You are on page 1of 2

การบริ หารจัดการเรี ยนรู้ที่เอื ้อต่อทักษะสมองของเด็กปฐมวัย

กัญญาภัค ศกุนตนาค (2564,99-100)


กระบวนการจัดการเรี ยนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย มีดงั นี ้
1. ด้ านการจัดทำแผนการเรี ยนรู้ ผู้บริ หาร หรื อผู้มีสว่ นเกี่ยวข้ อง ควรจัดอบรมสร้ าง ความรู้ ความเข้ าใจเกี่ยวกบการใช้
หลักสูตรรวมถึงการประเมินผลการจัดกิจกรรมแต่ละกิจกรรม การจัดแผนการเรี ยนรู้เป็ นไปในทิศทางเดียวกนระบุ
กระบวนการสอนที่สง่ เสริ มทักษะกระบวนการคิด เหมาะสมกับวัย ตอบสนองการเรี ยนรู้ของเด็กให้ ได้ มากที่สดุ ระยะเวลา
ควรมีการยืดหยุ่นตามสถานการณ์แต่ละวัน
2. ด้ านการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ ครู ควรจัดกิจกรรมที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสำคัญเพื่อให้ เด็ก เกิดทักษะการเรี ยนรู้ มากที่สด

กิจกรรมที่จดั ขึ ้นเด็กสามารถทำได้ จริ ง ลงมือปฏิบตั ิ ลงมือ ทำด้ วยตนเอง ผู้บริ หารควรสนับสนุนด้ านงบประมาณที่จะนำ
มาผลิตสื่อการเรี ยนการสอน มีทงสืั ้ ่อที่ เป็ นธรรมชาติ สื่อดึงดูดความสนใจ กิจกรรมแต่ละกิจกรรมมีสื่อเพียงพอแล้ วการ
ดำเนินกิจกรรมก็เป็ นไปตามเป้าหมายที่วางไว้
3. ด้ านการจัดสื่อและนวัตกรรมประกอบการจัดกิจกรรม ผู้บริ หารควรให้ การสนับสนุนจัดสรรงบประมาณในการจัดทำสื่อ
และนวัตกรรมให้ กบครูเพื่อให้ เกิดความทันสมัย กระตุ้นความสนใจในการเรี ยนรู้ของเด็ก และควรจัดหาสื่อและนำสื่อจาก
ธรรมชาติมาประยุกต์ใช้ ตามความเหมาะสมของกิจกรรมที่จดั ขึ ้น
4. ด้ านการวัดและประเมินผลการจัดกิจกรรม พบว่า การวัดและการประเมินผลการจัด กิจกรรม ครู ผ้ สู อนต้ องออกแบบ
เครื่ องมือเกณฑ์การประเมินที่หลากหลาย และเป็ นเครื่ องมือที่ ประเมินเป็ นมาตรฐานได้ รับการยอมรับจากผู้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้ านกิจกรรมที่จดั ควรจัดให้ เหมาะสม กับพัฒนาการของเด็กแต่ละคน ใช้ เครื่ องมือการวัดและประเมินผลอย่าง
หลากหลาย เพื่อพัฒนาศักยภาพเด็กแต่ละคนให้ มีพฒ ั นาการที่ดียิ่งขึ ้น เด็กแต่ละคนมีพฒ
ั นาการและทักษะการเรี ยนรู้ที่
แตกต่างกนครูผ้ สู อนต้ องใช้ จิตวิทยาในการสอนสร้ างแรงจูงใจ กิจกรรมที่จดั ควรกระตุ้นให้ เกิดความสนใจ อยากลงมือ
ปฏิบตั ิ การเรี ยนรู้ผ่านการเล่นที่สอดคล้ องกับกิจกรรมที่จะวัดและประเมินผล ส่งเสริ มการเสริ มแรงที่หลากหลายเหมาะสม
กับวัย
5. ด้ านการวัดและประเมินผลการจัดกิจกรรม ควรมีการติดตามผลอย่างต่อเนื่องเป็ น ประจำสม่ำเสมอและทุกกิจกรรม ซึง่
การจัดกิจกรรมควรจัดจากง่ายไปหายากโดยดำเนินการเลือก ปั ญหาที่พบบ่อยๆ มาปรับใช้ ดำเนินการแก้ ไขกิจกรรมก่อน
นอกจากนันครู
้ ต้องปรับกิจกรรมที่ เหมาะสมกับวัยของเด็กแต่ละคน เพื่อให้ ผลการดำเนินการตรงตามวัตถุประสงค์ที่ตงไว้ ั้
6. ด้ านการนำผลการจัดกิจกรรมไปปรับปรุ ง การได้ รับความร่ วมมือจากทุกฝ่ ายจาก การมีสว่ นร่ วมในการวางแผน แกไข
และปรับปรุง ครูต้องดำเนินการประเมินให้ ตรงกับจุดประสงค์ และวัตถุประสงค์ที่ตงไว้ ั ้ ทกุ กิจกรรม ซึง่ จะทำให้ ครูประสบผล
สำเร็จที่จะส่งเสริ มพัฒนาการที่ตรง ประเด็น ตรงจุดหมายที่วางไว้ เพื่อเสริ มสร้ างจุดเด่นและพัฒนาจุดด้ อยของเด็กไป
พร้ อม ๆ กัน

