You are on page 1of 7

ที่มาของทฤษฎี(Transformative Learning)

การเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง (Transformative Learning)


การเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงพัฒนาขึน
้ โดย Mezirow
และเป็ นคนแรกที่ใช้คำว่า Transformative Learning ในปี 1978 (Imel,
1998) Mezirow ได้ให้นิยามความหมายของการเรียนรู้เพื่อการ
เปลี่ยนแปลงไว้ดังนี ้ คือการเรียนรู้ที่เปลี่ยนกรอบการอ้างอิง (Fame of
Reference)เดิมที่ยังไม่ชัดเจน ไดแกชุดความเชื่อ สมมติฐาน และความ
คาดหวังที่ตายตัว (Habit of Mind, Meaning Perspective, Mindset)
ไปสูก
่ รอบการอ้างอิงที่ใหญ่ขน
ึ ้ กว้างขึน
้ สามารถยกแยะความแตกต่างได้
เปิ ดรับสะท้อนและนำเสนอภาพความรู้สึกนึกคิดได้มากขึน
้ รวมถึงรู้สึกว่า
กรอบนีส
้ ามารถรับกับการเปลี่ยนแปลงได้มากขึน
้ กรอบการอ้างอิงอย่าง
ใหม่จะดีขน
ึ ้ กว่าเดิมและถูกต้องมากขึน
้ (Mezirow, 2003, หน้า 58)สิ่งที่
เป็ นหัวใจสำคัญของการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงตามแนวคิดของ
Mezirow คือการปรับเปลี่ยนกรอบการอ้างอิง กรอบอ้างอิงหมายถึง ชุด
ความเชื่อสมมติฐานการรับรู้ ความคิด ความตัง้ ใจ ความคาดหวังที่มี
อิทธิพลต่อการรับรู้แสะให้ความหมายกับประสบการณ์ต่างๆ กรอบการ
อ้างอิงมี 2 มิติ คือ มิติแรกคือแบบแผนความคิดที่เป็ นความเคยชิน
(Habits of Mind) เป็ นชุดข้อสรุปในใจที่เป็ นหลักทั่วไปอย่างกว้างๆ ที่
แต่ละคนได้ตงั ้ ไว้ตามการรับรู้ ภูมิหลังสังคม ภาษา คุณธรรม-จริยธรรม
ญาณวิทยา ปรัชญา จิตวิทยา และสุนทรียภาพ มิติที่สองคือมุมมอง
(Point of View) เป็ นมิติของนิสัยของจิตใจประกอบด้วยชุดของความ
หมายต่างๆ (Meaning Scheme) เช่น ความคาตหวัง ความเชื่อความ
รู้สึก ความคิด การตัดสินเฉพาะเจาะจงเรื่องใตเรื่องหนึ่งลงไป ว่าอะไรดี
อะไรไม่ดี อะไรถูกอะไรไม่ถูกชลลดา ทองทวี และคนอื่นๆ (2551, หน้า
36) ได้กล่าวว่าเป็ นการเรียนรู้ที่มุ่งความสำคัญไปที่เป้ าหมายของการ
เปลี่ยนแปลงคุณลักษณะภายในของผู้เรียนที่อยู่บนฐานของการ
เปลี่ยนแปลงมุมมอง และความหมายต่อโลกและชีวิต การเรียนรู้สู่การ
เปลี่ยนแปลงอาศัยกระบนกรรื้อถอนเชิงมุมมองแสะความหมายเติมด้วย
การวิพากษ์

