You are on page 1of 29

การใช้ภาษาเพื่อ

โน้มน้าวใจ
จัดทําโดย
น.ส. จิดาภา อธิภัคกุล
น.ส. เเพรวไพลิน เทิดสิโรตม์
น.ส. วรามาศ กรรมารวนิช
น.ส. สลิลธร มณีสว่างวงศ์
น.ส. ปริชาด บุญธูป THAI
น.ส. ธนพร ตันติพิสิทธิ์
น.ส. ธวัลหทัย กลากลาย
น.ส. ภัททิยา ฉัตรภูมิรุจี
1109
01
การโน้มน้าวใจหมายความว่า
อย่างไร
ความหมาย
● การโน้มน้าว หมายถึง การทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เปลี่ยนทิศทางไปจากเดิม

● การโน้มน้าวใจ
คือ พฤติกรรมการสื่อสารอย่างหนึ่งที่พยายามเปลี่ยนความเชื่อ ทัศนคติ ค่านิยม
และการกระทําของบุคคลอื่น โดยใช้กลวิธที างภาษา เพื่อให้ผู้ฟังยอมรับและเปลี่ยนใจ
ตามวัตถุประสงค์ของผู้พูด
02
ความต้องการ
พื้นฐาน
ความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
เกี่ยวข้องกับการโน้มน้าวใจอย่างไร

ความต้องการพื้นฐานของมนุษย์เป็นหนึ่งในสาเหตุท่ีทําให้เกิด
ทัศนคติ ความเชื่อ และค่านิยม รวมทั้งพฤติกรรมอื่นๆ เพื่อสนอง
ความต้องการของตนเอง เช่น มนุษย์มีความต้องการอาหาร จึงผลัก
ดันให้มนุษย์จาํ เป็นต้องหา
อาหารเก็บไว้ให้ตนเองและครอบครัว ทําให้มนุษย์อ้อนวอนเทพเจ้า
ที่เชื่อว่าเป็นผู้ให้กําเนิดอาหารสําหรับมนุษย์

พระแมโพสพ
03
กลวิธก
ี ารโน้มน้าวใจ
๑. แสดงให้เห็นถึงความน่าเชื่อถือของบุคคลโน้มน้าวใจ
กลวิธก
ี ารโน้มน้าวใจ
๒. แสดงให้เห็นความหนักแน่นของเหตุผล

๓. แสดงให้ประจักษ์ถึงความรูส
้ ึกหรืออารมณ์รว่ มกัน

๔. แสดงให้เห็นทางเลือกทั้งด้านดีและด้านเสีย

๕. สร้างความหรรษาแก่ผู้รบ
ั สาร

๖. เร้าให้เกิดอารมณ์อย่างแรงกล้า

7
๑. แสดงให้เห็นถึงความน่าเชื่อถือของบุคคลโน้มน้าวใจ

ลักษณะ ๓ ประการของบุคคลที่ได้รบั ความเชื่อถือ


● มีความรูจ้ ริง
+ชี้แจ้งสารได้อย่างละเอียดอ่อนไม่ติดขัด
+แสดงถึงความตื้นลึกหนาบางของสารได้อย่างกระจ่าง
= เกิดความศรัทธาเชื่อถือ

จริงๆ
นะ
แสดงให้เห็นถึงความน่าเชื่อถือของบุคคลโน้มน้าวใจ

● มีคุณธรรม
-การบอกว่าตนเองมีลักษณะย่อมไม่ได้ผล ต้องหาวิธน ี ําเสนอแบบสอดแทรกเนื้อหา
+เล่าประสบการณ์จริงที่แสดงถึงความซื่อสัตย์สุจริต ความเสียสละ ความกล้าหาญ
+เหตุการณ์ท่ีตนเคยได้รบั มอบหมายให้รบั ผิดชอบแสดงถึงความละเอียดรอบคอบและความซื่อสัตย์
แสดงให้เห็นถึงความน่าเชื่อถือของบุคคลโน้มน้าวใจ

