You are on page 1of 15

การจัดการความขัดแย้ ง

ความขัดแย้งเป็ นสถานการณ์ที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป มีวิธีคิดหรื อแบบแผน


การปฏิบตั ิที่แตกต่างกันและยังหาข้อยุติไม่ได้ นอกจากความขัดแย้งระหว่างบุคคลกับ
บุคคลแล้ว ยังมีความขัดแย้งซึ่งเกิดจากตัวเองได้ดว้ ย ดังนี้
1. ความขัดแย้ งในตนเอง เป็ นสิ่ งที่บุคคลไม่สามารถที่จะสนองความต้องการ
ของตนเองได้ เพราะความต้องการนั้นขัดแย้งกับค่านิยมของสังคม แต่จ ำต้องยอมเก็บกด
ความต้องการของตนเองไว้ ความขัดแย้งลักษณะนี้ จะนำมาซึ่งภาวะความเครี ยดดังที่
กล่าวมาแล้ว
2. ความขัดแย้ งระหว่ างบุคคล แบ่งเป็ น 2 แบบ ดังนี้
1. ความขัดแย้ งทางเนือ้ หาสาระ เป็ นความขัดแย้งที่เกี่ยวข้อง สัมพันธ์กบั การ
ทำงาน เช่น วิธีการที่จะทำงาน หรื อเป้ าหมายในการทำงาน หรื อเรื่ องการกระจายรางวัล
ความขัดแย้งประเภทนี้ บ่อยครั้งที่เกิดจากเป้ าหายของแต่ละบุคคลไม่สอดคล้องกัน แตก
ต่างกัน บางคนจะเผชิญกับความขัดแย้งโดยไม่ใช้อารมณ์ แต่จะใช้เหตุผลในสิ่ งที่เขาทำ
แต่บางคนจะใช้อารมณ์ และใช้กลไลป้ องกันตนเองจนกลายเป็ นความขัดแย้งในทาง
อารมณ์
2. ความขัดแย้ งทางอารมณ์ เกิดขึ้นเมื่อบุคคลไม่สามารถจัดการกับความรู ้สึก
คับข้องใจ ความโกรธ ความกลัว ความไม่ไว้เนื้ อเชื่อใจ และความขุน่ เคืองได้ ซึ่งความ
รู ้สึกนี้ อาจจะทำให้บุคคล 2 คนไม่สามารถทำงานร่ วมกันได้
ความขัดแย้ งระหว่ างบุคคล เป็ นผลมาจาก 2 สาเหตุคือ
1. ความรู ้ความชำนาญเฉพาะด้านภายนองค์กร
2. ความพึ่งพาซึ่งกันและกันของกลุ่มภายในองค์กร
ความขัดแย้ งในองค์ กร
ความขัดแย้งจะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลหรื อกลุ่มรับรู ้วา่ เป้ าหมายและความต้องการ
ของตนถูกขัดขวาง ไม่เป็ นไปตามที่ตอ้ งการ หรื อต้องเลือกในสิ่ งหนึ่งสิ่ งใดที่ตนตัดสิ น
ใจไม่ได้ ในโลกของธุกิจ ในองค์กรต่างๆ ความขัดแย้งจะเกิดขึ้นบ่อยๆ เนื่องจากหน้าที่
แตกต่างกันในองค์กร ทำให้เป้ าหมายและจุดเน้นแตกต่างกันไปด้วย เช่น ฝ่ ายการตลาด
และฝ่ ายวิศวกรรม จะมีความขัดแย้งกันอยูเ่ สมอในเรื่ องความรวดเร็ วในของผลผลิตที่วาง
ตลาด เป็ นต้น แต่ละกลุ่มในองค์กรจะมีเป้ าหมายค่านิยม และจุดเน้นไม่เหมือนกัน บางที
เหลือมล้ำ ซึ่งอาจเป็ นสาเหตุให้เกิดความขัดแย้งได้
ความคิดเห็นเกีย่ วกับความขัดแย้ ง
มีแตกต่างกันออกไป แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทคือ
1. ความคิดเห็นเชิงลบ ผูจ้ ดั การจะมองว่า ความขัดแย้งเป็ นตัวทำให้ความยุง่
ยาก ความแตกแยกในการทำงาน ความขัดแย้งเป็ นตัวชี้ให้เห็นความผิดพลาดขององค์กร
ดังนั้น จึงต้องแก้ปัญหาหรื อจำกัดให้หมดสิ้ นไป โดยการบริ หารอย่างมีประสิ ทธิภาพ ม ี
การปรับปรุ งโครงสร้างขององค์กร มีการทำงานที่มีสายงานการบังคับบัญชาที่ชดั เจน ม ี
การคัดเลือกบุคลากรที่มีคุณภาพ เป็ นต้น
2. ความคิดเห็นเชิงบวก ความขัดแย้งเป็ นสิ่ งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้และสามารถ
สร้างประโยชน์ได้ ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ระดับความขัดแย้ง โดยเฉพาะความขัดแย้งระดับปาน
กลางเป็ นสิ่ งที่มีประโยชน์ต่อองค์กร ผูจ้ ดั การที่มีความเชื่อเช่นนี้ จะมองว่าถ้าไม่มีความ
ขัดแย้ง ก็จะไม่มีค ำถามถึงวิธีการที่จะทำงานหรื อทำสิ่ งต่างๆ ไม่มีการผลักดันที่จะทำสิ่ ง
ที่ดี บุคคลขาดแรงจูงใจในการทำงาน ความขัดแย้งมีมากก็จะทำให้การทำหน้าที่ต่างๆ
ขาดประสิ ทธิภาพ ก่อให้เกิดความยุง่ ยากในการทำงาน ดังนั้นการไม่มีความขัดแย้ง หรื อ
มีมากเกินไปไม่เป็ นผลดีต่อองค์กร คือจะรักษาระดับความขัดแย้งให้อยูใ่ นระดับที่จะให้
เกิดผลดีในการทำงาน
ประโยชน์ ของความขัดแย้ ง
หลายๆครั้งเรามองว่าความขัดแย้งเป็ นสิ่ งไม่ดี ต้องพยายามหลีกเลี่ยง หรื อ
กำจัดให้หมดไป แต่ในความเป็ นจริ งแล้ว สถานการณ์ของความขัดแย้งมากมายที่น ำมา
ซึ่ง สิ่ ง ที่ดี มีป ระโยชน์ต ่อ การทำงาน ช่ว ยให้ก ารทำงานมีป ระสิ ท ธิ์ ภาพมากยิง่ ขึ้น
ประโยชน์ความความขัดแย้งมีดงั นี้
1.ความขัดแย้งจะทำให้เกิดความตระหนักถึงปัญหาที่ตอ้ งการแก้ไข เช่น 2
บริ ษทั ต้องการที่จะรวมเป็ นบริ ษทั เดียว แต่เดิมจะมีระบบงานต่างๆ ที่แตกต่างกัน เช่น
ระบบบัญชี ซึ่งการทำบัญชีที่จะรวมบัญชีที่แตกต่างกันมาเป็ นแบบเดียวกัน อาจจะทำ
