You are on page 1of 6

Active Learning เทคนิคการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21

สิ ริพร ปาณาวงษ์*

บทนา
ในการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษากระทรวงศึกษาธิ การได้กาหนดพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 4 มาตราที่ 22 กล่าวว่า การจัดการศึกษาต้อง
ยึดหลักว่าผูเ้ รี ยนทุกคนมีความสามารถเรี ยนรู ้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผูเ้ รี ยนมีความสาคัญที่สุด
กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพและ
มาตราที่ 24 (1) จัดเนื้ อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผูเ้ รี ยน โดย
คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล (2) ฝึ กทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และ
การประยุกต์ความรู ้มาใช้เพื่อป้ องกันและแก้ไขปั ญหาและ (3) จัดกิจกรรมให้ผเู ้ รี ยน ได้เรี ยนรู้จาก
ประสบการณ์จริ ง ฝึ กการปฏิบตั ิ ให้ทาได้ คิดเป็ น ทาเป็ น รักการอ่านและเกิดการใฝ่ รู ้อย่างต่อเนื่ อง ทั้งนี้
สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา 2552 ที่ตอ้ งการส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีการพัฒนาศักยภาพ
ด้านคุณธรรมจริ ยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
และทักษะการคิดวิเคราะห์เชิ งตัวเลข การสื่ อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่ งคุณลักษณะดังกล่าว
เป็ นความสามารถของผูเ้ รี ยนที่ทาให้สามารถเรี ยนรู้แบบนาตนเองและเรี ยนรู้ได้ตลอดชีวติ และตามเกณฑ์
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2553 ที่กล่าวถึงพันธกิจที่สาคัญที่สุดของ
สถาบันการศึกษา คือการผลิตบัณฑิต หรื อการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ในวิชาการ
และวิชาชีพ มีคุณลักษณะตามหลักสู ตรที่กาหนดการสอนในยุคปั จจุบนั ใช้หลักการของการจัดกระบวนการ
เรี ยนรู้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ
ดังนั้น ผูส้ อนจึงจาเป็ นต้องปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการเรี ยนการสอนให้สอดคล้องกับการ
เปลี่ยนแปลงของสังคม เทคโนโลยี และการเรี ยนรู้ของนักศึกษา จากผูส้ อนคือผูถ้ ่ายทอด ปรับเปลี่ยน
บทบาทเป็ นผูช้ ้ ีแนะวิธีการค้นคว้าหาความรู ้เพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยนให้สามารถแสวงหาความรู ้และประยุกต์ใช้
ทักษะต่างๆ สร้างความเข้าใจด้วยตนเอง จนเกิดเป็ นการเรี ยนรู ้อย่างมีความหมาย
Active Learning หรื อใช้คาย่อว่า AL ในการเขียนต่อไปนี้ เป็ นแนวคิดค่อนข้างใหม่ในการปฏิรูป
ระบบการศึกษาแบบเดิมที่เน้นการถ่ายทอดความรู ้จากผูส้ อนสู่ ผเู ้ รี ยนโดยตรง โดยอาศัยกระบวนการจัดการ
เรี ยนรู ้ที่ผเู ้ รี ยนได้ลงมือกระทาและได้ใช้กระบวนการคิดเกี่ยวกับสิ่ งที่เขาได้กระทาลงไป (Bonwell, 1991)
นาวิธีการสอน เทคนิคการสอนที่หลากหลายมาใช้ออกแบบแผนการจัดการเรี ยนรู้และกิจกรรม กระตุน้ ให้

* อาจารย์ประจาคณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์


2

ผูเ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในชั้นเรี ยน ส่ งเสริ มปฏิสัมพันธ์ระหว่างผูเ้ รี ยนกับผูเ้ รี ยนและผูเ้ รี ยนกับผูส้ อน ดังนั้น AL