● มีความปรารถนาดี
+แสดงให้เห็นจากคําพูดเช่นในลักษณะให้คํามั่นสัญญาที่สามารถปฏิบัติได้
=ชี้ให้เห็นถึงความห่วงใยต่อผู้รบั สารหรือแนวทางปฏิบัติท่ีจะก่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ผู้ปฏิบัติ
๒. แสดงให้เห็นความหนักแน่นของเหตุผล

3 ประการ

เชื่อฉันสิ!
● บุคคลผู้มีปญ
ั ญาสูงมักคล้อยตามยาก

● แสดงถึงเหตุผลที่หนักแน่น

● เหตุผลควรมีคุณค่าต่อการยอมรับ
๓. แสดงให้ประจักษ์ถึงความรูส
้ ึกหรืออารมณ์รว่ มกัน

5 ประการ

● บุคคลที่มีความรูส ้ ึกหรืออารมณ์รว่ มกัน


อยากเรียนคาบศิลปะจังเลย ● บุคคลที่มีความคิดเห็นคล้ายกัน
● การมีความรูส ้ ึกร่วมกันอย่างสมบูรณ์มีความเป็น
ไปได้น้อย
● กลวิธก ี ารวิเคราะห์ผู้ฟังโดยละเอียดเป็นสิ่งจําเป็น
● การสัมฤทธิผ ์ ลคือการที่ผู้โน้มน้าวใจค้นพบความ
รูส
้ ึกร่วมที่ซอ
่ นเร้น
๔. แสดงให้เห็นทางเลือกทั้งด้านดีและด้านเสีย

● การโน้มน้าวใจให้บุคคลอื่นเกิดความสํานึกต้องมีทาง ตัวอย่าง: การโน้มน้าวใจให้บุคคลวางแผนครอบครัว โดย


เลือกหลายทาง เฉพาะในกลุ่มบุลคลที่เชื่อว่าต้องมีบุตรชายไว้สืบสกุล
● ถ้าผู้โน้มน้าวใจแสดงแต่ด้านดีอาจจะสําเร็จได้ยาก 1) ผู้โน้มน้าวต้องแสดงให้เห็นถึงข้อดีและข้อเสียของ
หรืออาจจะไม่สําเร็จเลย การวางแผนครอบครัวแต่มีข้อดีมากกว่าเพื่อให้ผู้รบั
● ถ้าผู้โน้มน้าวใจแสดงด้านไม่มีด้วยจะสามารถโน้ม สารได้คําตอบด้วยตนเอง
น้าวได้สําเร็จเพราะจะทําให้ผู้ท่ีตนโน้มน้าวใจได้มี ตัวอย่าง: การโน้มน้าวใจให้บุคคลให้เห็นโทษและหลีกเลี่ยงสิ่ง
โอกาสใช้วจิ ารณญาณของตนเองและได้เปรียบเทียบ ที่เป็น
จนได้รูว้ า่ ทางที่แนะนํามีด้านดีมากกว่า โทษ
2) ผู้โน้มน้าวต้องชี้ให้เห็นถึงด้านโทษอย่างไรและมีด้านที่
เป็นคุณอย่างไร ถ้าเอามาเปรียบกันแล้ว ด้านที่เป็น
โทษนั้นจะรุนแรงกว่าและเกิดให้คิดตัดสิน
ใจว่าควรหลีกเลี่ยงสิ่งที่เป็นโทษ
๕. สร้างความหรรษาแก่ผู้รบ
ั สาร
● หากเอาจริงเอาจังแล้วจะไม่ได้ผล
● หากใช้อารมณ์ขันด้วยจะได้ผลดีเพราะเปลี่ยนบรรยากาศให้ผ่อนคลายและเปลี่ยนอารมณ์ของผู้รบั สารจากต่อต้านให้เป็นกลางๆ
● สร้างบรรยากาศ อาทิ ให้ชวนขันโดยสามารถเอานําเอาเหตุการณ์สิ่งแวดล้อมภายนอกที่ขบขันมาเชื่อมโยงกับประเด็นที่จะพูดได้
● อาจแทรกประเด็นสําคัญที่กําลังนําเสนอให้เอากับชีวต
ิ ประจําวันเพราะผู้ถูกโน้มน้าวใจกําลังอยูใ่ นจุดสนใจ
● ล้อเลียนตนเองหรือบุลคลที่สามารถล้อเลียนได้โดยไม่เสียมารยาท

