You are on page 1of 97

117

บทที่ 4
ผลการวิจัย

การวิจัยเรื่อง การพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถใน


การสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้ องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู
ผู้วิจัยขอนาเสนอผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย ดังนี้
ผลการวิ จั ย ระยะที่ 1 ผลการศึ ก ษาข้ อ มู ล พื้ นฐานเกี่ ย วกั บ หลั ก สู ต รกิ จ กรรมการคิ ด
สร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้ องถิ่น ของ
นักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู
1) ผลการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์
เพื่ อ ส่ ง เสริ มความสามารถในการสร้ า งนวั ต กรรมที่บู รณาการภูมิ ปัญญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ยน
มัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู
2) ผลการสัมภาษณ์ผ้ ูมีส่วนเกี่ยวข้ องในการพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์
เพื่ อ ส่ ง เสริ มความสามารถในการสร้ า งนวั ต กรรมที่บู รณาการภูมิ ปัญญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ยน
มัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู
ผลการวิ จั ย ระยะที่ 2 ผลการสร้ า งหลั ก สู ต รกิ จ กรรมการคิ ด สร้ า งสรรค์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม
ความสามารถในการสร้ างนวัต กรรมที่บูร ณาการภูมิ ปัญญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ย นมั ธ ยมศึกษา
จังหวัดหนองบัวลาภู
1) ผลการยกร่ างและตรวจสอบร่ างหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่ อส่ง เสริ ม
ความสามารถในการสร้ างนวัต กรรมที่บูร ณาการภูมิ ปัญญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ย นมั ธ ยมศึกษา
จังหวัดหนองบัวลาภู
2) ผลการทดลองใช้ หลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถใน
การสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู
3) ผลการปรั บ ปรุ ง และแก้ ไ ขหลั ก สู ต รกิ จ กรรมการคิ ด สร้ า งสรรค์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม
ความสามารถในการสร้ างนวัต กรรมที่บูร ณาการภูมิ ปัญญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ย นมั ธ ยมศึกษา
จังหวัดหนองบัวลาภู
ผลการวิ จั ย ระยะที่ 3 ผลการใช้ หลั ก สู ต รกิ จ กรรมการคิ ด สร้ างสรรค์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม
ความสามารถในการสร้ างนวัต กรรมที่บูร ณาการภูมิ ปัญญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ย นมั ธ ยมศึกษา
จังหวัดหนองบัวลาภู
118

1. ผลการวิ จั ย ระยะที่ 1 ผลการศึ ก ษาข้อ มู ล พื้ นฐานเกี่ ย วกับ หลัก สู ต รกิ จ กรรมการคิ ด
สร้างสรรค์เพือ่ ส่งเสริมความสามารถในการสร้างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิน่ ของ
นักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู
1.1 ผลการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์
เพื่ อ ส่ ง เสริ มความสามารถในการสร้ า งนวั ต กรรมที่บู รณาการภูมิ ปัญญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ยน
มัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู เป็ นขั้นตอนที่ผ้ ูวิจัยศึกษารวบรวมข้ อมูล แนวคิด ทฤษฎี และ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง เพื่อนาข้ อมูลมาวิเคราะห์เอกสาร (Document Analysis) เมื่อได้ ข้อมูลจากการ
วิ เ คราะห์ ต ามประเด็น หลัก ๆ ที่เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การพัฒ นาหลัก สูต ร แล้ ว จึ ง น ามาก าหนดกรอบ
ประเด็นเพื่อยกร่างหลักสูตร ซึ่ งในขั้นตอนนี้ผ้ ูวิจัยได้ นาเสนอภาพรวมให้ เห็นถึงข้ อมูลที่เกี่ยวข้ อง
จากการสังเคราะห์เอกสาร ดังรายละเอียดต่อไปนี้
จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้ อมูล พื้นฐานเกี่ยวกับหลักสูตรแกนกลางการศึก ษาขั้ น
พื้นฐานพุทธศักราช 2551 พบว่า การจัดทาหลักสูตรในสถานศึกษาสามารถกาหนดในส่ว นของ
รายวิชาเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้ องกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้ องถิ่น ความต้ องการ
ของผู้เรียน ให้ สอดคล้ องกับจุ ดเน้ นและวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา (สานักวิชาการและมาตรฐาน
การศึกษา, 2553) หรือกิจกรรมเสริมที่ผ้ ูเรียนสนใจในรูปแบบของกิจกรรมชุมนุม ซึ่งเปิ ดโอกาส
ให้ ผ้ ูเรียนที่สนใจเลือกลงทะเบียนเรียนโดยไม่ บังคับ และจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่ างอิส ระใน
เนื้อหาสาระ ไม่จาเป็ นต้ องเป็ นเนื้อหาตามสาระวิชาทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ แต่เป็ นส่วนหนึ่งของ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามกรอบของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ในอั ต ราส่ ว น 70:30 (วิ ช าพื้ นฐาน : วิ ช าเพิ่ ม เติ ม ) ทั้ ง นี้ ขึ้ นอยู่ กั บ บริ บ ทและวิ สั ย ทั ศ น์ ข อง
สถานศึ ก ษาแต่ ล ะแห่ ง (ส านั ก วิ ช าการและมาตรฐานการศึ ก ษา, 2553) ซึ่ ง ถื อ ได้ ว่ า เป็ นการ
ตอบสนองกั บ นโยบายการขั บ เคลื่ อ นประเทศเข้ า สู่ ยุ ค ไทยแลนด์ 4.0 ที่มุ่ ง พั ฒ นาคนให้ เ กิ ด
สมรรถนะทางด้ านความคิดสร้ างสรรค์และจะเป็ นพลังขับเคลื่อนด้ านการศึกษาให้ ประเทศไทยก้ าว
ทันโลกอย่างเท่าเทียม นอกจากนั้นยังเป็ นการส่งเสริมให้ ผ้ ูเรียนได้ พัฒนาตนเองให้ สามารถเกิดการ
เรียนรู้ข้ันสูงสุดตามแนวคิดของ Bloom คือ การคิดสร้ างสรรค์อีกด้ วย ซึ่งการพัฒนาหรือส่งเสริม
ให้ นักเรียนมีคุณสมบัติหรือสมรรถนะตรงตามเป้ าหมายของแผนการศึกษาชาติน้นั จาเป็ นอย่างยิ่งที่
จะต้ อ งใช้ ห ลั ก สู ต รเป็ นเครื่ อ งมื อ ส าคั ญ ในการขั บ เคลื่ อ นกระบวนการ เรี ย นรู้ ใ ห้ บ รรลุ ต าม
วัตถุประสงค์ ดังนั้นการปรับปรุงหลักสูตรจากที่มีอยู่เดิมให้ ดีข้ ึนหรือการสร้ างและจัดทาหลักสูตร
ขึ้นมาใหม่ จากที่ไม่ เคยมีหลักสูตรนั้นๆ มาก่อน เป็ นการแก้ ปัญหาหรือการส่งเสริมให้ ผ้ ูเรียนมี
คุณลักษณะหรือให้ เป็ นไปตามจุ ดมุ่งหมายที่กาหนด ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยมุ่งพัฒนาหลักสูตร
กิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์ ซึ่งเป็ นหลักสูตรที่ไม่ มีมาก่ อน เป็ นการพัฒนาหลักสูตรขึ้นมาใหม่
(Curriculum Making) และนาไปบรรจุ ในโครงสร้ างหลั กสู ตรสถานศึ กษาในส่ วนของกิจ กรรม
พั ฒ นาผู้ เ รี ย น โดยเฉพาะชั่ ว โมงกิ จ กรรมชุ ม นุ ม และกิ จ กรรมลดเวลาเรี ย น เพิ่ ม เวลารู้ ตาม
แนวนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ทั้งนี้อาศัยกระบวนการและขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตร
119