จึงถือเป็ นการจัดการเรี ยนการสอนประเภทหนึ่งที่ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีคุณลักษณะสอดคล้องกับการ
เปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบนั
อย่างไรก็ดีในปั จจุบนั การนา AL ไปใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน ยังคงประสบปัญหา ทั้งใน
ส่ วนของการจัดหลักสู ตร วิธีการเรี ยนการสอน ครู ผสู้ อน รวมทั้งในส่ วนของผูเ้ รี ยน แสดงให้เห็นว่า AL
ไม่สามารถนามาใช้เพื่อการพัฒนาระบบการศึกษาได้อย่างง่ายดาย แต่การนามาใช้จาเป็ นจะต้องมีความ
พร้อมในหลายด้าน ทั้งด้านผูส้ อน ผูเ้ รี ยน และสภาพแวดล้อม นอกจากนี้ รูปแบบ AL ยังเป็ นเพียง
แนวความคิดกว้าง ๆ ที่มีรายละเอียดปลีกย่อยและวิธีการปฏิบตั ิที่หลากหลาย ซึ่ งแต่ละวิธีก็ลว้ นมีขอ้ ดีและ
ข้อด้อยแตกต่างกันไปตามสถานการณ์และสภาพแวดล้อม ซึ่ งหากนามาใช้อย่างไม่เหมาะสมอาจทาให้เกิด
ผลเสี ยมากกว่าผลดี จึงต้องพิจารณานามาปรับใช้อย่างเหมาะสม เพื่อให้ได้ประโยชน์อย่างเต็มที่

ลักษณะของ AL
ไชยยศ เรื องสุ วรรณ (มปป.) ได้อธิบายถึงลักษณะสาคัญของการจัดการเรี ยนการสอนแบบ AL ดังนี้
1. เป็ นการเรี ยนการสอนที่พฒั นาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแก้ปัญหา การ
แก้ปัญหาและการนาความรู ้ไปประยุกต์ใช้
2. เป็ นการเรี ยนการสอนที่เปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในกระบวนการเรี ยนรู ้สูงสุ ด
3. ผูเ้ รี ยนสร้างองค์ความรู้และจัดระบบการเรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง
4. ผูเ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในการเรี ยนการสอนทั้งในด้านการสร้างองค์ความรู ้ การสร้างปฎิสัมพันธ์
ร่ วมกัน และร่ วมมือกันมากกว่าการแข่งขัน
5. ผูเ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ความรับผิดชอบร่ วมกัน การมีวนิ ยั ในการทางาน และการแบ่งหน้าที่ความ
รับผิดชอบ
6. เป็ นกระบวนการสร้างสถานการณ์ให้ผเู ้ รี ยนอ่าน พูด ฟัง คิดอย่างลุ่มลึก ผูเ้ รี ยนจะเป็ น
ผูจ้ ดั ระบบการเรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง
7. เป็ นกิจกรรมการเรี ยนการสอนเน้นทักษะการคิดขั้นสู ง
8. เป็ นกิจกรรมที่เปิ ดโอกาสให้ผเู้ รี ยนบูรณาการข้อมูล, ข่าวสาร, สารสนเทศ, และหลักการสู่
การสร้างความคิดรวบยอดความคิดรวบยอด
9. ผูส้ อนจะเป็ นผูอ้ านวยความสะดวกในการจัดการเรี ยนรู้ เพื่อให้ผเู้ รี ยนเป็ นผูป้ ฏิบตั ิดว้ ย
ตนเอง
10. ความรู ้เกิดจากประสบการณ์ การสร้างองค์ความรู ้ และการสรุ ปทบทวนของผูเ้ รี ยน
3

