You are on page 1of 18

" การสัมมนาพระพุทธศาสนา ”

กับเศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยที่ 3 สัมนาพระพุ ทธศาสนา

การนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
และ หลักธรรมอริยสัจ 4 มาใช้ในการ
เป็นแนวทางของปัญหาค่านิยม
" สมาชิกผู้จัดทำ "

มัธยมศึกษาปี ที่ 4/5


โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา

1. นาย ภัคนันท์ พัฒนกุล เลขที่ 3

2. นาย ศรุต เทพรัชนะ เลขที่ 4

3. นาย ธีรภัทร เขียวอุ่น เลขที่ 9

4. นาย วิทยา ยวงแก้ว เลขที่ 15

5. นางสาวปนัดดา ผลมะขาม เลขที่ 26

6. นางสาวกนกวรรณ ช่วยบุญ เลขที่ 32

7. นางสาวชนัญชิดา จิตร์ประพันธ์ เลขที่ 34

8. นางสาวฐิติกานต์ เพชรจำรัส เลขที่ 35

9. นางสาวนริศรา อดทน เลขที่ 37

10. นางสาวสิรภัทร ศิริรักษ์ เลขที่ 40


“ สารบัญ “
เรื่อง หน้ า

บทนำ ข

ปัญหา - ทุกข์ 1-2

เหตุผล - สมุทัย 4-5

FreeDom - นิโรธ 7-8

Go Go! - มรรค 10 - 11

3 ห่วง 2 เงื่อนไข 12

สรุป 13
“ บทนำ "
สั ง ค ม ใ น ปั จ จุ บั น ป ร ะ ช า ช น ใ น
ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ไ ด้ รั บ วั ฒ ธ ร ร ม ม า จ า ก ต่ า ง ช า ติ
นำ ม า ใ ช้ ใ น ก า ร ดำ ร ง ชี วิ ต ใ น กิ จ วั ต ป ร ะ จำ วั น
ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น ก า ร ดำ ร ง ชี วิ ต ก า ร แ ต่ ง ก า ย
แ ล ะ ก า ร บ ริ โ ภ ค ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร เ ห ล่ า นี้ ไ ด้
ส ร้ า ง ค่ า นิ ย ม ใ น สั ง ค ม จ น ทำ ใ ห้ เ กิ ด ปั ญ ห า
ด้ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ม า จ า ก ค ว า ม
ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ม นุ ษ ย์ ที่ ใ ช้ ปั จ จั ย ก า ร ดำ เ นิ น
ชี วิ ต ม า ก เ กิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ต น เ อ ง ใ ห้
เ กิ ด ห นี้ สิ น จ น ทำ ใ ห้ เ กิ ด ปั ญ ห า ที่ ต า ม ม า ใ น
สั ง ค ม ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น ปั ญ ด้ า น อ า ช ญ า ก ร ร ม
ห รื อ ค ว า ม ย า ก จ น ภ า ย ใ น ป ร ะ เ ท ศ .
" Problem " 1

ค่านิยม คือ การขาดความรู้ในด้านต่างๆที่จำเป็นต่อการดำรง


ชีวิต การยึดติดกับสิ่งอำนวยความสะดวก จนเกินพอดี เกิน
ความจำเป็น การเกิดค่านิยมที่หลากหลายก็ทำให้เกิดความ
ขัดแย้ง ทางความคิด และความต้องการ ของคนในสังคมจน
ทำให้เกิดปัญหาอื่นๆตามมา เช่น ปัญหาหนี้สินในครัวเรือน
ของตนซึ่งอาจเกิดจาก การขาดการวางแผน การใช้จ่ายใน
ครอบครัว การหลงไหลไปกับสิ่งยั่วยุจากภายนอก ฟุ่มเฟื่ อย
และ ส่งผลต่อการพัฒนาในระดับประเทศตามมา ในที่สุด
" ทุกข์ "
2

ขันธ์ 5
เป็นหลักรรรมในศาสนาพุทรที่สอดคล้องกับเรื่องของ "ทุกข์" ตามหลักอริยสัจ 4
หมายถึง กองแห่งรูปรรรมและนามรรรมทั้ง 5 ที่ทำให้เกิดเป็นต้นตนหรือชีวิตขึ้น
มา หรืออาจพูดให้เข้าใจ ได้ง่ายว่า ส่วนประกอบ 5 อย่างของ ขันธ์ 5