ซึ่งเริ่มจากการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ ยวข้ องกับการจัดการศึกษา การกาหนดจุดมุ่งหมายของ


หลั ก สู ต ร การคั ด เลื อ กเนื้ อ หาสาระ มวลประสบการณ์ การจั ด ล าดั บ การก าหนดแนวทางการ
ประเมิ น ผล การทดลองใช้ การน าหลั ก สู ต รไปใช้ และการปรั บ ปรุ ง เพื่ อ ให้ เหมาะสมกั บ
สภาพแวดล้ อม สภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปและตอบสนองความต้ องการของผู้ เรียน โดยใช้
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของสงัด อุทรานันท์ (2532) มีข้นั ตอนการพัฒนา 7 ขั้นตอน เป็ นหลัก
ในการพัฒนาหลักสูตรภายใต้ การวิจัยในครั้งนี้ ทั้งนี้รูปแบบดังกล่ าวมีจุดเด่ นที่กระบวนการใน
การศึกษาข้ อมูลพื้นฐาน ความเหมาะสมแนวโน้ ม ทิศทางของหลักสูตร ตามบริบทที่เ ริ่มต้ น จาก
ระดั บ ชั้ น เรี ย น โดยมี ค รู ผ้ ู ส อนซึ่ ง เป็ นผู้ ท่ีมี ค วามใกล้ ชิด กั บ ผู้ เ รี ย นและเป็ นผู้ ท่ีจ ะน าหลัก สูตร
ดังกล่าวไปใช้ ในระดับชั้นเรียน ซึ่งสอดคล้ องกับแนวคิดของ Taba (1962), Oliva (1982) ที่ให้
ความสาคัญกับการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานก่อนการร่างหลักสูตร ซึ่งการพัฒ นาดังกล่าวมีลักษณะ
จากล่างขึ้นบน (Grass Roots Approach) โดย Taba เสนอแนวคิดไว้ ว่า หลักสูตรควรมาจากการมี
ส่วนร่วมของครูผ้ ูสอนมากกว่าผู้บริหารระดับสูง นอกจากนั้นการพัฒนาหลักสูตรตามรูปแบบของ
สงัด อุทรานันท์ ยังมีจุดเด่ นในเรื่องของการคัดเลือกเนื้อหาที่เป็ นอิส ระจากผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย
(Stakeholders) และยังมีข้ันตอนของการตรวจสอบความเหมาะสมของหลักสูตร การนาหลักสูตร
ไปทดลองใช้ ในสถานศึกษาจริง ก่อนที่จะปรับปรุงให้ หลักสูตรมีความสมบูรณ์และนาออกสู่ ก าร
ปฏิบัติจริงและการเผยแพร่เป็ นลาดับต่อไป
นอกจากนั้นแล้ วผู้วิจัยได้ ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการความคิดสร้ างสรรค์ พบว่า
ความคิ ด สร้ า งสรรค์ มี ใ นทุ ก เพศทุ ก วั ย มี ม ากหรื อ น้ อ ยก็ข้ ึ นอยู่ กั บ ปั จ จั ย หลายๆ อย่ า ง เช่ น
พันธุกรรม การเลี้ยงดู การอบรมสั่งสอนและสภาพแวดล้ อม ซึ่งพัฒนาการความคิดสร้ างสรรค์
สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ในแต่ ละช่ ว งวั ยความคิด สร้ างสรรค์ จ ะมีม ากในช่ ว งอายุ ข องระดั บชั้น
ประถมศึกษาและจะเริ่มลดลงเมื่ออายุเพิ่มขึ้น แต่อย่างไรก็ตามความคิดสร้ างสรรค์สามารถพัฒนา
ให้ สูงขึ้นได้ จากการส่ง เสริ มและช่ วยเหลือ จากผู้ใ หญ่ โดยในช่ วงนี้ผ้ ูใ หญ่ ค วรจัด หากิ จ กรรมที่
ส่ ง เสริ ม ความคิ ด แก่ เ ยาวชนด้ ว ยการจั ด กิ จ กรรมที่ ส่ ง เสริ ม ทั ก ษะและความสนใจเกี่ ย วกั บ
สุนทรียภาพ ควรได้ รับการส่งเสริม ตลอดจนส่งเสริมเยาวชนให้ ร่วมมือกันทางานมากกว่าการให้ มี
การแข่งขันวัยนี้สามารถแก้ ปัญหาซึ่งต้ องใช้ การประยุกต์ในสิ่งที่ได้ เรียนไปแล้ วมาแก้ ปัญหาได้ อย่ าง
สร้ างสรรค์ (อารี พันธ์มณี, 2547) จากเหตุผลดังกล่าวผู้ วิจัยได้ นามาเป็ นแนวคิดในการพัฒ นา
หลักสูตรที่ส่งเสริมให้ เกิดความคิดสร้ างสรรค์กับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา และเพื่อสนองต่ อแนว
ทางการจัดการศึกษาโดยเน้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ ทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณา
การตามความเหมาะสม ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พุทธศักราช 2542 และแก้ ไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ที่ให้ สถานศึกษาดาเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ ผ้ ูเรียนได้
ฝึ กกระบวนการคิดและยึดหลักให้ คิดเป็ น ทาเป็ น แก้ ไขปัญหาได้ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2553)
และเพื่อสนองต่อจุดเน้ นของกระทรวงศึกษาธิการ ที่ได้ กาหนดให้ มีการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษ
ที่ ส อง (พ.ศ. 2552 – 2561) ที่ ต้ อ งการเน้ นให้ พั ฒ นาความคิ ด สร้ างสรรค์ ใ นนั ก เรี ย น
120

ชั้นมัธยมศึกษาเป็ นพิเศษ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2552) โดยมุ่งเน้ นไปที่


นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา มีอายุระหว่าง 13 – 18 ปี เป็ นวัยที่เด็กมีความสามารถในการคิ ด
เป็ นนามธรรม (Formal Operation) ซึ่งสอดคล้ องกับ แนวคิดของ Piaget (สุรางค์ โค้ วตระกูล ,
2554) และจากการศึกษาและสังเคราะห์แนวการส่งเสริมความคิดสร้ างสรรค์ในสถานศึก ษานั้ น
พบว่า มีวิธีการที่หลากหลาย โดยเริ่มจากการพัฒนาบุคลากรให้ มีความรู้ความเข้ าใจเกี่ยวกับการ
พั ฒ นาความคิ ด สร้ า งสรรค์ โ ดยใช้ รู ป แบบการเรี ย นรู้ และสื่ อ ที่เ หมาะสม สามารถบู ร ณาการ
ตลอดจนใช้ การวิจัยเพื่อพัฒนาเป็ นเครื่องมือช่วยในการเพิ่มขีดความสามารถของนักเรียนในการ
คิดสร้ างสรรค์ นอกจากนั้นการจัดบรรยากาศในชั้นเรียนหรือเปิ ดกิจกรรมนอกชั้นเรียนที่ส่งเสริม
ความคิดสร้ างสรรค์ ก็เป็ นสิ่งจาเป็ นที่สถานศึกษาจะต้ องให้ ความสาคัญและสนับสนุ น ซึ่งในการ
วิจัยครั้งนี้ผ้ ูวิจัยได้ ให้ ความสาคัญกับการจัดกิจกรรมเสริมทักษะการคิดสร้ างสรรค์ โดยเป็ นการ
ส่งเสริมการคิดผ่านกิจกรรมนอกชั้นเรียน โดยแทรกในกิจกรรมชุมนุม นับได้ ว่าเป็ นความยืดหยุ่น
ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่เปิ ดโอกาสให้ สถานศึกษาได้ จัด
กิจกรรมเสริมหรือวิชาเพิ่มเติม นอกเหนือจากรายวิชาแกนกลางที่หลักสูตรกาหนด ซึ่งจะทาให้
ผู้ เ รี ย นที่ ผ่ า นกระบวนการเรียนรู้ นอกชั้ น เรียนดั ง กล่ า วได้ เ พิ่ม ประสบการณ์ แ ละทัก ษะการคิด
สร้ างสรรค์มากยิ่งขึ้น นอกจากนั้น การพัฒนาหลั กสูตรกิ จกรรมการคิดสร้ างสรรค์ เพื่อส่ง เสริ ม
ความสามารถในการสร้ างนวัต กรรมที่บูร ณาการภูมิ ปัญญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ย นมั ธ ยมศึกษา
จังหวัดหนองบัวล าภู โดยยึดตามรูปแบบหลักสูตรที่เอื้อต่ อการส่งเสริมความคิดสร้ างสรรค์ข อง
ผู้เรียน (Experiential Curriculum) โดยจัดให้ ผ้ ูเรียนได้ ลงมือเรียนรู้ผ่านกิจกรรม เพื่อให้ ผ้ ูเรียน
คิดเป็ น ทาเป็ น แก้ ปัญหาเป็ น และหลักสูตรมีความยืดหยุ่น (Flexibility Curriculum) ผู้เรียนมี
อิสระในการทางาน เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูเรียนได้ คิดอย่างกระตืนรือร้ น ลงมือค้ นคว้ าด้ วยตนเอง โดย
คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ซึ่งผู้ท่สี นใจเรียนในหลักสูตรดังกล่าวจะลงทะเบียนเรียนด้ วย
ความสมัครใจ และจัดในชั่วโมงกิจกรรมชุมนุ ม โดยไม่ มีการประเมินผลเป็ นระดับผลการเรียน
มีเพียงแค่การประเมินผ่านและไม่ผ่านกิจกรรม ซึ่งเงื่อนไขเหล่านี้จะมีส่วนส่งเสริมให้ ผ้ ูเรียนมีส่วน
ร่วมในการประเมินโดยการประเมินจากทักษะการคิดสร้ างสรรค์ และเกิดกระบวนการเรียนรู้ท่จี ะ
กากับตนเอง (Self - Directing) ผู้วิจัยได้ ศึกษาและเลือกใช้ วิธีการวัดทักษะการคิดสร้ างสรรค์โ ดย
คานึงถึงบริบท ระดับพัฒนาการและวัยของเด็ก เช่ น การเขียนตอบ ควรใช้ กับเด็กมัธยมศึกษา
มากกว่าเด็กประถมศึกษา เป็ นต้ น แต่หลักการในการวัดความคิดสร้ างสรรค์ท่ดี ีคือครูต้องกาหนด
สิ่ ง เร้ า หรื อ ภาระงานที่ใ ห้ เ ด็ก ได้ แ สดงความคิ ด สร้ า งสรรค์ อ อกมาในรู ป ของพฤติ ก รรมหรื อ
นวัตกรรม และในการวิจัยครั้ ง นี้ เลื อกแบบทดสอบความคิดสร้ า งสรรค์ The Test for Creative
Thinking Drawing Production (TCT – DP) สร้ า งขึ้ นโดย Jellen and Urban (2005) ที่ ใ ช้ วั ด
ความสามารถในการคิดสร้ างสรรค์หลังการใช้ หลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริม
ความสามารถในการสร้ างนวัต กรรมที่บูร ณาการภูมิ ปัญญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ย นมั ธ ยมศึกษา
จังหวัดหนองบัวลาภู ที่ผ้ วู ิจัยสร้ างขึ้นเพื่อให้ แสดงออกถึงการหาคาตอบที่แปลกใหม่ไม่ซา้ แบบใคร
121

และมีคุณค่าให้ ได้ หลายๆ คาตอบหรือสามารถคิดได้ หลายๆ ทาง (Divergent Thinking) โดยการ