ค่อนข้างยาก แต่นี่กค็ ือเป้ าหมายที่ตอ้ งทำให้ได้ ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นก็จะทำให้คนใน
องค์กรตระหนักถึงปัญหาสำคัญๆ ที่จะเกิดขึ้นในการสร้างองค์กรใหม่
2. ความขัดแย้ง ทำให้เกิดการตัด สิ น ใจที่ดี เช่น ทุกคนในองค์กร 2 องค์ม า
ทำงานรวมกัน ทำให้ทุกคนต้องมีความระมัดระวังการทำงานมากขึ้น และจะทำให้เกิด
การตัดสิ นใจที่ดีมากขึ้นในองค์กรใหม่
3. ความขัดแย้งนำมาซึงความคิดสร้างสรรค์ เช่น ในบริ ษทั โฆษณา แนวคิด
มากมายหลากหลายก็มาจากหลายบุคคล หรื อ หลายกลุ่มที่มีความคิดเห็นที่แตกต่าง ซึ่ง
อาจจะขัดแย้งกันบ้าง แต่กน็ ำมาซึ่งแนวความคิดใหม่ๆ ที่มีคุณภาพ ต่องานโฆษณา
4. ความขัดแย้งนำไปสู่ความเปลี่ยนแปลง ระบบต่างๆหรื องานประจำวันทำ
ซ้ำซากจำเจ อาจจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงถ้าไม่มีเหตุผลเพียงพอที่จะทำ ความโต้แย้งอาจ
ทำให้เราออกจากงานที่เคยทำอยูซ่ ้ำซาก เช่น พิมพ์ดีด เปลี่ยนมาใช้คอมพิวเตอร์ ทำงานที่
ให้ประโยชน์ที่คุม้ ค่าและดีกว่ากับราคา เขาก็จะเลิกขุ่นเคือง เลิกขัดแย้ง
5. ความขัดแย้งสร้างความตื่นเต้นในชีวิต สำหรับคนบางคนความขัดแย้งเป็ น
พลังของชีวิต เขาอาจจะมีความสนับสนุนบนความโต้เถียง ความขัดแย้งทางการเมือง
การกีฬา เป็ นต้น ทำให้เขามีความตื่นตัวอยูต่ ลอดเวลา
6. ความขัดแย้งเพิ่มความสามัคคีในกลุ่ม เมื่อมีความขัดแย้งระหว่างกลุ่มเกิด
ขึ้นสมาชิกในกลุ่มจะมีความร่ วมมือ ร่ วมใจ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เพือ่ จะรวมพลังต่อสู้
กับกลุ่มอื่น ทำให้สมาชิกแต่ละคนลืมความต้องการของตนเอง ปล่อยวางไว้ก่อน โดยหัน
มามองความต้องการของกลุ่มเป็ นหลัก
วิธีการป้ องกันและควบคุมความขัดแย้ งของบุคคล
แม้วา่ จะเป็ นไปไม่ได้ที่จะกำจัดความขัดแย้งให้หมด แต่เราสามารถที่จะทำให้
ความขัดแย้งลดลงได้โดยใช้วิธีการป้ องกันและควบคุมความขัดแย้งของบุคคล ดังนี้
1. เมื่อบุคคลมีความขัดแย้งโดยที่คนหนึ่ง หรื อ หลายคนที่มีความขัดแย้งนั้น มี
ภาวะอารมณ์ ความต้องการที่รุนแรง อย่าใช้ค ำสัง่ การบังคับ การขู่เข็ญ การวิพากษ์
วิจารณ์กบั บุคคลนั้น เพราะสิ่ งเหล่านี้จะยิง่ เพิ่มความรุ งแรงของความขัดแย้งมากขึ้น
2. การใช้เทคนิคการฟังด้วยความเข้าใจพร้อมสะท้อนความรู ้สึก เมื่อบุคคลมี
ปัญหา มีความต้องการที่ไม่สามารถได้รับการตอบสนอง บุคคลนั้นก็จะเกิดความขัดแย้ง
เกิดอารมณ์ที่ไม่เหมาะสม การรับฟังอย่างตั้งใจ จะช่วยลดอารมณ์ที่ตึงเครี ยด และช่วยแก้
ปัญหาที่เกิดขึ้นได้
3. การใช้ทกั ษะการแสดงความรู ้สึกของตนเอง เป็ นการลดความขัดแย้งโดย
การแสดงออกซึ่งอารมณ์ และความต้องการของตนเองอย่างเหมาะสม เช่น วันนี้ฉนั ต้อง
ทำงานให้เสร็ จ เพื่อส่ งอาจารย์พรุ่ งนี้ รบกวนขอให้คุณลดเสี ยงดังบริ เวณนี้ ดว้ ย เพราะ
ไม่มีสมาธิในการทำงานเลย
4. อย่า นำความเครี ย ดของตนเองไปใส่ ใ ห้ค นอื่น โดยปกติม นุษ ย์ช อบใส่
อารมณ์โมโห โกรธของตนเองแล้วลงที่คนอื่น เพื่อลดความเครี ยด ซึ่งสิ่ งนี้กลับเพิม่ ความ
ขัดแย้งมากขึ้น วิธีที่จะลดความเครี ยด ความขัดแย้งได้อย่างดี คือ การเล่นกีฬา วาดภาพ
เป็ นต้น
5. การเพิม่ การสนับสนุนทางอารมณ์ จากครอบครัว หรื อเพื่อน การได้รับ
ความรัก ความสนใจดูแลยิง่ มากเท่าไหร่ ความรุ นแรงของอารมณ์ก า้ วร้าวก็จะลดลง
เท่านั้น ดังนั้นยามที่บุคคลมีความขัดแย้ง คับข้องใจ บุคคลใกล้ชิดจะมีบทบาทมาก โดย
อาศัยความรักความเขาใจเป็ นสำคัญ
6. การเพิ่มความอดทนและการยอมรับจากคนอื่น ความอดทนและการยอมรับ
อาจจะเป็ นผลมาจากการเลี้ ยงดู หรื อ อาจจะเป็ นผลมาจากกรรมพันธุ์ อาจจะเพิ่มสิ่ งเหล่า
นี้ให้ตนเองโดยการฝึ กกล้าแสดงออก การเพิม่ การสนับสนุนทางอารมณ์ให้กบั ชีวิต การ
เข้าฝึ กการสื่ อสารอย่างมีประสิ ทธิภาพเป็ นทางหนึ่งที่จะเพิ่มความอดทนและการยอมรับ
จากผูอ้ ื่นได้
เทคนิคการแก้ ไขความขัดแย้ ง
มีบุคคลมากมายค้นหาวิธีการที่จะจัดการกับความขัดแย้ง เช่น Robert Blake
และ Jane Mouton 1985 ได้อธิบายรู ปแบบของการจัดการความขัดแย้งโดยแบ่งเป็ น 2 มิติ
คือ มุ่งที่ผลผลิต และมุ่งที่คน ซึ่งจะมีแนวทางที่แตกต่างกันในการจัดการกับความขัดแย้ง
ความพยายามไปให้ถึงข้อตกลงในสถานการณ์ความขัดแยง จำเป็ นต้องทราบถึง