รูป คือ ส่วนประกอบที่เป็น สังขาร คือ การคิดปรุงแต่ง


รูปธรรม แยกแยะ
เราทุกคนมีการเชื่อหรือ เราอย่าไปหลงตามค่านิยม
กระทำสิ่งนั่นไป เนื่องมา เหล่านั้น เพราะเป็นสิ่งไม่
จากปัจจัยต่างๆเป็นปกติ เที่ยง มันเกิดขึ้นจากการ
เพราะเราไม่สามารถห้ามไม่ ชักนำของผู้อื่น
ให้เกิดได้

สัญญา คือ ความจำสิ่งที่


ได้รับ
ทุกคนสามารถนำความรู้
จากการจำมาใช้ให้เกิด
แนวทางในการดำเนินชีวิต
ที่ถูกต้องได้

วิญญาณ คือการรู้แจ้งสิ่ง
ต่างๆ
เวทนา คือ ความรู้สึกทุกข์ สุข
ในการทำธุรกิจ เราควรมีสติ
เราลองตั้งใจเป็นสุข 5 ชั่วโมง
ตลอดเวลาเพื่อเป็นการ
ทุกข์ 2 ชั่วโมง เมื่อเรากำหนด
รอบคอบและป้องกันถึงผลกระ
ความปรารถนาต่อสิ่งล่อลวง
ทบที่ตามมา
ไม่ได้
" สรุป "
3

ทั้งหมดที่ได้กล่าวมานั้นทำให้ เศรษฐกิจนั้นแย่ลง คือการ


ที่ทุกคนในปัจจุบันยึดสิ่งต่างๆ เกินความพอดี จึงเกิดเป็น
ค่านิยมต่างๆ จนลืมนึกค่าที่แท้จริงของ สิ่งต่างๆ คือ นำ
ความสะดวกให้เราทำอะไรได้ รวดเร็ว และสะดวก
" Because " 4

ปัญหาหลักที่เกิดขึ้นในสังคมในปัจจุบัน คือ ค่านิยม ซึ่งเกิดจาก


การที่คนไทยรับวัฒธรรมต่างชาติเข้ามา ทำให้มีค่านิยมมีการ
เปลี่ยนแปลงไปในทางที่สูงขึ้น จากมาตรฐานเดิม ก่อให้เกิด
ปัญหาหนี้สินในครอบครัว เนื่องจากสมาชิกในครอบครัวมีค่าใช้
จ่ายเพิ่มมากขึ้นกว่ารายได้ที่เกิดขึ้นมาจากค่านิยมของสังคมใน
ปัจจุบันทำให้ สมาชิกขาดความพอประมาณในตนเอง ขาดการ
วางแผนใช้จ่ายในครอบครัว ทำให้เกิดปัญหาหนี้สิน ไม่สามารถ
พึ่งตนเองได้ จึงมีการพึ่งพาปัจจัยภายนอกเพิ่มมากขึ้น.
5
" สมุทัย "
ปปัญจธรรม 3
ปปัญจธรรม 3 เป็นหลักธรรมในศาสนาพุทธที่สอดคล้องกับเรื่องของ“สมุทัย”
ตามหลักอริยสัจ 4 ปปัญจธรรม หมายถึง สิ่งที่ทำให้เกิดความเนิ่นช้า หน่วงเหนี่ยว
บุคคลไว้ไม่ให้ถึงนิพพานโดยง่าย ซึ่งประกอบด้วย 3 อย่าง คือ

มานะ คือ ความทะนงตนถือตัว


เมื่อมีค่านิยมที่หลากหลายเข้ามา
ทำให้ทุกคนเกิดความขัดแย้งกัน
ในหลายๆด้าน รวมถึงปัญหาทาง
เศรษฐกิจต่างๆ จึงอาจทำให้เกิด
ความทะนงตนถือตัวเกิดขึ้น
เพราะคิดว่าตนเองเก่งและรู้ดี
ที่สุด

ทิฐิ คือ ความเห็นผิด


เมื่อเรามีความเชื่อมั่นหรือปักใจยึด
เชื่อในค่านิยมนั้นๆมากจนเกินไปและ
คิดว่าแนวทางของเรานั้นถูกต้อง
ที่สุด จึงอาจทำให้เกิดความขัดแย้ง ตัณหา คือ ความทะยานอยาก โลภมาก
เมื่อได้ฟังสิ่งใดที่แตกต่างออกไปจาก ความต้องการที่อยากจะได้มาเป็นของ
ความคิดของตนและอาจทำให้ ตน เช่น เมื่อเรายึดติดกับ
เกิดความเข้าใจผิดและเกิดโทสะขึ้น สิ่งที่อำนวยความสะดวกมากเกินไป
จนเกินความพอดี จึงทำให้มีความ
ต้องการเพิ่มมากขึ้น และ
เกิดปัญหาอื่นๆตามมาเช่น ปัญหาทาง
เศรษฐกิจ การใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือย
และปัญหาหนี้สินต่างๆ
6
" สรุป "