วาดภาพขึ้นในขอบเขตของช่วงเวลาที่กาหนดให้ และมีเกณฑ์สาหรับยึดถือเป็ นหลักในการประเมิน
คุณค่าความคิดสร้ างสรรค์ จากภาพวาด ซึ่งเหมาะสมกับผู้ทดสอบที่มีช่วงการศึกษาในระดั บชั้ น
มัธยมศึกษาที่สามารถสื่อสารและแสดงความคิดด้ วยการเขียนหรือการวาดภาพในเงื่อนไขที่กาหนด
อีกทั้งแบบทดสอบดังกล่ าวมีเกณฑ์ในการตรวจสอบและแปลผลค่ าคะแนนเฉลี่ยของความคิ ด
สร้ างสรรค์ ซึ่งมีความน่าเชื่อถือได้
จากการสังเคราะห์แนวคิดทฤษฎีการสร้ างความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) พบว่า
การเรียนรู้ของผู้เรียนเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้ มีโ อกาสรับข้ อมูลประสบการณ์ใหม่ๆ และนามาใช้ ใน
การคิ ด กลั่ น กรองข้ อ มู ล ท าความเข้ า ใจข้ อ มู ล เชื่ อ มโยงความรู้ใ หม่ กั บความรู้เ ดิ ม และสร้ าง
ความหมายข้ อมูลความรู้ด้วยตนเอง จะเห็นได้ ว่า ครูมีบทบาทที่ส าคัญในการจัดให้ ผ้ ูเรียนได้ มี
โอกาสรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตนเองโดยการมีป ฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้ อม เช่น บุคคลอื่นๆ
เหตุการณ์ในชีวิตประจาวัน หรือปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นที่ผ้ ูเรียนจะต้ องมีส่วนร่วมในการสร้ างการ
เรียนรู้ท่ีเกิดขึ้นจากสิ่งแวดล้ อมต่ างๆ โดยครูมีหน้ าที่จัดการเรียนการสอนที่ตอบสนองต่ อ การ
เรียนรู้ของผู้เรียน ตามแนวคิดทฤษฎีการสร้ างความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) ในการให้
ผู้เรียนได้ มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้ อมซึ่งช่วยให้ ผ้ ูเรียนเกิดกระบวนการคิด ไตร่ตรอง และมุ่งหา
คาอธิบาย การเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูเรียนได้ สร้ างความรู้ด้วยตนเองนี้จะประสบผลสาเร็จได้ มากน้ อย
เพียงใด มักขึ้นอยู่กับบทบาทของครู ครูจาเป็ นต้ องปรับเปลี่ยนบทบาทของตนเองให้ สอดคล้ องกับ
แนวคิด ครูจะต้ องทาหน้ าที่อานวยความสะดวกในการเรียนรู้ให้ แก่ผ้ ูเรียน ให้ คาปรึกษาชี้แนะแก่
ผู้เรียน เกื้อหนุนการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็ นสาคัญ ในด้ านการประเมินผลการเรียนรู้น้นั จาเป็ นต้ อง
มีการประเมินผลทั้งทางด้ านนวัตกรรม และกระบวนการสร้ างนวัตกรรม ซึ่งสามารถใช้ วิธีการที่
หลากหลาย เช่ น การประเมินตนเอง การประเมินโดยครูและเพื่อน การสังเกตการณ์ และการ
ประเมินผลโดยใช้ แฟ้ มนวัตกรรมเป็ นต้ น
นอกจากประเด็นดังกล่ าวข้ างต้ น ผลจากการสังเคราะห์เอกสารที่เกี่ยวข้ องยังพบว่า
กระทรวงศึกษาธิการ กรมวิชาการ (2553) ได้ กาหนดแนวทางการนาหลักสูตรไปใช้ ให้ สอดคล้ อง
กับท้ องถิ่น ตลอดจนการจัดการเรียนการสอน คือ โรงเรียนจะต้ องทาใจให้ กว้ างและยอมรับ ฟั ง
ความคิดเห็นของชุมชนเพื่อเป็ น พื้นฐานในการจัดการศึกษา การจัดกิจกรรมที่โรงเรียนมอบหมาย
ให้ นักเรียนทาจะต้ อ งสอดคล้ องกับ แผนการผลิ ตของชุ มชน ผู้ปกครอง ครู และชุมชนจะต้ อ ง
ร่วมมือและประสานใจกันมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันระหว่างโรงเรียนกับชุมชน จะช่วยทาให้
มองเห็นภาพของหลักสูตรและการนาหลักสูตรไปใช้ ให้ สอดคล้ องกับสภาพและความต้ องการของ
ท้ องถิ่นชัดเจนขึ้น จัดให้ มีเครือข่ายในแต่ ละกลุ่มในการแสวงหาการเรียนรู้ร่วมกัน มีหน่ วยงาน
ต่างๆ เข้ ารับผิดชอบการดาเนินงานของตนและแก้ ปัญหาร่วมกัน ควรมีการจัดทาแผนการสอนที่
สอดคล้ องกับเรื่องของท้ องถิ่น ระหว่างบุคลากรในการนาภูมิปัญญาท้ องถิ่นเข้ า สู่ระบบโรงเรียนนั้น
บางท้องถิ่นการประสานสัมพันธ์ในโรงเรียนและชุมชนยังไม่ชัดเจนดีนัก บทบาทครูผ้ สู อนควรมีการ
122

ปรั บ เปลี่ ย น โดยครู จ ะต้ อ งศึ ก ษาชุม ชน พร้ อ มทั้ง เก็บ ข้ อ มู ล จากชุ ม ชนทั้ง จากการสัง เกตและ
สอบถามชาวบ้ านผู้ร้ ูในท้ องถิ่น ตลอดจนควรนาสิ่งที่อยู่รอบๆ ตัวผู้เรียนหรือสิ่งที่เป็ นปัญหาของ
ชุมชน มากาหนดไว้ ในหลักสูตรเพื่อนาไปสู่การจัดการเรียนการสอน นอกจากนั้นยังต้ องศึกษา
ชาวบ้ าน ปราชญ์ชาวบ้ านพร้ อมทั้งศึกษาวิธีการดึงเอา สิ่งที่เป็ นศาสตร์สากลเข้ าไปผสมผสานกับ
ความรู้ภูมิปัญญาท้ องถิ่น ควรหาโอกาสเพิ่มเติมความรู้ และศึกษาวิธีการต่างๆ จากการไปเยี่ยม
โรงเรียนอื่น เพื่อนามาเป็ นแนวทางในการพัฒนาตน และพัฒนาโรงเรียนให้ ดีข้ ึน ในการจัดการ
เรียนการสอนเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็ นการเฉพาะ ครูควรดึงศักยภาพ ภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ ามาร่วมเป็ น
วิทยากร หรือเป็ นที่ปรึกษา ควรระดมบุคลากรคณะบุคคลที่เข้ าใจในการศึ ก ษา เช่ น พระสงฆ์
องค์กรท้ องถิ่น วิทยากรท้ องถิ่น ให้ เข้ ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอนเท่าที่จะทาได้ และ
ควรจัดให้ มีกระบวนการเรียนการสอนที่หลากหลาย ไม่ยึดแต่หนังสือเรียนเท่านั้น
จากผลการสั ง เคราะห์ เ อกสารข้ า งต้ น ผู้ วิ จั ย ด าเนิ น การรวบรวมประเด็น ต่ า ง ๆ ที่
เกี่ยวข้ องกับการพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ าง
นวั ต กรรมที่บู ร ณาการภูมิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษา จั ง หวั ด หนองบั ว ล าภู มา
วิเคราะห์เพื่อกาหนดกรอบประเด็นสาคัญในการยกร่ างหลักสู ตร ประกอบไปด้ วย หลักการและ
เหตุผล ปรัชญาและแนวคิดทฤษฎี จุดมุ่งหมาย โครงสร้ างหลักสูตร แนวทางการจัดการเรียนรู้ สื่อ
และแหล่งเรียนรู้ ตลอดจนแนวทางการวัดผลและประเมินผล ซึ่งจะเป็ นองค์ประกอบสาคัญของ
หลักสูตร
1.2 ผลการสัมภาษณ์ผ้ มู ีส่วนเกี่ยวข้ องในการพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อ
ส่ ง เสริ ม ความสามารถในการสร้ า งนวั ต กรรมที่ บู ร ณาการภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ย น
มั ธ ยมศึ ก ษา จั ง หวั ด หนองบั ว ล าภู โดยการสั ม ภาษณ์ กั บ ผู้ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ ง จ านวน 15 คน
ประกอบด้ วย ตัวแทนนักเรียนซึ่งเป็ นเจ้ าของนวัตกรรม จานวน 6 คน จากโรงเรียนที่มี นวัตกรรม
เป็ นเลิ ศ ครู ท่ี ป รึ ก ษานวั ต กรรม จ านวน 3 คน ผู้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษา จ านวน 3 คน และ
คณะกรรมการสถานศึกษาหรือปราชญ์ชาวบ้ าน จานวน 3 คน ผู้วิจัยดาเนินการสัมภาษณ์ด้ว ย
ตนเอง โดยมีประเด็นคาถามการสัมภาษณ์ท่ผี ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ ผลการวิเคราะห์
เนื้ อ หาการสั ม ภาษณ์ แยกประเด็น ดั ง ต่ อ ไปนี้ 1) แนวทางการส่ ง เสริ ม การคิ ด สร้ า งสรรค์ ใ น
สถานศึกษา 2) โครงสร้ างหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์ 3) การจัดการเรียนการสอนที่
ส่งเสริมการคิดสร้ างสรรค์ในสถานศึกษา 4) เนื้อหาวิชาที่ส่งเสริมการคิดสร้ างสรรค์ 5) การวัดผล
และประเมินผลความคิดสร้ างสรรค์ในสถานศึกษา 6) ปัญหาอุปสรรคในการสร้ างนวัตกรรมของ
นักเรียนระดับมัธยมศึก ษา 7) แนวทางการพัฒนาหลักสูตรกิ จกรรมการคิ ดสร้ างสรรค์ ผู้วิจั ย
นาเสนอผลการวิเคราะห์บทสัมภาษณ์โดยแยกประเด็นได้ ดังต่อไปนี้
1.2.1) การส่งเสริมการคิดสร้ างสรรค์ในสถานศึกษา พบว่า สภาพทั่วไปของหลักสูตร
กิจกรรมส่งเสริมความคิดสร้ างสรรค์ท่บี ูรณาการภูมิปัญญาท้ องถิ่นในสถานศึกษาหรือนโยบายที่
นาสู่การปฏิบัติยังไม่ชัดเจน ทั้งนี้โรงเรียนดาเนินการตามนโยบายเร่งด่วน โดยเฉพาะในช่วงที่มีการ
123