*ผู้โน้มน้าวใจควรเลือกใช้วธิ ส
ี ร้างบรรยากาศหรรษาให้เหมาะสมกับกาลเทศะและประชุมเพื่อให้สําเร็จประโยชน์ของตน

TH
AI
๖. เร้าให้เกิดอารมณ์อย่างแรงกล้า

ตัวอย่างที่ ๑: การโน้มน้าวให้บุคคลไปฉีดยาป้องกัน ● มนุษย์เมื่อมีอารมณ์อย่างแรง


โรค กล้า (ดีใจ, เสียใจ, โกรธแค้น,
— บรรยายถึงความน่าสะพรึงกลัวของโรคนั้นๆ วิตกกังวล, พาว้าพะวัง) จะ
ตัดสินใจตามการคล้อยตามผู้
โน้มน้าวได้ง่าย
ตัวอย่างที่ ๒: การโน้มน้าวให้เกิดความเวทนาสงสาร
—บรรยายถึงสภาพอันน่าสงสารของบุคลคลที่จะ
บริจาคทรัพย์/สิ่งสงเคราะห์
04
ลักษณะ
ลักษณะของภาษาที่โน้มน้าวใจ
ตัวอย่างการใช้ภาษาโดยไม่คํานึง
การโน้มน้าวใจ ตัวอย่างการใช้ภาษาโน้มน้าวใจ
ถึงการโน้มน้าวใจ
ไม่ใช่การขู่บังคับ ผู้โน้มน้าวใจควร เเม้คนส่วนใหญ่จะนิยมจัดงาน ใครๆก็เเต่งงานกันอย่างหรูหรา
จะใช้ นาเสียงในลักษณะ เสนอ เเต่งงานหรูหรา ใช้เงินทองมาก จัด เเค่ไหนก็เรื่องของเขา
เเนะ ขอร้อง วิงวอน หรือ เร้าใจ งานให้สมเกียรติ เพราะเป็น งาน เเต่สําหรับพวกเธอ ต้องนึกถึง
เเละการจะทําให้เกิดนาเสียงดัง สําคัญครัง้ เดียว เเต่เราก็ใช่วา่ จะ ความมั่นคงเป็นสําคัญ ไม่จาํ เป็น
กล่าวจะตัองใช้คําศัพท์ให้ถูก ต้องทําตามเขา เสมอไป จะต้องไปฟุ่มเฟือย
ต้อง เพื่อให้เกิดจังหวะเเละ ความ เราน่าจะจัดงานให้สมเเก่ฐานะ เพื่อ ตามเขา ฉันไม่สนับสนุนเป็นเด็ด
นุ่มนวล ความมั่นคงในระยะยาว เราควรจะ ขาด ทราบไว้ด้วย อย่ามีความคิด
เลือกประการหลัง ผิดๆเช่นนั้นเลย
ขอให้เจ้าทั้งสองจงตรองให้ดีก่อน
เถิด
05
การพิจารณา
การพิจารณาสารโนมนาวใจมีลักษณะอยางไร

การพิจารณาสารโน้มน้าวใจสิ่งแรกที่ควรพิจารณา คือ การจับเจตนาของผู้ส่งสารว่ามีจด


ุ มุ่งหมาย
จะให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ท่ีตนโน้มน้าว หรือเกิดประโยชน์แก่ส่วนรวมว่ามีหรือไม่

ลักษณะของสารโน้มน้าวใจมี 3 ชนิดดังนี้
1. คําเชิญชวน
2. โฆษณาสินค้าหรือโฆษณาบริการ
3. โฆษณาชวนเชื่อ
คําเชิญชวน

เป็นการแนะนําให้ชว่ ยกันกระทําการอย่างใดอย่างหนึ่ง อาจปรากฎต่อสาธารณชนในรูปของใบประกาศ หรือ