ทั้งหมดที่ได้กล่าวมานั้นทำให้ เศรษฐกิจนั้นแย่ลง คือ


การที่คนไทยรับเอาวัฒนธรรมจากต่างประเทศเข้ามา
มากเกินจำเป็นจนเกิดเป็นค่านิยมทำให้รายจ่าย
มากกว่ารายรับ ขาดการวางแผนในการใช้จ่าย ขาด
ความพอประมาณ ต้องได้มาในสิ่งที่ต้องการ ทำให้เกิด
ปัญหาหนี้สิน ไม่สามารถ พึ่งตนเองได้ จึงมีการพึ่งพา
ปัจจัยภายนอกเพิ่มมากขึ้น.
" Freedom " 7

การพอเพียงหรือพอใจในสิ่งที่เรามี ไม่ยึดติดกับสิ่งของหรือ
ค่านิยมของผู้อื่น เป็นการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
มาใช้ในการเป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อ ให้เกิดความพ้น
ทุกข์ และ ฝึกจิตให้สงบ ไม่อยากมีหรืออยากได้ ในสิ่งของ
หรือสิ่งที่เป็นที่นิยม ควรพอใจในสิ่งที่ตนมี นำหลักสุข 2 มา
ใช้เพื่อให้เกิดความพ้นทุกข์ได้ดังนี้
8
" นิโรธ "
สุข 2
สุข 2 เป็นหลักรรรมในศาสนาพุทรที่สอดคล้องกับเรื่องจอง"นิโรร" ตามหลัก
อริยสัจ 4 นีโรร หมายถึง ความจริงว่าด้วยการดับทุกข์ คือการดับหรือการละ
ตัณหา ประกอบด้วย 2 อย่าง คือ

สามิสสุข คือ ความสุขทางกายที่เกิด


จากวัตถุภายนอกเรียกว่า กามสุข
คือความสุขที่เกิดจากประสาท
สัมผัสทั้ง 5 (ตา,หู,จมูก,ลิ้น,กาย)
ซึ่งเกิดจากการที่เรามััวหลงใหล
ในสิ่งของนอกกายเช่น ความเชื่อ
หรือค่านิยมในสังคม จึงทำให้
ทัศนคติที่ตนพึงมี บิดเบือนไป
จากหลักความเป็นจริงที่ถูกต้อง
นิรามิสสุข คือ ความสุขที่ไม่อิงอาศัย
วัตถุภายนอก เรียกว่า ความสุขทางใจ
คือ การที่เราไม่นำเอาหลักค่านิยม เข้า
มาเป็นปัจจัยที่สำคัญต่อการดำเนิน
ชีวิต จะทำให้เราเป็น
คนที่มีความแน่วแน่ มั่นใจสูง เพราะ
ไม่ถูกสิ่งของนอกกายชักนำไป
" สรุป " 9

เมื่อเรานำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เพื่อเป็นแนวทาง
ในการปฏิบัติ เพื่อฝึกจิตใจให้สงบ ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่อยากมี
หรืออยากได้ ในสิ่งของที่นิยม พอใจกับสิ่งที่ตนมี เมื่อทุก
คนมี ค่านิยมใหม่ที่ดีขึ้น ก็จะทำให้เศรษฐกิจของบ้านเมือง
ไทยดีขึ้นตาม ดังนั้นทุกคนควรตะหนักถึงค่าที่แท้จริงของ
สิ่งของแต่ละอย่าง ไม่ใช้ต้องมีตามกระแสนิยม
" Go Go " 10

การแก้ปัญหาของค่านิยม สามารถเริ่มจากการ ปฏิบัติตนเอง ตาม


แบบอย่างหองหลักเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเป็นหนทางของการดับ
ทุกข์ และเป็นแนวทางในความเพียงพอ ในสิ่งที่ตนมีไม่ยึดถือตาม
ค่านิยมของวัตถุ หรือค่านิยมของผู้อื่น ถือแนวทางของการพอใจ
ในสิ่งที่มี จะนำพาไปสู่การดับทุกข์ในที่สุด หลักธรรมที่สอดคล้อง
กับแนว ที่ปฏิบัติให้เกิดความพ้น ทุกข์ คือ สันโดษ
11
" มรรค "
สันโดษ
สันโดษ มีความสอดคล้องกับเรื่องทอง"บรรค" ตามหลักอริยสัจ 4 มรรค
หมายถึง วิธีทางปฏิบัติ ให้พ้นทุกข์ นำไปถึงความดับทุกข์ ซึ่งประกอบด้วย
สันโดษ ในทางพระพุทรศาสนา หมายถึง