สาเหตุ 5 ประการ ความขัดแย้งซึ่งแตกต่างกันไปโดยอยูบ่ นพื้นฐานต่อไปนี้
*ผลประโยชน์
*ความเข้าใจ
*ค่านิยม
*รู ปแบบ
*ความคิดเห็น

ปฏิกิริยาสามแบบที่มีต่อความขัดแย้ง ได้แก่
*การรุ กราน (ต่อสู้)
*การยืนยัน (เจรจา)
*ความสงบ (อยูเ่ ฉย)
วิธีการจัดการกับความขัดแย้ งนั้นนอกจากจะใช้ ความรุนแรงแล้ วยังอาจแบ่ งประเภท
การเผชิญความขัดแย้ งได้ เป็ น 7 ประเภทดังนี้
1) การเจรจาพูดคุย
2) ใช้กระบวนการยุติธรรม
3) ใช้ความรุ นแรงต่อคน
4) ใช้ความรุ นแรงต่อคนและสิ่ งของ
5) ใช้ความรุ นแรงต่อสิ่ งของ
6) ใช้สนั ติวิธี
7) ไม่ท ำอะไรเลย

ข้ อแนะนำ 10 ประการในการแก้ ไขความขัดแย้ ง


1. รักษาบรรยากาศให้เป็ นไปในทางบวก
2. รู ้เรื่ องราวของตัวคุณเองและฐานะของคุณอย่างชัดเจน
3. รู ้เรื่ องคู่กรณี อย่างชัดเจน
4. รู ้สาเหตุของความขัดแย้งอย่างชัดเจน
5. รู ้ปัจจัยพื้นฐานของสาเหตุอย่างชัดเจน
6. รับผิดชอบต่อผลตอบสนองของคุณ
7. กระตุน้ ให้รู้กรณี แสดงความรู ้สึกออกมา
8. เน้นเรื่ องเป้ าหมายและความต้องการร่ วมกัน
9. สร้างและเสนอทางเลือกต่างๆ
10.พัฒนาและสร้างส่ วนที่ “สามารถทำได้”

การจัดการและการแก้ ปัญหาความขัดแย้ งระหว่ างคู่กรณีโดยไม่ มีบ ุคคลที่ส ามเข้ าไป


เกีย่ วข้ องการเจรจา
วิธีหนึ่งของการจัดการความขัดแย้งเชิงบวกคือ การเจรจา การเจรจาหมายถึง
“การกระทำที่สองฝ่ ายไม่ยอมรับ กับผลลัพธ์สุดท้าย”
กล่าวอีกนัหนึ่งหมายความว่า แต่ละฝ่ ายที่เป็ นคู่เจรจาต้องยอมรับข้อตกลงที่เกิดขึ้นและ
แต่ละฝ่ ายมีผลประโยชน์ร่วมกับอีกฝ่ ายในกรณี ที่ตกลงกันได้ ดังนั้นในการเจรจาเราต้อง
ตัดสิ นใจร่ วมกัน
ตามคำจำกัดความการเจรจา คือสิ่ งซึ่งเรากระทำทุกวัน ไม่วา่ จะเป็ นเรื่ องส่ วน
บุค คลในอาชีพ หรื อ ทางธุร กิจ ตัว อย่า งเช่น คนเจรจากับ คู่ส มรสว่า จะใช้เ งิน ไปกับ
เฟอร์นิเจอร์ใหม่หรื อไม่ หรื อกับลูกๆ ที่ตอ้ งมีหน้าที่ท ำงานบ้าน พนักงานเจรจาขอขึ้น
เงินเดือนกับนายจ้าง และคนอาจเป็ นส่ วนหนึ่งของการเจรจาเรื่ องทางธุรกิจหรื อนโยบาย
ระดับสูงในระดับส่ วนท้องถิ่น ภูมิภาคระดับชาติหรื อนานาชาติ เรามักได้รับการส่ งเสริ ม
ให้ไปมีส่วนในกระบวนการพัฒนา การเข้าร่ วม หมายถึง การร่ วมกันแสดงความคิดเห็น
เพื่อให้ได้ขอ้ ตกลง การเข้าร่ วมจะประสบความสำเร็ จได้ตอ้ งขึ้นอยูก่ บั ทักษะการเจรจา
การเจรจาไม่ใช่เรื่ องง่าย คนส่ วนใหญ่รู้วา่ การเจรจามี 2 วิธีคือ สุ ภาพและนุ่มนวลหรื อยุง่
ยากและลำบาก ไม่วา่ อยูใ่ นฐานะใดย่อมเกี่ยวข้องกับสิ่ งที่แต่ละฝ่ ายต้องการและรักษา
ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างคู่เจรจา
กลยุทธ์ การแก้ ไขความขัดแย้ ง
วิธีการที่ได้รับความนิยมที่ใช้แก้ปัญหาความขัดแย้งคือการชนะและการสูญเสี ย
กลยุทธ์เหล่านี้อธิบายกว้างๆ ได้ดงั นี้ คือ
Win – lose
ผลที่ได้จากกลยุทธ์น้ี คือ ฝ่ ายหนึ่งเสี ยและฝ่ ายหนึ่งได้ โดยส่ วนใหญ่กลยุทธ์น้ ี ยงั
ไม่น่าพอใจ และมีโอกาสที่ความขัดแย้งจะเกิดขึ้นอีกในภายหลัง
Lose – lose
ทั้ง สองฝ่ ายเป็ น ผูส้ ูญ เสี ย ซึ่งมัก มีฝ่ ายที่ส ามเข้า มาเกี่ย วข้อ ง และพยายามให้
ประนีประนอมที่แต่ละฝ่ ายไม่ยอมรับ
Win – win
ทั้งสองฝ่ ายพอใจกับผลที่ได้ และเน้นที่การแก้ปัญหาไม่ให้ฝ่ายหนึ่งฝ่ ายใดสูญเสี ย
ความขัดแย้ ง - ภัยคุกคามของความมั่นคงของชาติ
สถานการณ์ในปัจจุบนั คิดว่าหลายท่านคงเห็นตรงกันว่า ประเทศชาติมีค วาม
วุน่ วาย สับ สน และยัง ไร้ทิศ ทาง หลายคนคิด ว่า ประเทศไทยกำลัง จะเงยหัว ขึ้น ซึ่ง
อย่างไรก็ตามปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นนั้นล้วนแต่เกิดจาก คน เท่านั้นที่สร้างความวุน่ วาย
เราทราบกับดีวา่ ความวุน่ วายล้วนเกิดจากกิเลสของคน ความโลภ ปรารถนาในทรัพย์สิน
และอำนาจที่ไม่สิ้นสุ ดของมนุษย์ลว้ นแต่เป็ นแรงบันดาลใจให้คนต่าง ๆ เกิดพฤติกรรมที่
ละโมบในทรัพย์สิน เงินทอง และอำนาจ แต่ทรัพยากรที่มีจ ำกัดบนโลกใบนี้ ไม่สามารถ
ตอบสนองความต้องการของทุกคนได้ ทำให้เกิดสิ่ งที่เรี ยกว่า “ความขัดแย้ง” (Conflict)
ความข ดั แย ง้ นั้น เป็ น สิ่ ง ที่เ กิด ขึ้น ได้ใ นทุก ระดับ ไม่ว า่ จะเป็ น ในระด บั
ปัจเจกบุคคล ครอบครัว สังคม รัฐ ไปจนถึงระดับโลก และถ้าไม่ได้รับการแก้ไขที่ถูก
ทางแล้ว สิ่ งที่จะตามมาคือความรุ นแรง และนำไปสู่ ความเสี ยหายหรื อสูญเสี ยในที่สุด ดัง