รับการประเมิ น ติด ตาม โดยผู้ทรงคุณวุ ฒิ หรื อการนิเ ทศติด ตามจากหน่ ว ยงานทางการศึ ก ษา


ภายนอก การดาเนินการส่งเสริมการคิดสร้ างสรรค์มีบางส่วนยัง ไม่ เกิดการปฏิบัติท่ีต่อเนื่อ งและ
ยั่งยืน การบูรณาการกิจกรรมการเรียนการสอนกับภูมิปัญญาท้ องถิ่น ขาดความต่อเนื่อง ในบาง
ท้องถิ่นยังไม่ปรากฏหรือนาภูมิปัญญามาร่วมบูรณการในการจัดการเรียนการสอนและนอกจากนั้น
ยังไม่พบความโดดเด่น ขาดแรงจูงใจในการส่งเสริมและพัฒนา ดังข้ อความจากการสัมภาษณ์
“...หลักสูตรกิจกรรมที่เฉพาะทาง เช่ น กิจกรรมคิดสร้ างสรรค์ กิจกรรมส่งเสริมการคิด
ไม่มีปรากฏในหลักสูตร โรงเรียนไม่มีครูเฉพาะทางที่จะสอนเรื่องนี้ ส่วนมากจะจัดการเรีย นการ
สอนตามหลักสูตรแกนกลาง หรือมีวิชาเพิ่มเติมบ้ าง แต่ ยังไม่ มีท่ีชัดเจนกับการส่งเสริม การคิด
สร้ างสรรค์...”
(ผู้บริหารสถานศึกษา คนที่ 1, 18 มิถุนายน 2562)
ดังนั้นสภาพที่ควรจะเป็ น จึง ควรมีการจัดทาหลักสูตรที่ส่งเสริมให้ เกิดทักษะการคิด
สร้ างสรรค์ท่ีมีความเฉพาะเจาะจง เป็ นกิจกรรมเสริมนอกหลักสูตรเพิ่มเติมหรือบรรจุ รายวิ ช า
เฉพาะลงในโครงสร้ างหลักสูตรของสถานศึกษา มีการนาองค์ความรู้ทางด้ านภูมิปัญญาท้ องถิ่นเข้ า
มามีส่วนร่วมเป็ นหลักในกิจกรรมนั้น ๆ และควรมีนโยบายให้ ผ้ เู รียนได้ เลือกเรียนอย่างอิสระ
1.2.2) โครงสร้ างหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการ
สร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้ องถิ่น สภาพทั่วไปพบว่ าสถานศึกษาในสังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใช้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ซึ่งมีกาหนดโครงสร้ างรายวิชาพื้นฐานที่ใช้ เป็ นแกนกลางในการจัดการศึกษา และรายวิชาเพิ่มเติมที่
สถานศึกษาเป็ นผู้ดาเนินการจัดทาโครงสร้ างรายวิชาและคาอธิบายรายวิชาที่ต้องอิงกับบริบทของ
ชุมชนและสอดคล้ องกับจุดเด่นของสถานศึกษา จากการสัมภาษณ์ผ้ ูมีส่วนเกี่ยวข้ องไม่พบกิจกรรม
การเรียนการสอนที่มีการบูรณาการกับภูมิปัญญาท้ องถิ่นโดยตรงแต่จะพบในรายวิชาของกลุ่มสาระ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ที่เน้ นการฝึ กอาชีพซึ่งเป็ นอาชีพหลักของชุมชน เช่น งานจักสาน งาน
ทอผ้ า งานประดิษฐ์ ตลอดจนงานฝี มือ ดังบทสัมภาษณ์ของผู้เกี่ยวข้ องดังนี้
“…โรงเรียนของเราอยู่ในชุมชนที่ไม่มีความโดดเด่นเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น แม้ แต่
ปราชญ์ชาวบ้ าน ก็ยังมีน้อยคนหรือไม่มีการสืบทอดฝี มือไว้ คนรุ่นใหม่ไม่สนใจ ในส่วนนี้จึงยังไม่
ปรากฏในโครงสร้ างหลักสูตรของทางโรงเรียน...”
(ผู้บริหารสถานศึกษา คนที่ 2, 18 มิถุนายน 2562)
สภาพที่ควรจะเป็ นพบว่าโรงเรียนเป็ นหน่วยงานทางการศึกษาที่มีบทบาทสาคัญในการ
ถ่ายทอดองค์ความรู้ และร่วมสืบสานภูมิปัญญาท้ องถิ่นให้ คงอยู่ ผ่านระบบการศึกษาโดยเฉพาะ
นักเรียนในปัจจุบันที่มองข้ ามและละเลยในความเป็ นท้ องถิ่น ควรมีการกาหนดให้ มีการเรียนการ
สอน และโครงสร้ างกิจกรรมที่ระบุในหลักสู ตรอย่ างชั ดเจน ตลอดจนบูรณาการทักษะการคิ ด
124