บทบาทของครู
ณัชนัน แก้วชัยเจริ ญกิจ (2550) ได้กล่าวถึงบทบาทของครู ผสู ้ อนในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ตาม
แนวทางของ AL ดังนี้
1. จัดให้ผเู ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลางของการเรี ยนการสอน กิจกรรมต้องสะท้อนความต้องการใน
การพัฒนาผูเ้ รี ยนและเน้นการนาไปใช้ประโยชน์ในชีวติ จริ งของผูเ้ รี ยน
2. สร้างบรรยากาศของการมีส่วนร่ วม และการเจรจาโต้ตอบที่ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีปฏิสัมพันธ์
ที่ดีกบั ผูส้ อนและเพื่อนในชั้นเรี ยน
3. จัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนให้เป็ นพลวัต ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในทุกกิจกรรม
รวมทั้งกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนประสบความสาเร็ จในการเรี ยนรู ้
4. จัดสภาพการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ ส่ งเสริ มให้เกิดการร่ วมมือในกลุ่มผูเ้ รี ยน
5. จัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนให้ทา้ ทาย และให้โอกาสผูเ้ รี ยนได้รับวิธีการสอนที่
หลากหลาย
6. วางแผนเกี่ยวกับเวลาในจัดการเรี ยนการสอนอย่างชัดเจน ทั้งในส่ วนของเนื้อหา และ
กิจกรรม
7. ครู ผสู้ อนต้องใจกว้าง ยอมรับในความสามารถในการแสดงออก และความคิดของผูเ้ รี ยน

ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง


ในปัจจุบนั การนา AL ไปใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน ยังคงประสบปัญหา ปั จจัยที่เกี่ยวข้องที่มี
ความสาคัญต่อการจัดการเรี ยนการสอนแบบ AL ได้แก่ ผูส้ อนและสภาพแวดล้อม ด้านผูส้ อนดูเหมือนว่า
ผูส้ อนจะค่อนข้างสบาย เพราะผูเ้ รี ยนต้องทาเองหมด แต่ความจริ งแล้วผูส้ อนจะเหนื่ อยในการเตรี ยมตัว
ค่อนข้างมาก เพราะผูส้ อนจะต้องเป็ นผูจ้ ดั สิ่ งแวดล้อมและอุปกรณ์ให้เอื้อต่อการทากิจกรรมของผูเ้ รี ยน
อาจจัดแบ่งเป็ นหลากหลายมุมเรี ยนรู ้และช่วยให้ผเู ้ รี ยนได้ความรู ้จากสิ่ งที่ผเู ้ รี ยนปฏิบตั ิ โดยการกระตุน้ ให้
ผูเ้ รี ยนกระตือรื อร้นในการหาคาตอบช่วยให้ผเู ้ รี ยนคิดและแก้ปัญหาด้วยตัวเอง ผูส้ อนเป็ นผูใ้ ห้คาปรึ กษา
มากกว่าผูใ้ ห้คาตอบ อีกปั จจัยสาคัญก็คือบรรยากาศในการเรี ยนรู ้ในที่น้ ีหมายรวมถึงอุปกรณ์ในการเรี ยนรู ้
ด้วยจะต้องมีอุปกรณ์ที่เหมาะสมและครบครันให้ผเู ้ รี ยนหรื อไม่ ผูส้ อนอาจจะให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมตั้งแต่
การวางแผนและการทาอุปกรณ์ประกอบการทากิจกรรม ซึ่ งก็แล้วแต่การวางแผนของผูส้ อน แต่ปัญหาของ
การใช้ AL ก็คือเมื่อผูเ้ รี ยนเรี ยนรู ้ช้ นั สู งขึ้นไป เนื้อหาเริ่ มยากและซับซ้อนมากขึ้น โจทย์ของผูส้ อนใน
การเปลี่ยนเนื้ อหาให้เป็ นกิจกรรมจึงยากขึ้นตามไปด้วย หลายสถาบันจึงยังคงทาอย่างจริ งจังไม่ได้เท่าที่ควร
4