นั้นการทำความเข้าในเรื่ องของความขัดแย้งจึงเป็ นสิ่ งที่ช่วยให้เรา ๆ ท่านยุติความขัดแย้ง
ที่เกิดขึ้นได้ นอกจากคำว่าความขัดแย้งแล้ว ยังมีอีกคำคือ “ข้อพิพาท” (Dispute)
“คำว่า ความขัดแย้ง (Conflict) และข้อพิพาท (Dispute) เป็ นคำที่ใช้สลับไปมากัน
ได้ แต่ในบางกรณี จะมีความหมายเฉพาะเจาะจงลงไปว่าความขัดแย้งเป็ นเรื่ องของความ
เห็น หรื อความเชื่อที่ต่างกัน แต่คู่กรณี ยงั สามารถทำงานร่ วมกันได้ คู่สมรสยังอยูด่ ว้ ยกัน
ได้ปกติสุข แต่เมื่อขยายกลายเป็ นข้อพิพาทจะกลายเป็ นเรื่ องที่ผเู้ กี่ยวข้องมุ่งหมายที่จะ
เอาชนะให้ได้เพื่อเป้ าหมายสูงสุ ดของตัวเอง ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งอาจจะต้องไป
ความขัด แย ้งทีห ่ าทางออกไม่ไ ด ้ โดยเป็ นความขัด
แย ้งบางชนิด ทีเ่ ก ด ิ ขึน ้ แล ้วไม่ส ามารถหาทางออกได ้จน
กลายไปเป็ นข ้อพิพาท และจำนำไปสูค ่ วามรุนแรงในทีส ่ ด

ซ งึ่ ความรุน แรงนัน ้ สามารถเป็ นได ้ตัง้ แต่ การใช คำพู ้ ด
ภาษาท่าทาง จนถึงการลงมือทำร ้ายกัน ซงึ่ จะมีความสูญ
เส ย ี ตามมา ทัง้ ทรัพย์ส น ิ เวลา ความรู ้ส ก ึ จนกระทั่ง การ
สูญเสย ี อำนาจอธิปไตย ถ ้าเป็ นความขัดแย ้งในกรอบใหญ่
คือระหว่างรัฐกับรัฐ แต่ถา้ หากเราไม่อาจจะห้ามไม่ให้เกิดความขัดแย้งได้ แต่เรา
อาจจะทำให้ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นไม่รุนแรงไม่น ำไปสู่ทางตัน และสามารถที่จะสร้าง
กระบวนการ แก้ปัญหาความขัดแย้งหรื อข้อพิพาททั้งหลายนั้นได้
สำหรับการเกิดความขัดแย้งนั้นจะมีการพัฒนาการ ของความขัดแย้ง โดยแบ่ง
ออกเป็ น 3 ระยะ ได้แก่
1. ความขัดแย้งแฝง (Latent Conflicts): ระยะนี้ เป็ นระยะของข้อพิพาทที่ยงั ไม่
พ ฒั น า เ ต ม็ ท ี่ย งั ไ ม ่ข ย า ย ต วั จ น เ ก ิด ก า ร แ บ ่ง ข ้วั ข อ ง ผ ขู้ ดั แ ย ง้
         2.  ความขัดแย้งกำลังเกิด (Emerging Conflicts): เป็ นระยะที่พฒั นาขึ้นมาจากระยะ
แรก คือได้เกิดฝ่ ายต่าง ๆ ขึ้น โดยรับรู ้วา่ มีขอ้ พิพาทขึ้น แต่ยงั ไม่มีการเจรจาไกล่เกลี่ย
ห ร ื อ ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ก ป้ ัญ ห า เ ก ิด ข ้ ึน
          3.  ความขัด แย้งที่ปรากฏออกมาแล้ว (Manifest Conflicts): ระยะนี้ เป็ น ระยะที่
ความขัดแย้งได้พฒั นาไปเป็ นข้อพิพาทที่ชดั เจน มีการด ำเนินการตามบทบาทที่ตวั เอง
เกีย
่ วข ้อง รวมถึงอาจมีการเจรจาไกล่เกลีย
่ หรืออาจถึงทางตันหา
ทางออกไม่ได ้
รู ปแบบของความขัดแย้ งนั้นจะสามารถแบ่ งออกเป็ น 5 ชนิด ได้ แก่
1. ความขัดแย้งด้านข้อมูล (Data Conflict): เป็ นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากการมี
ข้อมูลมาหรื อน้อยเกินไปทำให้การประมวลผลมีความผิดพลาด มีการวิเคราะห์ที่แตกต่าง
กันในปัญหาเรื่ องเดียวกัน สุ ดท้ายแล้วก็นำมาซึ่งความขัดแย้ง
          2. ความขัดแย้งจากผลประโยชน์ (Interests Conflict): การมีทรัพยากรต่าง ๆ ที่
จำกัดบนโลกนี้ ลว้ นแต่ส่งผลให้ ต่างฝ่ ายต่างต้องการที่จะครอบครองผลประโยชน์ต่าง ๆ
ผลที่ตามมาคือความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากผลประโยชน์ 
          3. ความขัดแย้งด้านโครงสร้าง (Structural Conflict): ความขัดแย้งประเภทนี้ เป็ น
ความขัดแย้งที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องของอำนาจ การใช้อ ำนาจ การแย่งชิงอำนาจ การกระจา
ยอำนาจ และรวมไปถึง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ 
         4. ความขัดแย้งด้านความสัมพันธ์ (Relationship Conflict): เป็ นความขัดแย้งที่
เกิดจาก อารมณ์ ความรุ นแรง และพฤติกรรมต่าง ๆ อันนำมาซึ่งความเข้าใจผิด โดย
ปัญหาหลักส่ วนใหญ่จะเกิดขึ้นจากการสื่ อสารที่บกพร่ อง
          5. ความขัดแย้งด้านค่านิยม (Values Conflict): ความขัดแย้งนี้ เป็ นความขัดแย้งที่
เกิดขึ้นจาก ความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี ประวัติ ที่แต่ละคนได้รับการหล่อหลอม
มาจากการเลี้ยงดูในวัยเด็กจนเป็ นผูใ้ หญ่
ในปัจจุบนั ความขัดแย้งในสังคม นั้นส่ วนใหญ่จะมีความเกี่ยวข้องกับนโยบาย
สาธารณะ ทั้งนี้เนื่องจากความพยายามในการที่จะพัฒนารัฐ ให้มีความเจริ ญให้มีความ
ทันสมัย (Modernization) ทำให้ส่งผลกระทบกลับมายังสังคม สิ่ งแวดล้อมประชากร จน