สร้ างสรรค์ การสร้ างหรือผลิตนวัตกรรมให้ สอดคล้ องกันระหว่างสิ่งที่เป็ นภูมิ ปัญญาท้ องถิ่ นและ
ค่านิยมในยุคปัจจุบัน
1.2.3) การจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริม การคิดสร้ างสรรค์ในสถานศึกษา จากการ
สัมภาษณ์กับผู้มีส่วนเกี่ยวข้ อง พบมุมมองและแนวทางที่ควรจะพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
เพื่อส่งเสริมการคิดสร้ างสรรค์ในสถานศึกษา คือ การให้ นักเรียนเป็ นผู้กระทา เป็ นผู้มีส่วนร่ ว ม
มี ก ารใช้ ส่ื อ การเรี ยนการสอนต่ า ง ๆ เพื่ อ ให้ ผ้ ู เ รี ย นเกิ ด การเรี ย นรู้แ ละฝึ กทัก ษะการคิ ด อย่ าง
ต่อเนื่องและสม่าเสมอ เปิ ดโอกาสให้ ผ้ เู รียนได้ มีการซักถาม โต้ ตอบ ลงมือปฏิบัติ ให้ สอดคล้ องกับ
วั ต ถุ ป ระสงค์ ท่ีต้ั ง เอาไว้ โดยครู ผ้ ู ส อนต้ อ งค านึ ง ถึ ง ประสบการณ์ ข องผู้ เ รี ย น ดั ง ค ากล่ า วของ
ครูผ้ สู อนที่ให้ สัมภาษณ์ ดังนี้
“... นักเรียนแต่ละคนจะมีประสบการณ์เดิมที่ต่างกัน การให้ ความรู้หรือทากิจกรรมแต่ละ
ครั้ง จะมีนักเรียนบางส่วนเรียนไม่ทนั เพื่อนหรือไม่เข้ าใจในกิจกรรมที่ครูกาหนด จาเป็ นต้ องมาช่วย
อธิบายซา้ หรือทาความเข้ าใจอีกรอบ...”
(ครูผ้ สู อน คนที่ 2, 14 มิถุนายน 2562)
นอกจากนี้การที่จะส่งเสริมให้ นัก เรียนได้ ปฏิบัติ จริงและเกิด ทักษะการใช้ เครื่ อ งมื อ
โรงเรียนจาเป็ นต้ องให้ การสนับสนุน จัดหาสื่อ วัสดุอุปกรณ์และบุคลากร สถานที่ในชุมชน แหล่ง
เรียนรู้ เข้ ามากาหนดเป็ นกิจกรรมที่เป็ นรูปธรรม เพื่อให้ การเรียนรู้ เชื่อมโยงกับชุมชน ส่งผลต่อ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน ซึ่งสอดล้ องกับคาพูดของผู้ให้ ข้อมูล ดังนี้
“... ในบางครั้งต้ องพานักเรียนไปดูส ถานที่จริงและเรียนรู้ กับปราชญ์ชาวบ้ าน เพื่อให้
นักเรียนได้ สัมผัสกับภูมิปัญญาท้ องถิ่น หรือตัวบุคคล ซึ่งจะทาให้ นักเรียนเกิด แนวคิด ที่จ ะต่ อ
ยอดจากสิ่งที่พบเห็น ... ”
(ผู้บริหารสถานศึกษา คนที่ 3, 18 มิถุนายน 2562)
นอกจากการจั ด กิจ กรรมการเรีย นการสอนแล้ ว การฝึ กฝนให้ นั ก เรีย นได้ ฝึ กคิ ด ซึ่ ง
อาจจะทาได้ โดยการตั้งคาถาม เพื่อนาไปสู่การคิด สร้ างสรรค์และนาไปสู่การผลิตนวัตกรรม ครูยัง
ต้ องให้ เวลากับนักเรียน ค่อยคิดค่อยฝึ ก รอคอยคาตอบ ไม่ด่วนสรุปหรือตัดสินใจแทนนัก เรีย น
เปิ ดโอกาสให้ นักเรียนได้ คิดสอดคล้ องกับเหตุผลที่ว่าการคิดจาเป็ นต้ องใช้ เวลาและการฝึ กฝน ดัง
จะเห็นได้ จากข้ อความที่ผ้ วู ิจัยบันทึกจากการสัมภาษณ์ ดังนี้
“... การสอนโครงงานบางครั้งสั่งงานนักเรียนในช่ วงต้ นเทอม ใช้ เวลาค่ อนข้ างนานกว่า
นักเรียนจะเกิดแนวคิดที่จะสามารถผลิตนวัตกรรมได้ ต้ องมีกลวิธีในการกระตุ้น กากับ ติดตาม พอ
ถึงท้ายเทอม จึงได้ นวัตกรรมที่จะนาเสนอ ครูจึงจาเป็ นต้ องรอและให้ โอกาส ซึ่งแต่ละกลุ่มจะทางาน
ได้ คุณภาพแตกต่างกัน ... ”
(ครูผ้ สู อน คนที่ 1, 18 มิถุนายน 2562)
125

สภาพที่ควรจะเป็ น จากการสังเคราะห์คาให้ สัมภาษณ์ ผ้ ูมีส่วนเกี่ยวข้ องพบว่า ควรจัด


กิจกรรมให้ นักเรียนเกิดกระบวนการคิดสร้ างสรรค์ โดยใช้ การฝึ กและใช้ กิจกรรมที่มีระยะเวลาใน
การฝึ กฝนอย่างพอเหมาะให้ ผ้ ูเรียนเกิดทักษะและมีกระบวนการพัฒนานวัตกรรมที่บูรณาการภูมิ
ปัญญาท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องโดยการกากับควบคุมของครูผ้ สู อน
1.2.4) เนื้อหาวิชาที่ส่งเสริมการคิดสร้ างสรรค์ พบว่า การจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา
จะมีเนื้อหาที่บูรณาการในรายวิชาทั่ว ๆ ไปและเป็ นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัด ของหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไม่มีเนื้อหาโดยตรงเกี่ยวกับ การคิดสร้ างสรรค์ เพียงแต่สอดแทรก
เนื้อหาเกี่ยวกับ การคิดสร้ างสรรค์ไว้ กับกลุ่มวิชาอื่น ๆ ทั่วไป การวัดผลและประเมินผลยังไม่มี
กระบวนการที่ชัดเจน และไม่ลงสู่การปฏิบัติในชั้นเรียน
“…ไม่มีเนื้อหาการคิดสร้ างสรรค์โดยตรง เพียงแต่มีแทรกอยู่ในกระบวนการการจัดการ
เรียนการสอนกับวิชาวิทยาศาสตร์ ศิลปะเป็ นส่วนมาก เพราะจะเห็นนวัตกรรมและนวัตกรรม
ชัดเจน ...”
(ผู้บริหารสถานศึกษา คนที่ 3, 18 มิถุนายน 2562)
สภาพที่ค วรจะเป็ นในการส่ ง เสริ ม การคิ ด สร้ า งสรรค์ ซึ่ ง จะต้ อ งใช้ ก ระบวนการที่
เฉพาะเจาะจง ให้ นักเรียนเกิดความชานาญ หลังจากนั้นจึงจะสามารถตกผลึกความคิดสร้ างสรรค์
นั้นออกมาเป็ นรูปธรรม เช่ น นวัตกรรม หรือนวัตกรรม ซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งที่ส ะท้ อนถึงความคิ ด
สร้ างสรรค์ของนักเรียนได้ อย่างชัดเจน
1.2.5) การวั ด ผลและประเมิ น ผลความคิ ด สร้ า งสรรค์ ใ นสถานศึ ก ษา ความคิ ด
สร้ างสรรค์เป็ นทักษะที่ใช้ ความละเอียดอ่อนในการวัด จาเป็ นต้ องมีความรู้ ความชานาญและมี
ประสบการณ์ ซึ่ ง การวั ด ระดั บ ความคิ ด สร้ า งสรรค์ อาจจะต้ อ งใช้ เ ครื่ อ งมื อ ที่มี คุ ณ ภาพ และ
น่าเชื่อถือ สภาพปัจจุบัน การวัด ความคิดสร้ างสรรค์ในระดับชั้นเรียนยังไม่ มีความชัดเจนและไม่
เป็ นรูปธรรม ขาดความต่ อเนื่ อง จะมีเพียงแต่ การประเมิ น จากทัก ษะอื่ น ๆ ในรายวิชา ซึ่ง ไม่
สามารถตัดสินได้ ว่านักเรียนมีระดับความคิดสร้ างสรรค์มากน้ อยเพียงใด จากบทสัมภาษณ์ ดังนี้
“…ความคิ ด สร้ า งสรรค์ ข องเด็ก วั ด ค่ า ได้ ย าก ไม่ เ หมื อ นวิ ช าทั่ว ไปที่มี เ นื้ อ หา มี ส าระ
มาตรฐาน การวัดผลตามจุดประสงค์ สังเกตพฤติกรรม หรือทัศนคติของผู้เรียนได้ การประเมิน
อาจจะดูจากนวัตกรรมของเด็ก ซึ่งส่วนใหญ่จะพบในวิชาวิทยาศาสตร์ ศิลปะ ดนตรี...”
(ครูผ้ สู อน คนที่ 3, 18 มิถุนายน 2562)
สภาพที่ควรจะเป็ นในการวัด และประเมินผลระดับความคิดสร้ างสรรค์ในสถานศึกษา
ควรมีเครื่องมือในการวัดระดับความคิดสร้ างสรรค์ของผู้เรียนหรือมีกิจกรรมที่เป็ นเวทีให้ ผ้ ูเรียนได้
แสดงออกทางความคิดสร้ างสรรค์ท่เี ป็ นรูปธรรม นั่นคือ นวัตกรรม โครงงาน หรือนวัตกรรม ซึ่ง
เป็ นผลจากการตกผลึกความคิดสร้ างสรรค์ของผู้เรียนอย่างแท้จริง
126

