You are on page 1of 15

การใช้ภาษา

ในการโต้แย้ง
นําเสนอ อาจารย์พนมศักดิ์ มนูญปรัชญาภรณ์ No No
จัดทําโดย 01
นายศิ วกร เขียงทอง
[พาย] เลขที่ ๕

นางสาวรพีพรรณ ลิ้มบุญดี
02 [หลิว] เลขที่ ๖
นายปราณณ์ พานิชกุล
03 (โภค์) เลขที่ ๗

04
นายธนภัทร แพทย์ชีพ
(เต็ง) เลขที่ ๘ 2
จัดทําโดย 05
นายธนภัทร ซึ้งไพศาลกุล
[เอิร์ธ] เลขที่ ๑๓

06
นางสาวอภิญญา อึ้งเจริญทรัพย์
(กิ๊ก) เลขที่ ๑๙

07
นายพีรยุทธ์ ยุวดีนิเวศ
[อาร์ต] เลขที่ ๒๒

3
01
โครงสร้างของการโต้แย้ง
เป็นอย่างไร
ในการพิจารณาโครงสร้างในการโต้แย้ง จําเป็นต้องอาศัยหลักเหตุผล ซึ่งประกอบด้วยเหตุผลและข้อสรุป
โดยการโต้แย้งจะอาศัย ๒ สิ่ งในการพู ด ซึ่งประกอบด้วย

ข้อสนับสนุน ข้อสรุป
พู ดเพื่อ สนับสนุน หรือ ชี้ให้เห็นว่าประเด็น
นั้นไม่จริง ด้วยเหตุผลที่ทําให้หัวข้อดูเป็น ในโครงสร้างการโต้แย้งจําเป็นต้องมี
จริง หรือ ดูดีข้ น
ึ มา หากทําไม่ได้ หรือ ไม่ ข้อสรุปหลัก โดยขอสรุป นั้นไม่จําเป็น
สามารถพิสูจน์ให้เห็นว่าเป็นจริงไม่ได้ จะ ต้องอยู่ท้ายเสมอไป
ทําให้ทรรศนะต้องตกไป
02
หัวข้อและเนื้อหาของ
การโต้แย้งเกี่ยวข้อง
กันอย่างไร
หัวข้อและเนื้อหาของการโต้แย้ง

การกําหนดหัวข้อ ฝ่ายโต้แย้ง หัวข้อไม่ชัดเจน

การกําหนดหัวข้อในการ ผู้ที่เป็นฝ่ ายโต้แย้งจะต้อง เสนอสิ่ งที่ ถ้าหากหัวข้อที่กําหนดไม่ชัดเจน


โต้แย้งจะช่วยใม่ให้เกิด ต้องการจะเปลี่ยน แปลงหรือพิสูจน์ให้ เนื้อหาของการโต้แย้งก็จะไม่
การถกเถียงกันแบบไม่ ชัดเจน เพื่อกําหนดหัวข้อและฝ่ ายที่ จะ ชัดเจน เช่นกัน
หยุดไม่หย่อนและช่วย ไม่เห็นด้วยควรจะคัดค้าน ด้วยเหตุผล
ไม่ให้การโต้แย้ง ว่าทําไมจึงไม่เห็นด้วย
นอกลู่นอกทางไป
กระบวนการโต้แย้ง

1. การตั้งประเด็นในการโต้แย้ง 2. การนิยามคํา
● กําหนดความหมายของคําให้รัดกุมและชัดเจน
❖ ต้องมีพ้ืนความรู้ดีพอเกี่ยวกับหัวข้อที่นํามาโต้เเย้ง ● เพื่อไม่ให้การโต้แย้งไปคนละทิศคนละทาง

❖ เสนอคําตอบต่อคําถามตามทรรศนะของตน [ตรงข้าม]
➢ วิธีในการนิยาม
❖ ประเด็นหลักเเละรอง
○ นิยามโดยอาศัยพจนานุกรมหรือสารานุกรม
❖ หลัก [คําถาม] ○ นิยามด้วยการยกตัวอย่าง
❖ รอง [คําถามเเคบ] ○ นิยามด้วยการเปรียบเทียบเพื่อให้เข้าใจความ
หมายของคําตามที่ตนประสงค์
การค้นหาและเรียบเรียงข้อสนับสนุนทรรศนะของตน