เกิดความขัดแย้งขึ้น ดังนั้นความขัดแย้งในนโยบายสารธารณะจึงส่ งผลกระทบโดยตรง
ต่อความมัน่ คงของรัฐ ซึ่งมีสาเหตุมาจากสิ่ งต่อไปนี้
1. ความสลับซับซ้อนในการพัฒนา: การเพิ่มขึ้นของประชากรส่ งผลให้ความ
ต้องการทรัพยากรต่าง ๆ ทั้งตามธรรมชาติ และสิ่ งที่มนุษย์สร้างขึ้นในปริ มาณที่มากตาม
ความซับซ้อนในการพัฒนาจึงมากขึ้ น ผูท้ ี่ได้รับผลกระทบจากการพัฒนาต่าง ๆ จึงมี
ความขัดแย้งกับผูท้ ี่พฒั นาหรื อออกนโยบาย
          2. การบริ หารจัดการรู ปแบบเดิมที่ขาดการมีส่ วนร่ วมจากภาคส่ วนต่าง ๆ : แนว
ความคิดในการบริ หารงาน หรื อบริ หารประเทศ ทัว่ ไปในปัจจุบนั มักจะกระทำในรู ป
แบบเดิม ที่ไม่ยอมเปลี่ยนแปลง โดยมีลกั ษณะที่ผมู้ ีอ ำนาจในการสัง่ การเป็ นผูท้ ี่พฒั นา
กระบวนการในการตัดสิ นใจ แล้วสัง่ การลงไปยังผูป้ ฏิบตั ิ ซึ่งมีลกั ษณะเป็ นการกำหนด
จากบนล่าง ทำให้เกิดความคิดเห็นที่ขดั แย้ง
          3. ข้อมูลข่าวสารที่มากมายแลรวดเร็ ว: ในยุคสารสนเทศที่การบริ การและการเข้า
ถึงอย่างมากมายและรวดเร็วทำให ้ผู ้คนทั่วไปสามารถเข ้าถึง
สารสนเทศได ้อย่า งหลากหลาย และใช ข้ ้อมูล เช งิ ลึก ใน
การตัดสน ิ ใจมากขึน ้ สง่ ผลให ้เกิดความขัดแย ้งตามมา
4. กระบวนทัศน์ของประชาธิปไตยที่เปลี่ยนแปลง: นวัตกรรมทางเทคโนโลยีส่ง
ผลให้เกิดกระแสโลกาภิวฒั น์ที่ท ำให้การสื่ อสารในสังคมเป็ นไปด้วความง่าย สะดวก
และรวดเร็ ว รวมถึงระบอบการเมือง โดยเฉพาะการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
แบบตัวแทน (Representative Democracy) ได้เปลี่ยนแปลงมาเป็ น ประชาธิปไตยแบบมี
ส่ ว นร่ ว ม (Participatory Democracy) ซึ่ง แต่เ ดิม น ้ นั ร ะบ อบ การป กค รอง แบ บ
ประชาธิปไตยแบบตัวแทน จะเป็ นระบอบการปกครองที่เน้นหรื อมีวตั ถุประสงค์ที่เน้น
ในเสี ยงส่ วนใหญ่  (Majority Rule) ที่เลือกสมาชิกของสังคมขึ้น เป็ นตัวแทน แล้ว ให้
ตัว แทนเหล่า นั้น ตัด สิ น ใจแทน แต่ใ นปัจ จุบ นั เจตนารมณ์ข องการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย ที่แปรเปลี่ยนไปตามกระแสการเปลี่ยนแปลง ทำให้ระบอบการปกครอง
แบบประชาธิปไตยได้ให้ความสำคัญกับสิ ทธิของคนส่ วนน้อย (Minority Rights) โดยสิ่ ง
ใดก็ตามที่มีผลกระทบต่อคนส่ วนน้อยรัฐในฐานะผูท้ ี่ใช้อ ำนาจจะต้องระมัดระวัง และ
สร้างผลกระทบให้นอ้ ยที่สุดด้วยการสร้างการมีส่วนร่ วม ด้วยเหตุเช่นนี้เอง ความขัดแย้ง
จึงเป็ นสิ่ งที่เกิดตามมา เพราะความไม่ลงตัวของกลุ่มต่าง ๆ ในสังคม
5. การใช้แนวความคิดในเรื่ องของการสื่ อสารการตลาดแบบครบวงจรและการ
จัดการลูกค้าสัมพันธ์: ในแนวความคิดของการสื่ อสารการตลาดแบบครบวงจร
(Integrated Communication Marketing: IMC) นั้นเป็ นแนวความคิดของการตลาดใหม่ที่
เน้นการโฆษณาผ่านสื่ อทุกประเภทโดยมีความสอดคล้องกัน ทำให้ผบู้ ริ โภคเกิดความ
คล้อยตาม และผูข้ ายจะเน้นแต่ดา้ นบวกของผลิตภัณฑ์ตนเอง ประกอบการการเน้นใน
เรื่ องของการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relationship Management: CRM) ทำให้
ลูกค้ามีสิทธิ์ มีเสี ยงในการต่อรองกับผูข้ ายและผูผ้ ลิต ผลที่ตามมาคือ เมื่อลูกค้าเจอสิ นค้า
และบริ การในด้านลบ หรื อ สิ นค้าและบริ การนั้นไม่เป็ นไปตามที่โฆษณาแล้วก็จะเกิด
การร้องเรี ยน อันจะนำมาซึ่งความขัดแย้ง 
         6. การบังคับใช้กฎหมาย: ปัญหาช่องว่างในสังคม และการฉ้อราษฎร์บงั หลวง
หรื อที่ปัจจุบนั เรานิยมเรี ยกว่าคอร์รัปชัน่ นั้นส่ งผลให้การบังคับใช้กฎหมายไม่มี
มาตรฐานเดียวกัน มีการเลือกปฏิบต ั ิ ดังนัน ้ ความขัดแย ้งจึงเกิดขึน ้
ในสงั คม 
จากสาเหตุที่กล่าวมาข้างต้นนั้นส่ งผลให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันและนำมาซึ่ง
ความขัดแย้งอย่างรุ นแรง เพราะเป็ น “ความขัดแย้งด้านโครงสร้าง” (Structural Conflict)
เป็ นเรื่ องของช่องว่าระหว่างสิ่ งที่ควรจะเกิดขึ้นหรื อศักยภาพของมนุษย์ (Potentiality)
และสิ่ งที่เกิดขึ้นจริ ง (Actuality) ซึ่งยิง่ ห่างก็จะยิง่ เป็ นความรุ นแรงเชิงโครงสร้างมากขึ้ น
เท่านั้น
ปัจจุบนั สถานการณ์บา้ นเมืองมีความร้อนแรง จนสามารถกล่าวได้วา่ สังคมกำลัง
มีความขัดแย้ง ซึ่งความขัดแย้งนี้ สามารถนำไปสู่การพิพาท ที่จะนำมาซึ่งความแตกแยก