ผู้บริ หารให้ ความสำคัญต่อการจัดการการเรี ยนรู้ เพื่อพัฒนาทักษะการเรี ยนรู้ด้าน เชาวน์ ปั ญญาของเด็กปฐมวัย


เป็ นอยางมาก โดยเริ่ มจากการพัฒนาเด็กปฐมวัยแบบองค์รวมบนพื ้นฐานการ อบรมเลี ้ยงดู การให้ ความรักความเอื ้ออาทร
และความเข้ าใจเพื่อสร้ างรากฐานคุณภาพชีวิตให้ เด็กได้ พัฒนาไปสูค่ วามเป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เด็กจะมีทกั ษะทางเชาวน์
ปั ญญาที่ดีก็ตอ่ เมื่อได้ รับการพัฒนา ทางความคิดอยางอิสระ โดยการเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ ความต้ องการของ
ตนเอง ผ่านการจัดกิจกรรมทัง้ 6 กิจกรรม ซึง่ ได้ แก่ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมสร้ างสรรค์ กิจกรรมเสรี
กิจกรรมเสริ มประสบการณ์ กิจกรรมกลางแจ้ ง และกิจกรรมเกมการศึกษาของครูที่จดั เตรี ยม อุปกรณ์ สื่อ รวมถึงการสร้ าง
สถานการณ์การเรี ยนรู้ให้ กบั เด็กทังภายในและนอกห้
้ องเรี ยน การจัด สถานการณ์ตา่ ง ๆ ควรมีความแปลกใหม่สง่ เสริ ม
ทักษะด้ านการสังเกต การคิดหาเหตุผล การค้ นหาคำตอบด้ วยตนเองอย่างเป็ นเหตุเป็ นผล โดยทุกๆ กิจกรรมครู ต้ องเปิ ด
โอกาสให้ เด็กได้ แสดง ศักยภาพของตนเองอยางเต็มศักยภาพทังการทำงานเดี
้ ่ยวและทำงานกลุม่ และนอกจากนันครู ้
จัดการ เรี ยนรู้ที่อยูภายใต้ การปลูกฝั งคุณธรรม จริ ยธรรม ที่จะส่งเสริ มพัฒนาการการเรี ยนรู้เหมาะสมครบทุกด้ าน นอกจาก
การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ ที่สง่ เสริ มพัฒนาการด้ านเชาวน์ปัญญาให้ เด็กได้ รับการพัฒนาไปในทิศทางที่ควรจะเป็ นและ
เหมาะสมกบวัยแล้ วนัน้ บทบาทของครูที่จะมีสว่ น ช่วยให้ ผลการพัฒนาการของเด็กมีประสิทธิภาพมากขึ ้นนัน้ ครูควรเปิ ด
โอกาสในการคิด การลงมือทำที่หลากหลาย การให้ เวลาในการค้ นหาคำตอบกับเด็ก เพราะเด็กมีการเรี ยนรู้ และการรับรู้ที่
แตกต่างกัน ครูอย่าด่วนสรุปหรื อแสดงความคิดเห็นด้ วยตัวของครูเองทังหมด ้ และนอกจากนี ้การ สร้ างรู้ความเข้ าใจให้ กบั
ผู้ปกครองที่ม่งุ เน้ นพัฒนาการด้ านสติปัญญา ด้ านความจำ มากกว่าการ ส่งเสริ มด้ านเชาวน์ปัญญา ในการพัฒนาเด็กไปสู่
ความเป็ นมนุษย์ที่ดีมีคณ ุ ภาพต่อสังคม และ ประเทศชาติตอ่ ไป