ทรรศนะ ● ทรรศนะที่ดี = มีข้อสนับสนุนที่หนักแน่น,กะทัดรัดและชัดเจน


● อาศัยการค้นคว้าจากแหล่งต่างๆ ทั้งจากการอ่าน การฟั ง การ
ที่ดี สั มภาษณ์และการสั งเกตด้วยตนเอง
● ควรจดบันทึกลงเป็นหลักฐาน แล้วจึงคัดจัดหมวดหมู่และเรียบเรียงให้
เป็นระเบียบพร้อมที่จะเสนอให้ผู้อ่น ื เข้าใจต่อไป
● ควรจําไว้ว่า ผู้อ่านและผู้ฟังที่ไม่เกี่ยวข้องกับการโต้แย้ง ต้องเข้าใจ
ทรรศนะของเราอย่างชัดเจน
● ทรรศนะต้องดึงดูดความสนใจของผู้ฟัง ให้ติดตามเนื้อหาสํ าคัญของ
ทรรศนะที่เสนอมา
● ในการกล่าวอ้างถึงข้อเท็จจริจหรือข้อมูลอ้างอิง ควรต้องนําเสนออย่าง
ตรงไปตรงมา ไม่บิดเบือนข้อมูล ไม่เช่นนั้นอาจหมดความน่าเชื่อถือไป
ในที่สุด
การชี้ให้เห็นจุดอ่อนและความผิดพลาดของทรรศนะฝ่ายตรงข้าม

การนิยามคําสําคัญ
○ นิยามวกวน: นําคําที่จะนิยามไปไว้ใน ปริมาณและความถูกต้อง สมมติฐานและวิธีการอนุมาน
ข้อความที่นิยาม
➢ ทรรศนะใดก็ตามเมื่อตั้งอยู่ ★ การอนุมานเรียกได้ว่าเป็นการวิ
○ นิยามไม่อาจสื่ อความหมายได้: บนรากฐานของข้อมูลที่ผิด เคราะห์โดยใช้สถิติข้อมูล
ข้อความที่ใช้นิยามเข้าใจยากกว่า พลาดหรือน้อยเกินไปจะทํา ★ ในการอนุมานจําเป็นที่จะต้องใช้
ให้ทรรศนะนั้นไม่น่าเชื่อถือ เหตุผลที่มีข้อสนับสนุนชัดเจน
○ นิยามโดยอคติ: ผู้นิยามสร้างข้อโต้แย้ง ★ กระบวนการหาสมมุติฐานโดย
ให้เป็นประโยชน์แก่ฝ่ายตนเท่านั้น วิธีอนุมานก็อาจจะมีจุดอ่อนนั้น
03
การวินิจฉัยเพื่อตัดสิ น
ข้อโต้แย้งกระทําได้
อย่างไร
การวินิจฉัยเพื่ อตัดสินข้อโต้แย้งกระทําได้โดย

๑. พิจารณาเฉพาะเนื้อหาสาระที่เเต่ละฝ่ ายได้
นําเสนอเท่านั้น ไม่ควร GUTEN
นําประสบการณ์ตัวเองมาใช้และควรจะเป็น กลางมาก TAG
ที่สุด

๒.วินิจฉัยคําโต้เเย้งทั้งสองฝ่ ายให้ละเอียดใช้ความคิด
กับประสบการณ์มาใช้ไม่ใช่เเค่ตัดสิ นทางเนื้อหา
ของเเต่ละฝ่ ายเท่านั้น บางครั้งผู้ตัดสิ นก็มีทรรศนะคติ
ของตัวเองเเล้วเข้าข้างฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งได้อย่างเงียบๆ
เเละไม่จําเป็นต้องประ กาษฝ่ ายก็ได้
ข้อควรระวังในการโต้แย้ง
๑.

ผู้โต้เเย้งควรหลีกเลี่ยงการใช้อารมณ์ในการโต้เเย้ง

๒.

ผู้โต้เเย้งควรมีมารยาทในการใช้ภาษา

ทั้งวัจนภาษาเเละอวัจนภาษา ในระหว่างโต้เเย้งกับคนอื่น

๓.

ผู้โต้เเย้งควรรู้จักเลือกว่าประเด็นใดอาจโต้เเย้งกันได้อย่างสร้างสรรค์/

เมื่อโต้เเย้งไปเเล้วจะไม่ก่อให้เกิดประโยชน์/ไม่มีทางโต้เเย้งกันได้
Thank you for your attention!

You might also like