ความยินดีในของที่ตนมี การมีค่านิยมที่
หลากหลายเข้ามา จึงทำให้เกิดการยึดติด
กับสิ่งที่อำนวยความสะดวกมากจนเกิน
พอดีและเกินความจำเป็น ซึ่งอาจทำให้
เกิดปัญหาในด้านต่างๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจ
ด้านสังคมและปัญหาในด้านหนี้สิน ที่อาจ
ทำให้เกิดความขัดแย้งกัน ดังนั้นเราไม่
ควรยึดติดกับสิ่งใดมากจนเกินไปและควร
มีความพึงพอใจและยินดีในสิ่งที่ตนเองมี
12
" 3 ห่วง 2 เงื่อนไข "

ความพอประมาณ

สมชีวิตา ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย
อัตตัญญุตา เป็นตัวของตัวเอง
มัตตัญญุตา ใช้จ่ายอย่าง
ระมัดระวัง

การมีภูมิคุ้มกันที่ดี
ความมีเหตุผล

สัปปุริสสังเสวะ เลือกคบคนมีศีล
สัมมาทิฏฐิ เข้าใจเหตุและผลอย่างถูกต้อง
ธรรม ที่พึงพาได้
โภคอาทิยะ 5 รู้จักใช้จ่ายสมเหตุสมผล
กัลยาณมิตตา เลือกคบคนดี ที่
ธัมมัญญุตา รู้จักปัจจัยเหตุในความ
สามารถคอยชี้แนะเราได้
ต้องการ
กาลัญญุตา รู้จักใช้เวลาให้มีค่าใน
อัตถัญญุตา เป็นคนรอบรู้ถึงผล
การกระทำสิ่งหนึ่ง
ที่ตามมาทีหลัง

คุณรรรม
ความรู้
1. ซื่อสัตย์สุจริต
1. ความรอบคอบ
สัมมาอาชีวะ ทำงานสุจริต
โยมิโสมนะสิการ พิจารณาอย่างถูกวิธี
สีลสามัญตา ปฏิบัติตามกฎระเบียบ
2. การวางแผน
2. ความเพียร
สัมมาสังกัปปะ วางแผนในการ
สัมมาวายามะ มีความเพียรต่อ
ดำเนินชีวิตในทางที่ถูกต้อง
อุปสรรค
3. ระมัดระวัง
3. อดทน
สติปัฏฐาน ระลึกรู้ พิจารณา
ขันติ อดทนฝ่าฟันจนประสบความ
ตามความเป็นจริง
สำเร็จ
" สรุป "
13

สังคมได้สร้างค่านิยมจนทําให้เกิดผลกระทบจาก
ปัญหาเศรษฐกิจ ตามมาโดยปัญหาหลักคือ ค่านิยม
ซึ่งมีหลักธรรมมาเกี่ยวข้องกับค่า นิยมในสังคมมี ทุกข์
คือปัญหา สมุทัยคือสาเหตุ นิโรธคือการดับทุกข์ มรรค
คือการพ้นทุกข์ โดยได้มีแนวทางการแก้ไขปัญหาจาก
หลัก เศรษฐกิจพอเพียง ตามนโยบาย 3 ห่วง 2
เงื่อนไข ที่เป็นการปฏิบัติ การดำเนินชีวิตไปในทางที่ถูก
ต้องและเป็นประโยชน์ต่อตนเอง จึง ช่วยให้ปรับเปลี่ยน
แนวคิดของคนในสังคมไทยปัจจุบันได้.
ยถาพรูปตตฺถํ อตฺตานํ ปริปุณฺณาเปตฺวา
บุคคลพึงรู้จักประมาณตนตามฐานะของตน

อตฺตาพฺพํ อตฺตา นรเถติ


บุคคลรักษาทรัพย์สมบัติของตนได้

จัดทำโดย คณะสมาชิกกลุ่ม 1
โรงเรียนมหาวชิราวุธจังหวัด
สงขลา

You might also like