1.2.6) ปัญหาอุปสรรคในการสร้ างนวัตกรรมของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา จากการ


สัมภาษณ์ครูผ้ ูสอนและผู้บริหารสถานศึกษา พบว่า ปัญหาการดาเนินการส่งเสริมให้ นักเรียนสร้ าง
นวัตกรรมนั้ น โรงเรียนมีข้ อจากัดด้ านปั จจัยสนับสนุ น เช่ น วัส ดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ ตลอดจน
ห้ องปฏิบัติการหรือสถานที่ในการจัดทาและผลิตนวัตกรรม อีกทั้งยังขาดการประสานความร่วมมือ
กับท้ องถิ่นหรือปราชญ์ชาวบ้ าน จะมีเพียงแค่ จัดการเรียนรู้ด้วยการเชิญวิทยากรภายนอกมาให้
ความรู้ ยั ง ไม่ มี ก ารส่ ง เสริ ม ให้ น าแนวคิ ด สร้ า งสรรค์ ม าต่ อ ยอดเป็ นนวั ต กรรม นอกจากนั้ น
งบประมาณในการผลิตนวัตกรรมมาจากผู้ปกครองเป็ นส่วนใหญ่ ซ่งึ นับได้ ว่าเป็ นภาระที่เพิ่มขึ้นของ
ผู้ปกครอง จะเห็นได้ จาก คาให้ สัมภาษณ์ของนักเรียน
“... คุ ณ ครู สั่ ง งานหรื อ มอบหมายภาระงานให้ ทาโครงงาน ก็ต้ องไปขอเงิ น จากพ่ อ แม่
เพิ่มขึ้นจากค่าขนม ในบางครั้งอยากทาโครงงานชิ้นใหญ่หรือต้ องการประดิษฐ์ อะไรบางอย่าง แต่
ติดปัญหาค่าวัสดุท่มี ีราคาแพง ต้ องรบกวนพ่อแม่ จึงทาให้ ผมต้ องเปลี่ยนแนวคิดมาทาสิ่งประดิษฐ์
ที่ง่ายลง มีค่าใช้ จ่ายน้ อย เพื่อให้ ผ่านการประเมินในรายวิชา ... ”
(นักเรียน คนที่ 5, 18 มิถุนายน 2562)
นอกจากปัญหาการส่งต่ อ นวัตกรรมของนักเรียนจะมีข้อจากัดเรื่องค่าใช้ จ่ายแล้ ว ยัง มี
อุปสรรคในการเดินทางเข้ าร่วมกิจกรรม ซึ่งในหลายครั้งที่นักเรียนมี นวัตกรรมดีแต่ขาดการส่งต่อ
ไปยังเวทีต่าง ๆ ที่มีการประกวดหรือแข่งขันทาให้ นักเรียนขาดแรงจูงใจ และไม่เกิดเป็ นแบบอย่ าง
ให้ กับนักเรียนรุ่นน้ องหรือรุ่นถัดไป ที่จะเห็นแบบอย่างจากรุ่นพี่ท่ปี ระสบความสาเร็จ จะเห็นได้ จาก
ถ้ อยคาของผู้บริหารสถานศึกษา ดังนี้
“ ... เคยมีครูผ้ ูสอนส่ง นวัตกรรมนักเรียนเข้ าร่วมการพิจารณาและพบว่ามีโ อกาสเข้ าร่ วม
ประกวดในต่ า งประเทศ แต่ ด้ ว ยข้ อ จ ากั ด ของงบประมาณของทางโรงเรี ย นและผู้ ปกครองไม่
สามารถส่งเสริมสนับสนุนได้ จึงทาให้ นวัตกรรมของนักเรียนไม่ได้ เข้ าสู่เวทีท่เี ป็ นมาตรฐานและขาด
โอกาสในที่สุด ... ”
(ผู้บริหารสถานศึกษา คนที่ 3, 18 มิถุนายน 2562)
1.2.7) แนวทางของการพั ฒ นาหลั ก สู ต รกิ จ กรรมการคิ ด สร้ า งสรรค์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม
ความสามารถในการสร้ างนวัต กรรมที่บูร ณาการภูมิ ปัญญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ย นมั ธ ยมศึกษา
จังหวัดหนองบัวลาภู พบว่า ควรมีการจัดกิจกรรมที่มีลักษณะเฉพาะโดยเน้ นที่การส่งเสริมความคิด
สร้ างสรรค์โดยตรง เช่น ตั้งคาถามให้ นักเรียนได้ เกิดความอยากรู้อยากเห็น ซึ่งเป็ นพื้นฐานในการ
คิดหัวข้ อในการผลิตนวัตกรรม ครูผ้ สู อนต้ องเปลี่ยนบทบาทจากผู้ถ่ายทอดความรู้เป็ นผู้สนับสนุ น
และกระตุ้นให้ คิด โดยนาไปเชื่อมโยงกับภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจในชุมชน
ของตนเอง อีกทั้งจะเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะในชุมชน ซึ่งจะป้ องกันการซา้ ซ้ อนของนวัตกรรมและเกิด
การพัฒนาชุมชนด้ วยนวัตกรรมอย่างยั่งยืน
127