เชิงเหตุผล การใคร่ครวญภายในตนเองหรือโดยผ่านญาณทัศนะ
อารมณ์ หรือสิ่งที่เหนือเหตุผล ฯลฯ เพื่อนำไปสู่การสร้างสรรค์ตนองในระ
ตับจุดีใหม่ และการขยายจิตสำนึกสู่การยอมรับความจริงของความหมาย
และมุมมองใหม่ ธนา นิลชัยโกวิทย์, อดิศร จันทรสุข และอัญชลี สถิร
เศรษฐ์ (2552) ได้กล่าวว่าการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงเป็ นการศึกษา
เพื่อการเปลี่ยนแปลงอย่างลึกซึง้ (Transformative Education) เพื่อให้ผู้
เรียนเกิดการตระหนักรู้ต่อโลกภายในของตนเอง ที่ประกอบตัวยความคิด
ความรู้สึก ความเชื่อ ทัศนคติ การมองโลก และชีวิต รวมไปถึงพฤติกรรม
ในชีวิตประจำวันในแต่ละช่วงขณะ ความตระหนักรู้ดังกล่าวนีจ
้ ะทำให้ผู้
เรียนก้าวล่วงสู่การพัฒนาตนให้เป็ นคนที่สมบูรณ์ และสร้างสรรค์
ปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อสรรพชีวิและสิ่งแวดล้อมรอบตัวในลักษณะที่เกื้อกูลกัน
ไต้ต่อไป นอกจากนีแ
้ ล้วพจนานุกรมศัพท์ ศึกษาศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิต
สถาน (2555, หน้า 553)ได้ให้ความหมาย Transformative Learning
ไว้ว่า แนวคิดที่เน้นการเรียนอย่างมีความหมายนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง
เจตคติ สร้างจิตสำนึก และบุคลิกภาพของบุคคลให้มีมุมมองอย่างเป็ นองค์
รวม เป็ นกระบวนการ
เรียนรู้ที่ช่วยให้ผู้เรียนเปิ ดใจกว้าง ยอมรับความจริง ก้าวข้ามความคุ้นชิน
จนส"มารถพัฒนาตนเองหรือพัฒนา
องค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งนายแพทย์วิจารณ์ พานิช (2558, หน้า
4) ใด้กล่าวว่าการเรียนรู้ที่แท้ในทุกระดับอายุและทุกระดับการศึกษาล้วน
ห้องเป็ น Transformative Learning ทัง้ สิน
้ คือเป็ นการเรียนรู้ที่ก่อให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในตนในลักษณะของการให้ความหมายใหม่ของ
สิ่งต่างๆ เรื่องราวต่างๆ เกิดการเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์ ความมุ่งมั่น และ
พฤติกรรม หรือกล่าวง่ายๆว่าเป็ นการเรียนรู้ที่นำไปสู่การเปลี่ยนกระบวน
ทัศน์(Mindset Change) นอกจากนีย
้ ังเห็นว่า Transformative
Learning ต้องเปลี่ยนแปลงทัง้ โลกทัศน์ (Affective Attributes) ความรู้
ความเข้าใจ(Cognitive Attributes) และพฤติกรรม (Psychomotor
Attributes) คือมีการเปลี่ยนแปลงที่เรียกว่า การเปลี่ยนแปลงทัง้ เนื้อทัง้
ตัว (Holistic Change)
(วิจารณ์ พานิซ, 2556, หน้า 15)ดังนัน
้ ในการจัดการเรียนรู้เพื่อการ
เปลี่ยนแปลงจำเป็ นอย่างยิ่งที่ผู้เรียนต้องปรับเปลี่ยนจากกรอบความคิด
หรือโลกทัศน์เดิมที่คับแตบ ไปสู่ตวามเป็ นอิสระในการลือกตอบสนองต่อ
โลกภายนอกที่เข้ามากระทบเพื่อการเรียนรู้ที่สูงขึน
้ การเปลี่ยนแปลงโลก
ทัศน์ (Perspective Transformation) หรือกรอบความคิด
(Paradigm) หรือกรอบอ้างอิง (Frame of Reference) นัน
้ หมายถึง
กระบวนการตระหนักรู้ว่าสมมหิฐาน
ความเชื่อของตนองเป็ นอุปสรรคต่อการรับรู้ ทำความเข้าใจและรู้สึกเกี่ยว
กับโลกนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงความ
เคยซิน ไปสู่มุมมองที่ยอมรับความแตกต่างนำไปสูก
่ ารปลดปล่อยตักย
ภาพและความเป็ นอิสระภายในในการเลือกตอบสนองต่อโลกภายนอกที่
เข้ามากระทบ เกิดอำนาจภายในตนเอง เกิดการเรียนรู้ที่มีคณ
ุ ค่าและ
ความหมาย เมชิโรว์ (Mezirow, 1991) ได้เสนอขัน
้ ตอนเพื่อการ
เปลี่ยนแปลงกรอบความคิดไว้ดังงนี ้
1. การให้ผู้เรียนเผชิญกับสถานการณ์ที่ต่างไปจากมุมมองเดิมของ
ตนเอง (Disorienting Dilemma)
2. การตรวจสอบความรู้สึกของดนเองเกี่ยวความกลัว ความโกรธ
ความรู้สึกผิดและความละอายใจ
(Self-examination with Feelings of Fear, Anger, Guilt or
Shame)
3. การประเมินสมมติฐานเชิงวิพากษ์ (Critical Assessment of
Assumption)
4. การตระหนักว่าตนองและบุคลลอื่นๆมีการปรับเปลี่ยนกรอบ
ความคิดในทำนองเตียวกัน
(Recognition that one's Discontent and Process of
Transformation are Share)
5. การสำรวจ คันหาทางเลือกของบทบาท ความสัมพันธ์และแนว
ปฏิบัติใหม่ (Exploration of
Options for New Roles' Relationships and Actions)
6. การวางแผนปฏิบัติการ (Planning a Course of Action)
7. การศึกษาหาความรู้ และทักษะเพื่อการดำเนินการตามแผน
(Acquiring Knowledge and Skills for Implementing one's
Plan)
8. การทดลองปฏิบัติตามแผน (Provisional Trying of New
Roles)
9. การสร้างความสามารถและความเชื่อมั่นในตนเองตามบทบาท
ใหม่และความสัมพันธ์ใหม่
(Building Competence and Self-confidence in New Roles
and Relationships)
10. การบูรณาการจนเป็ นวิถีดำเนินชีวิตใหม่ของตนเองอย่างเป็ น
หนึ่งเตียว (Reintegration Into one's Life on the Basis of
Conditions Dictated by One's New Perspectives)
ตามแนวคิดของเมสิโรว์นน
ั ้ จะเห็นได้ว่าการจะเกิดการ
เปลี่ยนแปลงตนเองได้นน
ั ้ จะต้องเริ่มต้น
จากการเผชิญความยากลำบาก สถานการณ์ที่เกิดความขัดยังที่จะหา
ทางออกไม่ใต้ คำตอบเดิมๆ มุมมองเติมๆ
การรับรู้แบบเติม ไม่อาจแก้ปัญหาเติมที่มีอยู่อีกต่อไปได้ หากคนๆ นัน