ข้ อดีของรู ปแบบ AL
รู ปแบบ AL เป็ นแนวคิดใหม่ที่เริ่ มเป็ นที่นิยมในช่วงปลายศตวรรษที่ 21 โดยรู ปแบบนี้เป็ นแนวคิด
กว้าง ๆ ที่เน้นความมีส่วนร่ วมและบทบาทในการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน ครอบคลุมวิธีการเรี ยนการสอน
หลากหลายวิธี เช่น การเรี ยนรู้ดว้ ยการค้นพบ (Discovery Learning) การเรี ยนรู้จากกรณี ปัญหา (Problem-
Based Learning) การเรี ยนรู้จากการสื บค้น (Inquiry-Based Learning) และการเรี ยนรู ้จากการทากิจกรรม
(Activity-Based Learning) เป็ นต้น ซึ่ งวิธีการเหล่านี้มีพ้นื ฐานมาจากแนวคิดเดียวกัน คือให้ผเู้ รี ยนเป็ นผูม้ ี
บทบาทหลักในการเรี ยนรู้ของตนเองรู ปแบบการเรี ยนการสอนแบบ AL อาศัยหลักการสร้างกระบวนการ
เรี ยนรู ้ที่เหมาะสมกับธรรมชาติการทางานของสมอง ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีความตื่นตัวและกระตือรื อร้นด้าน
การรู้คิด (Cognitively Active) มากกว่าการฟังผูส้ อนในห้องเรี ยนและการท่องจา ทาให้ได้การเรี ยนรู้ที่มี
ประสิ ทธิผลสู ง โดยรู ปแบบการเรี ยนรู้แบบ AL นอกจากจะกระตุน้ ให้เกิดการเรี ยนรู ้จากตัวผูเ้ รี ยนเองแล้ว
ยังเป็ นการพัฒนาทักษะการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยน ให้ผเู้ รี ยนสามารถเรี ยนรู้ได้ดว้ ยตัวเอง ทาให้เกิดการเรี ยนรู ้
อย่างต่อเนื่ องนอกห้องเรี ยน (Life-Long Learning) ได้อีกด้วย
ในส่ วนของข้อดีอื่น ๆ มีผลการวิจยั พบว่า ผูเ้ รี ยนส่ วนมากมีความพอใจกับรู ปแบบการเรี ยนรู ้
แบบ AL มากกว่ารู ปแบบที่ผเู ้ รี ยนเป็ นฝ่ ายรับความรู ้(Passive Learning) และรู ปแบบการเรี ยนรู้แบบ AL
มีความได้ผลในการถ่ายทอดความรู ้ใกล้เคียงกับการเรี ยนรู ้รูปแบบอื่น แต่มีความได้ผลดีกว่าในการพัฒนา
ทักษะในการคิดและการเขียนของผูเ้ รี ยน

ข้ อด้ อยของรู ปแบบ AL


มีการนารู ปแบบ ALไปใช้อย่างแพร่ หลาย ซึ่ งบางครั้งสถาบันศึกษาที่นารู ปแบบ AL ไปใช้ยงั ขาด
ความเข้าใจที่ลึกซึ้ ง ทาให้มีการนารู ปแบบการเรี ยนการสอนใหม่น้ ีไปใช้อย่างไม่เหมาะสม โดย R.E.Mayer
(2004) ได้แบ่งกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ Active Learning ออกเป็ นสองมิติ ได้แก่ กิจกรรมด้านการรู ้คิด
(Cognitive Activity) และกิจกรรมด้านพฤติกรรม (Behavioral Activity) ทั้งนี้ผทู ้ ี่ขาดความรู ้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับรู ปแบบ Active Learning อย่างแท้จริ ง หรื อผูท้ ี่นารู ปแบบ Active Learning ไปใช้
ตามกระแสความนิยม มักเข้าใจอย่างผิดๆ ว่ารู ปแบบการเรี ยนการสอนแบบ Active Learning คือรู ปแบบ
ที่ผสู ้ อนและผูเ้ รี ยนมีความตื่นตัวในกิจกรรมด้านพฤติกรรม (Behavioral Active) โดยเข้าใจว่าความตื่นตัว
ในกิจกรรมด้านพฤติกรรมจะทาให้เกิดความตื่นตัวในกิจกรรมด้านการรู ้คิด (Cognitively Active) ไปเอง
ซึ่ งความเข้าใจนี้ทาให้มีผใู ้ ห้นิยามของการเรี ยนรู ้แบบ Active Learning ว่าคือการที่ผสู ้ อนลดบทบาท
ความเป็ นผูใ้ ห้ความรู้ลง เป็ นเพียงผูอ้ านวยความสะดวกและบริ หารจัดการหลักสู ตร โดยปล่อยให้ผเู ้ รี ยน
ได้เรี ยนรู ้เองอย่างอิสระจากการทากิจกรรมและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์กบั ผูเ้ รี ยนด้วยกันเอง
อย่างไรก็ดี พื้นฐานแนวคิดของรู ปแบบ Active Learning มุ่งเน้นให้เกิดกระบวนการเรี ยนรู ้ที่ผเู ้ รี ยนมี
5