แผ่นปลิว โปสเตอร์หรืออาจเป็นการบอกกล่าวด้วยวาจาเฉพาะหน้ากันทางวิทยุหรือทางโทรทัศน์

คําเชิญชวนควรกล่าวถึงจุดประสงค์และวิธป
ี ฏิบัติกิจกรรม, เพื่อประโยชน์ของส่วนรวม เช่น การบริจาค
โลหิต การรักษาสภาพแวดล้อม การใช้สิ่งของที่ผลิตในประเทศ
โฆษณาสินค้าหรือบริการ
โฆษณา คือ การประกาศหรือนําเสนอสินค้าหรือบริการให้ผู้คนทั่วไปทราบ
ผู้ท่ีกระทําโฆษณาต้องจ่ายเงินเพื่อซื้อเวลาและเนื้อเรื่องของสื่อที่จะใช้ เพื่อให้โฆษณา
เผยแพร่สู่สาธารณชน จุดประสงค์คือเพื่อขายสินค้าและบริการ
การโฆษณา
ลักษณะสําคัญ
● สะดุดตา หูและใจ ใช้คําใหม่ๆ
● ใช้คําสั้นๆ
● เน้นประโยชน์และความพิเศษของสินค้า
● ผู้โฆษณาจ้บจุดอ่อนกลุ่มผู้ซ้ อ

● เนื้อหาของโฆษณามีเยอะ ขาดความถูกต้อง
● มีการปรากฎทางสื่ออยูบ ่ ่อยครัง้
ประโยชน์และโทษของการโฆษณาสินค้าหรือบริการ

ประโยชน์ โทษ ตัวอย่าง

● ทําให้ประชาชนรูจ้ ก
ั สินค้า ● ทําให้ประชาชนได้รบั
และบริการที่หลากหลาย ข่าวสารผิดๆ
● กิจการของสื่อมวลชนมี ● สร้างภาพจําผิดๆให้
รายได้และกําไร เยาวชน
เชื่อฉันสิ คนชื่อ
ไฮซ์สวย
โฆษณาชวนเชื่อ
โฆษณาชวนเชื่อ

● การพยายามที่จะเปลี่ยนความเชื่อเเละการกระทําของบุคคลจํานวนมากให้เป็นไป
ตามที่ตนเองต้องการ โดยไม่คํานึงถึงเหตุผลเเละข้อเท็จจริง โฆษณาชวนเชื่อ
● ความรูเ้ ท่าทันกลวิธขี องนักโฆษณาชวนเชื่อจึงมีความสําคัญต่อผู้รบั สารอย่างมาก
เพราะผู้รบั สารจะต้องใช้วจิ ารณญานเพื่อไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของโฆษณาชวนเชื่อ
● สถาบันในอเมริกาได้เคยบ่งชี้กลวิธขี องโฆษณาชวนเชื่อไว้หลายประการดังนี้
ตราชื่อ

● เป็นกลวิธที ่ีเบนความสนใจของผู้รบั สารไปจากเหตุผลและข้อเท็จจริงเพื่อให้หมดความเชื่อถือในตัวบุคคลหรือ


สถาบันฝ่ายตรงข้าม โดยหาคําพูดมาใช้เรียกฝ่ายตรงกันข้ามเพื่อเร้าอารมณ์ของผู้รบั สาร เช่น บุคคลกลุ่มหนึ่งได้เรียกร้อง
ความเสมอภาค และความยุติธรรมด้วยเหตุผลประการต่างๆ
● ฝ่ายคัดค้านที่ต้องการทําลายความน่าเชื่อถือของกลุ่มบุคคลแรกจะไม่แสดงเหตุผลคัดค้านให้ตรงเนื้อหา แต่จะสรรหาคํา
ตราชื่อมาเรียกบุคคลฝ่ายนั้น เช่น ฝ่ายซ้าย พวกหัวรุนแรง ผู้คลั่งทฤษฎี
● คําตราชื่อเหล่านี้จะทําให้ผู้ฟังเกิดมโนภาพว่า บุคคลเหล่านั้นมีลักษณะอันไม่พ่ึงประสงค์ อาจจะทําให้เกิดความคิดในแง่
ร้าย และอาจจะเกิดความเกลียดชังได้