ในสังคมอย่างรุ นแรง โดยมีความขัดแย้งสองประเภทหลักผสมผสานกันคือ ความขัดแย้ง
ด้านโครงสร้างและความขัดแย้งจากผลประโยชน์ การดำเนินการต่าง ๆ ของผูแ้ สดง
แต่ละท่าน (Actor) ที่เกี่ยวข้องล้วนแต่มีส่วนทำให้สถานการณ์คลี่คลายหรื อแตกหัก การ
เผชิญหน้าระหว่างชนชั้นกลางและรากหญ้าเป็ นสิ่ งที่ตอ้ งให้ความสำคัญ เพราะถ้าเกิด
ความรุ นแรงขึ้นเมื่อใด ประเทศไทยจะได้ผลกระทบและเป็ นรอยร้าวในสังคมที่ตอ้ งใช้
ระยะเวลาที่ยาวนานในการสมานฉันท์ ให้กลับมาเป็ นดังเดิม ความเสี ยสละของผูแ้ สดง
แต่ละท่านล้วนแต่จะนำมาซึ่งความสงบสุ ขในสังคม แต่ถา้ ผูแ้ สดงแต่ละท่านไม่ยอมลด
ราวาศอกให้กนั แล้ว สถานการณ์ต ่าง ๆ จะเป็ นตัวขับเคลื่อนที่น ำไปสู่ความขัดแย้งใน
สังคมอย่างรุ นแรง
ทฤษฎีการขัดแย้ ง (Conflict Theory)
เป็ นทฤษฎีแม่บทที่สำคัญอีกทฤษฎีหนึ่งของสังคมวิทยา เนื้อหาสาระของทฤษฎี
สมัยใหม่ของทฤษฎีน้ ี สื บเนื่อง มาจากแนวคิดของนักสังคมวิทยา ชาวเยอรมัน 2 คน คือ
Karl Marx และ Georg Simmel ทฤษฎีการขัดแย้ง แม้จะถือกำเนิดในยุโรป ในเวลาไล่เลี่ย
กับทฤษฎีการหน้าที่ แต่เพิ่งจะได้รับความสนใจในอเมริ กา เมื่อ ทศวรรษ ที่ 1950
วิจารณ์ ทฤษฎีการหน้ าที่ของ Parsons ว่ า
“เน้นเรื่ องระเบียบสังคมความสมดุลและกลไกในการรักษาดุลยภาพและความ
เป็ นระเบียบมากเกินไป จนมองเห็นความไม่มนั่ คง การเสี ยระเบียบและการขัดแย้งว่า
เป็ นพฤติกรรมเสี ยระเบียบไปเสี ยหมด ความจริ งสิ่ งเหล่านี้เป็ นส่ วนหนึ่งในชีวิตสังคม
มนุษย์เท่าๆกับความเป็ นระเบียบ ความสมดุลในสังคมนัน่ เองเพียงแต่เป็ นคนละด้าน
เท่านั้น"
Lockwood ยืนยันว่ามีกลไกบางอย่างในสังคมที่ท ำให้การขัดแย้งเกิดขึ้นในสังคมอย่าง
หลีกเลี่ยงไม่พน้
1. การที่บุคคลมีอ ำนาจไม่เท่ากัน
2. การที่สงั คมมักมีของหายากอยูอ่ ย่างจำกัด
3. ในสังคมมักมีกลุ่มต่างๆที่มีเป้ าหมายไม่เหมือนกัน จึงมีการช่วงชิงให้ได้บรรลุ
เป้ าหมายนั้น
สาระสำคัญของทฤษฎีการขัดแย้ ง
1. ทุกหน่วยของสังคมอาจเปลี่ยนแปลงได้
2. ทุกหน่วยของสังคมเป็ นบ่อเกิดของการขัดแย้ง
3. ทุกหน่วยของสังคมมีส่วนส่งเสริ มความไม่เป็ นปึ กแผ่นและการเปลี่ยนแปลง
4. ทุกสังคมจะมีคนกลุ่มหนึ่งควบคุมบังคับคนอีกกลุ่มหนึ่ง ให้เกิดความเป็ น
ระเบียบในสังคม
นักทฤษฎีที่สำคัญ
- Karl Marx
- George Simmel
- Ralf Dahrendorf
- Lewis Coser
Karl Marx
การขัดแย้งของทฤษฎีสงั คมวิทยาปัจจุบนั ฐานคติที่ส ำคัญมี 3 ประการ คือ
1. องค์การทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการเป็ นเจ้าของทรัพย์สิน เป็ นผูก้ ำหนดรู ป
แบบขององค์กรอื่นๆในสังคม
2. องค์การเศรษฐกิจของสังคมใดๆ ย่อมเป็ นต้นกำเนิดการขัดแย้งเชิงปฏิวตั ิ
ระหว่างชนชั้นในสังคมนั้น อย่างหลีกเลี่ยงไม่พน้ เสมอ เป็ นกระบวนการวิภาษวิธี
(Dialectics) และจะเกิดเป็ นยุคสมัยเป็ นสมัยแบ่งสังคมออกเป็ นกลุ่มเป็ นพวก
3. การขัดแย้งจะมีลกั ษณะเป็ น 2 หลัก (Dipolar) ได้แก่
- ชนชั้นที่ถูกเอารักเอาเปรี ยบ
- ชนชั้นที่มีอ ำนาจและเป็ นเจ้าของทรัพย์สิน
George Simmel
สาระความคิดเกี่ยวกับองค์การสังคมของ Simmel
1. ความสัมพันธ์ทางสังคมจะเกิดขึ้นในภาวะสังคมเป็ นระบบ ซึ่งความสัมพันธ์
ทางสังคมอาจสื บเนื่องมาจากกระบวนการทางอินทรี ยภ์ าพสองกระบวนการ คือ
กระบวนการก่อสัมพันธ์และกระบวนการแตกสัมพันธ์
2. กระบวนการดังกล่าวเป็ นผลสื บเนื่องมาจากทั้งแรงขับสัญชาตญาณและความ
จำเป็ นอันสื บเนื่องมาจากความสัมพันธ์ทางสังคมประเภทต่างๆ
3. กระบวนการขัดแย้งเป็ นสิ่ งเก่าแก่แต่โบราณของสังคม แต่ไม่จ ำเป็ นว่าจะต้อง
เป็ นสิ่ งทำลายระบบสังคมหรื อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเสมอ
4. ตามความเป็ นจริ งแล้ว การขัดแย้งเป็ นกระบวนการสำคัญอย่างหนึ่ง ที่ด ำเนิน
ไปเพื่อดำรงรักษาสังคมหรื อส่ วนประกอบบางอย่างของสังคม
แนวความคิดหรือฐานคติที่เกีย่ วกับองค์ การสั งคมของ Mark
1. ความสัมพันธ์ทางสังคมแสดงลักษณะเป็ นระบบ ความสัมพันธ์เต็มไปด้วย
ความสนใจที่ขดั แย้งกันอยูใ่ นตัว
2. ระบบสังคมต่างเป็ นตัวจ่ายการขัดแย้งอย่างมีระบบ
3. การขัดแย้งจึงเป็ นลักษณะที่หลีกเลี่ยงไม่ได้และมีอยูม่ ากมายในระบบสังคม
4. การขัดแย้ง มักแสดงออกมาเป็ นความสนใจที่ตรงกันข้ามกันของคนสองพวก
5. การขัดแย้ง มักเกิดจากการแบ่งปันสิ่ งของที่หายาก ที่เห็นได้ชดั คือ อำนาจ