ความตื่นตัวในกิจกรรมด้านการรู ้คิด ซึ่ง R.E.Mayer (2004) กล่าวว่า ความตื่นตัวในกิจกรรมด้าน


พฤติกรรมไม่จาเป็ นต้องก่อให้เกิดความตื่นตัวในกิจกรรมด้านการรู ้คิดเสมอไป ซึ่งการที่ผสู้ อนให้
ความสาคัญกับกิจกรรมด้านพฤติกรรมเพียงอย่างเดียว เช่น การทดลองปฏิบตั ิและการอภิปรายในกลุ่ม
ของผูเ้ รี ยนเอง โดยไม่ให้ความสาคัญกับกิจกรรมด้านการรู ้คิด เช่น การลาดับความคิดและการจัดองค์
ความรู้ จะทาให้ประสิ ทธิผลของการเรี ยนรู้ลดลง
ในส่ วนของทฤษฎีการจัดหมวดหมู่วตั ถุประสงค์ของการศึกษา (Taxonomy of Educational
Objectives) ซึ่ งแบ่งวัตถุประสงค์ของการศึกษาไว้ 6 ระดับ ได้จดั ลาดับการจดจาความรู ้ไว้ที่ระดับพื้นฐาน
ระดับแรก ซึ่ งเป็ นพื้นฐานของวัตถุประสงค์ในระดับอื่น ๆ ที่อยูส่ ู งขึ้นไป ซึ่งการนาเอารู ปแบบ AL มาใช้
เพื่อให้ผเู ้ รี ยนค้นพบความรู ้ใหม่ดว้ ยตัวเองบนพื้นฐานของการแก้ปัญหาโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในการเรี ยน
การสอนสาหรับผูเ้ รี ยนระดับผูเ้ ริ่ มต้น (Novice Learners) เป็ นวิธีการที่ตอ้ งใช้เวลานาน และเพิ่มภาระการใช้
ความจาระยะสั้นเป็ นอย่างมาก
การใช้รูปแบบ AL เพื่อให้ผเู ้ รี ยนระดับเริ่ มต้นค้นพบความรู ้ใหม่ดว้ ยตัวเองในหลักสู ตรการศึกษาที่
มีเวลาจากัด จะทาให้ไม่บรรลุวตั ถุประสงค์ของการศึกษาในระดับพื้นฐานเท่าที่ควร และการไม่สามารถ
บรรลุวตั ถุประสงค์ในระดับแรกได้ จะเป็ นอุปสรรคโดยตรงต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์ของการศึกษาใน
ระดับที่สูงขึ้นต่อไปการนารู ปแบบ AL มาใช้เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ดว้ ยตัวเองยังนาไปสู่ การเน้นให้
ผูเ้ รี ยนได้ลงมือปฏิบตั ิในขั้นตอนจริ งการปฏิบตั ิของสาขาเฉพาะทาง โดยมีเป้ าหมายให้ผเู้ รี ยนใน
สาขาวิชาเฉพาะทางได้เรี ยนรู ้จากขั้นตอนการปฏิบตั ิจริ ง ซึ่ งการเน้นเป้ าหมายด้านขั้นตอนปฏิบตั ิมาก
จนเกินไปอาจทาให้ละเลยพื้นฐานการเรี ยนรู ้ดา้ นข้อเท็จจริ ง หลักการ และทฤษฎีในสาขาวิชาเฉพาะทาง
นั้น โดยมองว่าการเรี ยนรู ้พ้นื ฐานดังกล่าวเป็ นหน้าที่และความรับผิดชอบของผูเ้ รี ยนที่จะต้องไปศึกษาเอา
เอง ซึ่งตามทฤษฎีวทิ ยาศาสตร์การรู้คิดแล้ว ผูเ้ รี ยนจะเป็ นผูท้ ี่นาเอาข้อมูลที่ได้รับมาสังเคราะห์เป็ นองค์
ความรู้ดว้ ยตัวเอง ไม่วา่ ข้อมูลที่ได้รับจะมีปริ มาณมากหรื อน้อยก็ตาม และยิง่ ผูเ้ รี ยนได้รับข้อมูลพื้นฐาน
มากก็จะยิง่ ทาให้สามารถสังเคราะห์องค์ความรู ้อย่างถูกต้องและเที่ยงตรงได้มากและง่ายยิง่ ขึ้น ดังนั้น
การที่ผสู ้ อนมุ่งเน้นแต่ข้ นั ตอนการปฏิบตั ิเพียงอย่างเดียวโดยไม่ช่วยถ่ายทอดข้อเท็จจริ ง หลักการ และ
ทฤษฎี จะทาให้ผเู้ รี ยนต้องสังเคราะห์องค์ความรู้จากข้อมูลที่ไม่ครบถ้วน ส่ งผลให้ประสิ ทธิ ผลของการ
เรี ยนรู้ลดลง