ข้อควรระวัง
● เมื่อผู้รบั สารได้ยน
ิ ตราชื่อทํานองนี้ ก็ควรหยุดคิด
พิจารณา ไม่ด่วนตัดสินใจตั้งข้อรังเกียจ หรือมีข้ออคติ
ใช้ถ้อยคําหรูหรา

● การเรียบเรียงข้อความขึ้นให้ผูกพันกับความคิด หลักการ บุคคล สถาบัน หรืออุดมการณ์และ


ด้วยอํานาจของถ้อยคําและข้อความนั้น
● ทําให้ผู้อ่ ืนเกิดความเลื่อมใสในความคิดของบุคคล สถาบันหรืออุดมการณ์นั้นๆ โดยไม่ใช้ความ
คิดหรือเหตุผลตรวจสอบ

ข้อสังเกต
● คําที่พิมพ์เหล่านี้เป็นคําหรูหรา น่าฟัง ความหมายดี แต่ไม่ช้เี ฉพาะ กล่าวไว้อย่างรวมๆ แต่
จะมีอํานาจทําให้คนฟังคล้อยตามได้โดยง่าย
อ้างบุคคลหรือสถาบัน

● ใช้อ้างถึงสถาบันหรือบุคคลที่เป็นที่เคารพนับถือ เพื่อทําให้เกิดความน่าเชื่อถือกับผู้ฟัง มี
ทัศนคติท่ีดี หรือเกิดความนิยมชมชอบหลักการ หรืออุดมการณ์ของตน
● ผู้โฆษณาชวนเชื่อมักจะอ้าง งานของตนนั้นทําเพื่อชาติ ส่วนรวม ประชาชน หรือศาสนา
● เมื่อผู้รบั สารได้ยน
ิ ด้วยความเลื่อมใสที่มีเป็นทุนอยูแ
่ ล้ว ก็พลอยเชื่อสิ่งนั้นไปด้วยโดยไม่หยุด
คิดพิจารณา จึงตกหลุมพรางของนักโฆษณาชวนเชื่อได้
ทําเหมือนชาวบ้านธรรมดาๆ อ้างเเต่ท่ ีเป็นประโยชน์ตน อ้างคนส่วนใหญ่

● ผู้ทําโฆษณาจะเชื่อมโยง ● ผู้โฆษณาจะเลือกนําเเต่ ● ชักจูงผู้ซ้ อ


ื เกิดความ
ตนเองเเละความคิดให้ เฉพาะเเง่มุมที่เป็นประ ตระหนักว่าบุคคลอื่นๆ
ผูกพันธ์กับชาวบ้าน เพื่อ โยชน์เเก่ฝ่ายของตนเอง ต่างพากันเชื่อเเละไว้
เเสดงให้เห็นว่าตน ● จะพยายามกลบเกลื่อน ใจสินค้า
เองเป็นพวกเดียวกับชาว เเง่อ่ ืนที่เป็นโทษ ● ดังนั้นผู้รบั สารจึงเชื่อ
บ้าน เเก่ฝ่ายของตนเอง ไม่ให้ผู้ เเละจะปฏิบัติให้
● เหตุท่ีต้องทําเพราะเพื่อให้ ฟังได้รบั รู ้ เหมือนกับคนส่วน
ได้รบั การไว้วางใจเเละ ใหญ่
ชักจูงให้คนคล้อยตาม ● เป็นการสร้างความรู ้
สึกให้ผู้รบั สารรูส ้ ึกว่า
สิ่งนั้นเป็นสิ่งที่คนทั่ว
ไปยอมรับ เเละหากตน
เองไม่ยอมรับอาจจะ
เป็นคนที่เเปลกไปจาก
คนทั่วไป
BYE!

ขอบพระคุณค่ะ

You might also like