6. การขัดแย้งเป็ นแหล่งสำคัญของการเปลี่ยนแปลง ในระบบสังคม
ประพจน์ เกีย่ วกับความเครียดของการขัดแย้ ง
1. ยิง่ ทั้งสองฝ่ ายที่ขดั แย้งกันมีอารมณ์ผพู้ นั มาก การขัดแย้งก็จะมีความเครี ยดมาก
ขึ้น
2. ยิง่ ระดับความเป็ นคนกลุ่มเดียวกันของผูข้ ดั แย้งมีเพียงใด ความเครี ยดในการ
ขัดแย้งก็ยงิ่ มีมากขึ้น
3. ยิง่ การขัดแย้งเกี่ยวข้องกับความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันของกลุ่มที่เกี่ยวข้อง
มาก การขัดแย้งก็จะมีความเครี ยดมากขึ้น
4. ยิง่ คู่กรณี มีความปรองดองกันมาก่อนมาก ความขัดแย้งก็จะมีความเครี ยดมาก
ขึ้น
5. ยิง่ โครงสร้างทางสังคมทัว่ ไป ปล่อยให้คู่กรณี อยูแ่ ยกต่างหากจากกันได้นอ้ ย
เท่าใด ความเครี ยดของการขัดแย้งก็จะยิง่ มีมากเท่านั้น
6. ยิง่ การขัดแย้งเป็ นเป้ าหมายอยูใ่ นตัว แทนที่จะเป็ นอุปกรณ์ไปสู่ สิ่งอื่นมากเพียง
ใด ความเครี ยดของการขัดแย้งก็จะยิง่ มีมากเท่านั้น
7. ยิง่ คู่กรณี มองเห็นว่าการขัดแย้งเป็ นเรื่ องเป้ าหมาย และผลประโยชน์ส่วนตัว
มาก การขัดแย้งก็จะยิง่ มีความเครี ยดมากขึ้นเท่านั้น
หน้ าที่ของการขัดแย้ งทางสั งคมต่ อคู่กรณี
1. ยิง่ การเป็ นปรปักษ์ระหว่างกลุ่มความเครี ยดมากและยิง่ มีการขัดแย้งระหว่าง
กลุ่มมาก ขอบเขตของกลุ่มต่างๆก็จะจางหายไปน้อยลง
2. ยิง่ การขัดแย้งมีความเครี ยดมากเท่าใด และกลุ่มมีบรู ณาการน้อยเพียงใด กลุ่ม
ขัดแย้งก็จะยิง่ รวมอำนาจไว้ที่ศูนย์กลางมากขึ้นเท่านั้น
3. ยิง่ การขัดแย้งมีความเครี ยดมากเท่าใด ความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันภายใน
กลุ่มคู่กรณี ก็จะยิง่ มีมากขึ้นเท่านั้น
หน้ าที่ของการขัดแย้ งต่ อสั งคมเป็ นส่ วนรวม
1. ยิง่ การขัดแย้งมีความมีความเครี ยดน้อยเพียงใด สังคมส่ วนรวมขึ้นอยูก่ บั การ
พึ่งพาอาศัยกัน ก็จะยิง่
เป็ นไปได้มากขึ้นกว่าการขัดแย้ง จะส่ งผลให้เกิดบูรณาการในสังคมมากขึ้น
2. ยิง่ การขัดแย้งเกิดขึ้นบ่อย การขัดแย้งมีความเครี ยดน้อยลง สมาชิกของกลุ่มที่
อยูภ่ ายใต้อ ำนาจก็จะยิง่
ระบายความเป็ นปฏิปักษ์มากขึ้น รวมทั้งจะเกิดความเชื่อมัน่ ในการควบคุม และจะ
เป็ นการส่ งผลให้เกิดบูรณาการในสังคม
3. ยิง่ การขัดแย้งมีความเครี ยดน้อยและเกิดบ่อยมาด ก็จะยิง่ เพิ่มโอกาสในการ
สร้างบรรทัดฐานขึ้นมาควบคุม
การขัดแย้งมากขึ้น
4. ยิง่ ความสัมพันธ์เชิงปฏิปักษ์ ระหว่างคู่กรณี ในสายบังคับบัญชาทางสังคม
(Socail Hierarchy) มาก แต่การขัดแย้งโดยเปิ ดเผยมีนอ้ ยแล้ว ความเป็ นอันหนึ่งอัน
เดียวกันระหว่างสมาชิกของแต่ละกลุ่มคู่กรณี ตจะมีมากขึ้น
จึงเป็ นการส่ งผลให้การรักษาสายการบังคับบัญชาทางสังคมขณะนั้นให้ด ำรงยืนยาวต่อ
ไป
5. ยิง่ การขัดแย้งระหว่างกลุ่มที่มีอ ำนาจต่างกันมาก ความเครี ยดมีนอ้ ย โอกาสที่
จะทำให้ความสัมพันธ์แห่ง
อำนาจกลายเป็ นเรื่ องปกติกม็ ีมากขึ้น
6. ยิง่ การขัดแย้งมีความเครี ยดน้อย โอกาสในการที่จะสร้างกลุ่มผสมระหว่าง
สมาชิกของกลุ่มที่ไม่เคยมีความสัมพันธ์กนั มาก่อน ก็ยอ่ มจะมีมากขึ้น
7. ยิง่ การคุกคามของการขัดแย้งที่มีความเครี ยดมากระหว่างกลุ่มมีเวลายาวนาน
กลุ่มผสมระหว่างกลุ่มขัดแย้งก็จะยิง่ มีความคงทนถาวรมากขึ้น
ประพจน์ ของดาร์ เรนดอรฟ Dahredorf ดำเนินตามแนวคิดของ Marx
- องค์การสังคมหรื อไปซีเอ เป็ นเรื่ องของความสัมพันธ์อ ำนาจและอำนาจใน
องค์การถือได้วา่ เป็ นสิ ทธิอ ำนาจเพราะ บทบาทเหล่านี้เป็ นของตำแหน่งที่ยอมรับกันใน
องค์การ ดังนั้น ความเป็ นระเบียบทางสังคมจะดำรงอยูไ่ ด้กโ็ ดย การพยายามซ่อมบำรุ ง
กระบวนการสร้างความสัมพันธ์แห่งสิ ทธิอ ำนาจเอาไว้
เปรียบเทียบความคิดของ Dahrendof กับของ Mark มีความเห็นเหมือนกันว่ า
1. ระบบสังคม คือสังคมมนุษย์มีสภาพการขัดแย้งอย่างต่อเนื่อง
2. การขัดแย้ง เกิดจากการขัดกันในผลประโยชน์ ซึ่งเป็ นส่ วนหนึ่งของโครงสร้าง
สังคม
3. ผลประโยชน์ที่ขดั กัน สื บเนื่องมาจากการได้รับส่ วนแบ่งอำนาจไม่เท่ากัน
ระหว่างกลุ่มเหนือ (Dominant) กับกลุ่มใต้ (Subjugated)
4. ผลประโยชน์ต่างๆมีแนวโน้มที่แยกออกเป็ นสองฝ่ ายที่ขดั กัน
5. การขัดแย้งเป็ นแบบวิภาษวิธี จะก่อให้เกิดผลประโยชน์ที่ตรงข้ามกันขึ้น จะส่ ง
ผลให้มีการขัดแย้งครั้งต่อไปอีกภายใต้เงื่อนไขเฉพาะอย่างหนึ่ง
6. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมเป็ นลักษณะที่ต่อเนื่องมาแต่โบราณของระบบ
สังคม และจะทำให้เกิดการขัดแย้งอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ในองค์การสังคมทุกระดับ
ประพจน์ หลักของ Dahrendof
1. การขัดแย้งมีโอกาสเกิดได้ ถ้าสมาชิกของกลุ่มขัดแย้งว่าผลประโยชน์ของตน
คืออะไร และสามารถรวมตัวกันเป็ นกลุ่มเพื่อมุ่งผลประโยชน์น้ นั
2. ความขัดแย้งจะเข้มข้น หากมีเงื่อนไขทางเทคนิค เงื่อนไขทางการเมือง และ
เงื่อนไขทางสังคม
3. ความขัดแย้งจะมีความเข้มข้น หากการสับเปลี่ยนโยกย้ายบุคคลไปมาระหว่าง
กลุ่มที่มีอ ำนาจ
กับกลุ่มผูไ้ ม่มีอ ำนาจเป็ นไปได้โดยยาก
4. ความขัดแย้งจะมีความเข้มข้น หากการกระจายสิ ทธิอ ำนาจและรางวัลเกี่ยว
เนื่องสัมพันธ์กนั
5. ความขัดแย้งจะรุ นแรง หากเงื่อนไขการรวมกลุ่มคนด้านเทคนิคด้านการเมือง
และด้านสังคมไม่อ ำนวยหรื อให้ท ำได้นอ้ ย
6. ความขัดแย้งรุ นแรง หากมีการเสี ยผลประโยชน์ในการแบ่งรางวัล เนื่องจาก
เปลี่ยนเกณฑ์จากเกณฑ์ตายตัวไปเป็ นเกณฑ์เชิงเปรี ยบเทียบ
7. ความขัดแย้งจะรุ นแรง ถ้ากลุ่มขัดแย้งไม่สามารถสร้างข้อตกลงควบคุมการขัด
แย้งระหว่างกันได้
8. ความขัดแย้งที่เข้มข้น จะทำให้เกิดกาเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างและการ
จัดการองค์กรสังคมแห่งการขัดแย้ง
9. ความคิดขัดแย้งที่รุนแรง จะก่อให้เกิดอัตราการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้าง
และการจัดระเบียบใหม่ในองค์กการสังคมที่เกิดการขัดแย้งนั้นอย่างสูง

ประพจน์ ของโคเชอร์ ดำเนินตามแนวคิดของ Simmel


- การขัดแย้งนั้นไม่ได้มีแต่ผลเสี ยหายอย่างเดียว แต่มีผลในทางสร้างสรรค์มีผล
ในทางดีดว้ ย
ประพจน์ ของ Coser
1. โลกทางสังคมเป็ นระบบหนึ่งซึ่งประกอบด้วยหน่วยต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์
ต่อเนื่องกัน
2. ระบบสังคมทั้งหมดต่างก็ไร้สมดุลยภาพ มีความตรึ งเครี ยดและการขัดแย้งใน
ผลประโยชน์ ระหว่างหน่วยงานต่างๆที่สมั พันธ์กนั
3. กระบวนการต่างๆ ภายในหน่วยหรื อระหว่างหน่อยของระบบ ดำเนินภายใต้
เงื่อนไขต่างๆ เพือ่ ที่จะซ่อมบำรุ งเปลี่ยนแปลง เพิม่ ลดบูรณาการและความสามารถปรับ
ตัวของระบบ
4. กระบวนการ เช่น ความรุ นแรง ความเห็นคัดค้าน ความเบี่ยงเบน และการขัด
แย้ง ถือเป็ นการทำลายระบบ
ความเข้ มแข็งของการขัดแย้ ง
1. ความเข้มข้นของการขัดแย้งจากความชัดแจ้งของสาเหตุขดั แย้ง
2. ความเข้มข้นของการขัดแย้งจากขนาดของอารมณ์ผกู พันธ์ของสมาชิกกลุ ่มขัด
แย้ง
3. ความเข้มข้นของการขัดแย้งจากการที่โครงสร้างสังคมมีความเข้มงวด และมี
วิธีการดูดกลืนความเครี ยดและการขัดแย้งน้อย
4. ความขัดแย้งจะไม่เข้มข้นถ้ากลุ่มขัดแย้ง ขัดแย้งกันด้วยผลประโยชน์แท้จริ ง
5. ความเข้มข้นของการขัดแย้งเกิดจากการขัดแย้งเกี่ยวกับผลประโยชน์ไม่แท้จริ ง
6. ความเข้มข้นของการขัดแย้งเกิดจากผลประโยชน์ส่วนรวมเหนือผลประโยชน์
ส่ วนตัว
7. ความเข้มข้นของการขัดแย้งเกิดจากการขัดแย้ง เนื่องมาจากค่านิยมและ
ประเด็นสำคัญทางสังคม
ความยาวของการขัดแย้ ง
1. ความขัดแย้งจะยืดยาวหากคู่ขดั แย้งไม่จ ำกัดเป้ าหมายลง
2. ความขัดแย้งจะยืดยาวหากคู่ขดั แย้งไม่สามารถเห็นพ้องกันเรื่ องเป้ าหมายได้
3. ความขัดแย้งจะยืดยาวหากคู่ขดั แย้งไม่รู้ความแตกต่างของตน สัญลักษณ์แห่ง
ชัยชนะและพ่ายแพ้ของตน
4. ความขัดแย้งจะสั้นหากผูน้ ำกลุ่มขัดแย้งทั้งสองฝ่ ายต่างรู ้สึกว่าการบรรลุเป้ า
หมายมีราคาแพงกว่าการได้ชยั ชนะระหว่างกัน
5. ความขัดแย้งจะสั้นหากผูน้ ำกลุ่มขัดแย้ง ต่างมีความสามารถชักชวนสมาชิก
กลุ่มขัดแย้งให้ยตุ ิขดั แย้งได้
สรุป
กระบวนการจัดการความขัดแย้งเพื่อไม่ก่อให้เกิดความรุ นแรงคือ สันติวิธี หมาย
ถึง วิธีการแก้ไขความขัดแย้งหรื อตอบโต้ในสถานการณ์หนึ่ง ๆ โดยไม่ใช้ความรุ นแรง
ต่อคู่กรณี รากฐานของสันติวิธีจึงเริ่ มตั้งแต่จิตใจคือ การเคารพ เมตตาต่อคู่กรณี ในแง่การ
เปลี่ยนทัศนคติโดยไม่มุ่งทำร้ายมนุษย์จนถึงการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอัน อยุติธรรม
ตลอดจนสร้างวัฒนธรรมสันติข้ึนในสังคม การเจรจา การใช้กระบวนการทางสถาบัน
ปฏิบตั ิการไร้ความรุ นแรง เพื่อให้ท้ งั สองฝ่ ายพอใจผลลัพธ์ที่ออกมา ซึ่งถือเป็ นสิ่ งที่พึง
ประสงค์สูงสุ ด...

You might also like