สรุ ป
รู ปแบบ AL เป็ นรู ปแบบใหม่ ซึ่ งสถาบันการศึกษาหลายแห่งได้มีความตื่นตัวในการนาแนวคิดนี้
มาใช้โดยเชื่อว่ารู ปแบบ AL สามารถนามาใช้เพื่อช่วยพัฒนาการเรี ยนการสอนได้ โดยไม่มีผลกระทบ
ด้านลบ อย่างไรก็ดีหลังจากที่มีการนารู ปแบบ AL มาใช้อย่างแพร่ หลายก็ได้มีสถาบันการศึกษาและ
6

นักวิชาการจานวนหนึ่งที่เริ่ มมองเห็นว่ารู ปแบบนี้เป็ นแนวคิดกว้าง ๆ ที่มีวธิ ีการในการปฏิบตั ิหลายวิธี ซึ่ง


จากผลการศึกษาพบว่าแต่ละวิธีการไม่ได้มีแต่ประโยชน์เพียงด้านเดียวเท่านั้น แต่ยงั มีผลเสี ยที่ข้ ึนอยูก่ บั
ความเหมาะสมของการนาวิธีการนั้นไปใช้อีกด้วย ซึ่ งหากนามาใช้ไม่เหมาะสมอาจทาให้เกิดผลเสี ยมากกว่า
ผลดี จึงต้องพิจารณานามาปรับใช้อย่างเหมาะสม เพื่อให้ได้ประโยชน์อย่างสู งสุ ดในการพัฒนาการศึกษา
ต่อไป

บรรณานุกรม

ไชยยศ เรื องสุ วรรณ. Active Learning. สื บค้นจาก http://www.drchaiyot.com เมื่อ 25 กรกฎาคม 2552.
ณัชนัน แก้วชัยเจริ ญกิจ. บทบาทของครู ผ้ สู อนในการจัดกิจกรรมและวิธีการปฏิบัติตามแนวทางของ
Active Learning. สื บค้นจาก http://www.itie.org เมื่อ 25 กรกฎาคม 2552.
C.C. Bonwell, J.A. Eison, “Active Learning: Creating Excitement in the Classroom.” ERIC
Digest.Washington D.C.: ERIC Clearinghouse on Higher Education, 1991.
R.E. Mayer, “Should There Be a Three-Strikes Rule Against Pure Discovery Learning? The Case
forGuided Methods of Instruction.” Americal Psychologist, Vol.59 No.1, January 2004:
pp.14-19.

You might also like