การตัง้ คำถามกับชุดความเชื่อเติมอย่าง
จริงจังและเริ่มใคร่ครวญตนเองอย่างลึกซึง้ กระบวนการเรียนรู้เพื่อการ
เปลี่ยนแปลงที่แท้จริงจะเริ่มขึน
้ นำไปสู่
การเปลี่ยนแปลงกรอบการอ้างอิง หรือกรอบความคิด นัน
้ คือการก้าวข้าม
แบบแผนเติมเกิดแบบแผนใหม่ที่ควบ
รวมกับแผนเติมไว้ด้วยกัน ตังนัน
้ การจัตการเรียนรู้จำเป็ นต้องมีการ
เปลี่ยนแปลงโดยจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียน
สามารถเปลี่ยนกรอบการอ้างอิงเพื่อให้เกิดการเรียนรู้เพื่อการ
เปลี่ยนแปลงหากการจัดการศึกษาสามารถเป็ น
กระบวนการที่เปลี่ยนแปลงการมองโสกของบุคคลที่มีต่อสิ่งเร้า ให้ผู้เรียน
เกิดการตระหนักรู้ว่าการเรียนรู้เป็ นสิง่
ที่สำคัญ ในฐานะที่เป็ นเครื่องมือสำหรับการพัฒนาตนองให้เป็ นคนที่มี
คุณภาพ มีศักยภาพเพื่อทำประโยชน์
ต่อส่วนรวม เมชิโรว์ ได้จำแนกกระบวนการเรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้
เพื่อการเปลี่ยนแปลงเป็ น 4 แบบ
(Kitchenham, 2008, หน้า 120 และสมสิทธิ ์ อัสดรนิ และกาญจนา ภู
ครองนาค, 2555, หน้า 15-16)
1. กระบวนการเรียนรู้ในแบบแผนชิงตวามหมายเติม เรียนรู้ในสิ่งที่
เคยรู้แล้วตัวยขยาย
ความ เดิมเต็มรายละเอียด และทบทวนให้คมชัดขึน
้ นัน
้ คือการให้
คำอธิบายเกี่ยวกับกรอบการอ้างอิงที่เป็ น
2. กระบวนการเรียนรู้แบบแผนเชิงความหมายใหม่ ศึกษาพุดความ
หมายใหม่ๆ ที่สอดคล้อง
และไปด้วยกันกับแบบแผนเชิงความหมายเดิมของตัวผู้เรียน นัน
้ คือ
การเรียนรู้เกี่ยวกับกรอบการอ้างอิงใหม่ๆ
3. กระบวนการเรียนรู้ผ่านการเปลี่ยนแปลงมุมมองเชิงการให้ความ
หมาย ด้วยการตระหนักรู้
และเท่าทันในสมมติฐาน ความเชื่อต่างๆ ที่สร้างแบบแผนอัน
บิดเบือนและไม่สมบูรณ์จนกลายเป็ นปั ญหาที่ไม่สามารถแก้ไขได้
ด้วยการใช้แบบแผนเชิงความหมายเติมหรือเพียงชุดความหมาย
ใหม่ๆ หากแต่ต้องหันมาจัดระบบความเชื่อและมุมมองใหม่ นัน
้ คือ
การเปลี่ยนแปลงลงไปถึงระดับของนิสัยของจิตใจรวมถึงกรอบการ
อ้างอิง เป็ นการเปลี่ยนแปลงที่ลก
ึ ซึง้ และแท้จริงที่สุต
4. กระบวนการเรียนรู้ผ่านการเปลี่ยนแปลงทรรศนะ เป็ นกระบวน
การแบบที่ 4 ที่ เมซิโรว์เพิ่มเติมภายหลัง โดยกล่าวว่า นอกเหนือ
จากกระบวนการเรียนรู้ที่สร้างการเปลี่ยนแปลงอย่างตึกซึง้ ถึงระดับ
นิสัยของจิตใจหรือกรอบอ้างอิงแล้ว ในความเป็ นจริงคนเรายัง
สามารถเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงในระดับทรรศนะเฉพาะต้านใด
ต้านหนึ่งได้ เช่น การเปลี่ยนท่าที คำพูด หรือการแสตงออกบบาง
อย่าง อาจด้วยการเลียนแบบคนอื่นเป็ นต้น

You might also like