม ข้อสงสัยข้อข้องใจต่างๆ และให้
ผู้ฟังได้เสนอข้อคิดเห็นที่แตกต่างหรือขัดแย้งกับของผู้พูด ในขณะเดียวกันก็เป็นการให้โอกาสผู้พูดได้เน้น
เนื้อหาสาคัญของเรื่องที่พูดอีกครั้ง
■ วิธีการดาเนินการตอบข้อซักถามข้อข้องใจมี 2 วิธีคือ วิธีที่เป็นพิธีการ และวิธีที่ไม่เป็นพิธีการ
■ ผู้ที่จะตอบข้อซักถามควรเตรียมตัวมาอย่างดีในด้านเนื้อหา มความเต็มใจและตั้งใจที่จะตอบคาถาม มีความ
อดทนพอสมควร และมีความเชื่อมั่นในตนเอง
■ นอกจากการเตรียมตัวตอบข้อซักถามแล้ว ผู้ที่ตอบคาถามควรรู้ลักษณะของผู้ซักถามด้วยว่ามีจุดประสงค์
อย่างไรในการซักถาม
■ ผู้ตอบควรรู้เทคนิคและวิธีตอบบางประการ เช่น สร้างบรรยากาศไม่ให้ตึงเครียด รู้จักการตอบปฏิเสธ และการ
ตอบเลี่ยงอย่างมีศิลปะและสุภาพ และรู้จักศิลปะในการปิดการตอบข้อซักถาม

You might also like