3.2 การบริ หารการจัดการเรี ยนรู้ ผู้บริ หารต้ องมีบทบาทที่ทำให้ สถานศึกษาของตนเป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู้ ซึง่ มีแนว
ดำเนินการดังนี ้
1. กำหนดยุทธศาสตร์ ผู้บริ หารจำเป็ นต้ องแสดงจุดยืนของตนเองอย่างชัดเจนว่า ตนมุ่งมัน
่ ผูกพันต่อการ
เปลี่ยนแปลงอย่างจริ งจังและดำเนินการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
2. ออกแบบโครงสร้ างใหม่ขององค์การ เนื่องจากโครงสร้ างอย่างเป็ นทางการแบบเก่าเป็ นอุปสรรคขัดขวางต่อ
การเรี ยนรู้อย่างยิ่ง จึงควรแก้ ไขให้ โครงสร้ างเป็ นแบบแนวราบ ซึง่ ลดระดับสายการบังคับบัญชาให้ เหลือน้ อยลง พยายาม
หลอมรวมแผนกต่างๆที่มีภารกิจใกล้ เคียงกันเข้ าด้ วยกัน เพื่อการใช้ ทีมงานแบบไขว้ หน้ าที่มากขึ ้น ส่งเสริ มการทำงานที่ต้อง
พึง่ พาระหว่างกันมากขึ ้น และขจัดพรมแดนระหว่างบุคคลให้ น้อยลง
3. การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์การ เนื่องจากคุณสมบัติที่ส ำคัญขององค์การแห่งการเรี ยนรู้ คือ มีความกล้ า
เสี่ยง ความเปิ ดเผย และความก้ าวหน้ า ดังนันผู
้ ้ บริ หารจึงต้ องกำหนดท่าที ทังคำพู
้ ด การกระทำไปในลักษณะดังกล่าวจน
ฝั งรากลึกกลายเป็ นวัฒนธรรมองค์การ ผู้บริ หารต้ องแสดงออกให้ เห็นถึงความเป็ นคนกล้ าเสี่ยง และยอมรับว่าการผิด
พลาดเป็ นเรื่ องธรรมดา ยอมให้ ผลตอบแทนแก่คนที่กล้ าฉกฉวยโอกาสที่จะเป็ นประโยชน์แก่งานส่วนรวม แม้ จะต้ องพบ
ความผิดพลาดบ้ างก็ตาม ผู้บริ หารจำเป็ นต้ องกระตุ้นให้ เกิดความขัดแย้ งที่เกี่ยวกับงาน เพื่อให้ ทกุ ฝ่ ายได้ เรี ยนรู้ร่วมกันใน
การหาคำตอบที่ดีที่สดุ แก่องค์การ

You might also like