2. ผลการวิ จั ย ระยะที่ 2 ผลการสร้า งหลัก สู ต รกิ จ กรรมการคิ ด สร้า งสรรค์เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม
ความสามารถในการสร้างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา
จังหวัดหนองบัวลาภู มี 3 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 ยกร่างหลักสูตร ขั้นที่ 2 ทดลองใช้ หลักสูตร และขั้นที่ 3
ปรับปรุงและแก้ ไขหลักสูตร ดังรายละเอียดต่อไปนี้
2.1 ขั้นที่ 1 ยกร่างหลักสูตร
ประกอบด้ วยผลการยกร่าง ผลการตรวจสอบร่างและผลการประเมินความเหมาะสม
ของหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณา
การภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู ดังรายละเอียดต่อไปนี้
2.1.1) ผลการยกร่างหลักสูตร
ผู้วิจัยนาข้ อมูลพื้นฐานจากการวิเคราะห์เอกสารที่เกี่ยวข้ องและการสัมภาษณ์
กับผู้ท่มี ีส่วนเกี่ยวข้ องจาก ระยะที่ 1 ของการวิจัย และสังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานสาหรับการพัฒนา
หลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์ ได้ องค์ประกอบของหลักสูตร 7 องค์ประกอบ ดังต่อไปนี้
1. หลักการและเหตุผล
2. ปรัชญาและแนวคิดทฤษฎี
3. จุดมุ่งหมาย
4. โครงสร้ างหลักสูตร
5. แนวทางการจัดการเรียนรู้
6. สื่อและแหล่งเรียนรู้
7. แนวทางการวัดและประเมินผล
จะเห็นได้ ว่าองค์ประกอบของหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริม
ความสามารถในการสร้ างนวัต กรรมที่บูร ณาการภูมิ ปัญญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ย นมั ธ ยมศึกษา
จังหวัดหนองบัวลาภู เป็ นการสังเคราะห์จากแนวคิด ทฤษฎีท่มี ีความเกี่ยวข้ องทั้งด้ านการพัฒนา
หลักสูตร การพัฒนาและส่งเสริมความคิดสร้ างสรรค์ รวมทั้งการบูรณาการภูมิปัญญาท้ อ งถิ่ น
เพื่อให้ เกิดการสร้ างนวัตกรรมใหม่ในชุมชุน รวมไปถึงข้ อมูลที่ได้ จากการสังเคราะห์บทสัมภาษณ์
จากผู้มีส่วนเกี่ยวข้ อง ไม่ว่าจะเป็ นนักเรียนที่เป็ นผู้สร้ างนวัตกรรม ครูท่ปี รึกษาที่มีความใกล้ ชิดกับ
ผู้เรียน ผู้บริหารสถานศึกษาที่เป็ นกาลังสาคัญในการส่งเสริม ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้ าน ที่เป็ นผู้ร้ ู
และมีความชานาญในพื้นที่ตามบริบทของสถานศึกษา โดยนาข้ อมูลจากการสังเคราะห์มาเชื่อมโยง
เพื่อการยกร่างหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรม
ที่บูรณาการภูมิปัญญาท้ องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู ให้ มีความสัมพันธ์
สอดคล้ อ งและไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น ดั ง นั้ น ผู้ วิ จั ย จึ ง ได้ น าเสนอผลการสั ง เคราะห์ ใ ห้ เ ห็ น
ความสัม พันธ์ในการได้ มาซึ่งรายละเอียดแต่ ล ะองค์ประกอบของหลักสูตรอีกครั้งดังตารางที่ 4
ต่อไปนี้
ตารางที่ 4 ผลการเรียบเรียงและสังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานสาหรับการยกร่างหลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 หลักการและเหตุผล 128

แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ บทสรุปจากการ


สานักวิชาการและ รายละเอียด
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ สงัด อุทรานันท์ Beauchamp อารี พันธ์มณี ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์ สัมภาษณ์
มาตรฐาน ที่สาคัญ
(2557) (2532) (1981) (2557) (2546) ผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง
การศึกษา(2553)
นักพัฒนาหลักสูตร นักพัฒนา เอกสารหลักสูตรจะ ความคิดสร้ างสรรค์ ความคิดสร้ างสรรค์ สถานศึกษา การส่งเสริมและ ข้ อสรุปจากการ
จาเป็ นต้ องทาความ หลักสูตรจะต้ อง กล่าวถึงสาระของ เป็ นกระบวนการทาง ถือว่าเป็ นกระบวน สามารถกาหนดใน พัฒนาความคิด วิเคราะห์แนวคิดต่าง ๆ
เข้ าใจการออกแบบ วิเคราะห์ข้อมูล หลักสูตรโดยตรง สมองที่คิดใน การทางความคิดที่มี ส่วนรายวิชา สร้ างสรรค์ของเด็ก นาไปสู่การกาหนด
หลักสูตรให้ เหมาะสม พื้นฐาน ด้ าน เช่น จุดมุ่งหมาย ลักษณะอเนกนัยอัน ความสาคัญต่อเด็ก เพิ่มเติมที่ ครูผ้ สู อนเป็ นบุคคล หลักสูตร ดังนี้ เป็ น
กับประเภทและระดับ ความต้ องการ หลักการ โครงสร้ าง นาไปสู่การคิดค้ นสิ่ง ทาให้ เด็กสามารถ เกี่ยวข้ องกับสภาพ ที่ควรให้ ความสาคัญ หลักสูตรที่มีการจัดทา
ของหลักสูตร ควรมี จาเป็ นและ และเนื้อหาสาระที่จัด แปลกใหม่ด้วยการ สร้ างความคิด สร้ าง ชุมชน สังคม และ ซึ่งเป็ นบุคคลที่มีส่วน หลักสูตรขึ้นมาใหม่จาก
องค์ประกอบต่าง ๆ ปัญหาทางสังคม ไว้ ในหลักสูตรนั้น ๆ คิด ดัดแปลงปรุง จินตนาการ ไม่จนต่อ ภูมิปัญญาท้ องถิ่น ส่งเสริมให้ ผ้ ูเรียน ที่ไม่เคยมีหลักสูตรนั้น
ในหลักสูตรที่ประสาน เศรษฐกิจ ส่วนเอกสาร แต่งจากความคิด สถานการณ์หรือ จัดกิจกรรมที่ เกิดทักษะการคิด ๆ มาก่อนเพื่อเป็ นการ
กลมกลืนกัน สามารถ การเมืองและการ ประกอบหลักสูตรจะ เดิมผสมผสานกันให้ สภาพแวดล้ อมที่ ส่งเสริมให้ ผ้ เู รียน สร้ างสรรค์และนา แก้ ปัญหาหรือการ
นาไปสร้ างหลักสูตรได้ ปกครอง เป็ นเอกสารที่อธิบาย เกิดสิ่งใหม่ ซึ่ง กาหนดไว้ มีความคิด ความคิดสร้ างสรรค์ ส่งเสริมให้ ผ้ เู รียนมี
ง่าย ผู้ใช้ หลักสูตรเกิด ตลอดจน เพิ่มเติมเกี่ยวกับ รวมทั้งการประดิษฐ์ นอกจากนั้นความคิด สร้ างสรรค์ผ่าน ออกมาสู่การผลิต คุณลักษณะหรือให้
ความเข้ าใจที่ถูกต้ อง แนวนโยบาย รายละเอียดต่าง ๆ คิดค้ นสิ่งต่าง ๆ สร้ างสรรค์ยังเป็ น กระบวนการกลุ่ม นวัตกรรมที่เป็ น เป็ นไปตามจุดมุ่งหมาย
ชัดเจน ทางการศึกษา ของหลักสูตรเพื่อให้ ตลอดจนวิธีการคิด พลังทางความคิดที่ กิจกรรมชุมนุม รูปธรรม และได้ มี ที่กาหนด
ของรัฐ ทิศ การนาหลักสูตรไป ทฤษฎี หลักการ เด็ก ๆ ทุกคนมีมา กิจกรรมพัฒนา ส่วนร่วมในการ
ทางการพัฒนา ใช้ ได้ ผลตามความ ความคิดสร้ างสรรค์ แต่กาเนิด หากได้ รับ ผู้เรียน ให้ ผ้ เู รียน สะท้ อนข้ อมูลผลการ
ของประเทศ มุ่งหมาย เช่น คู่มือ จะเกิดขึ้นได้ มิใช่ การกระตุ้น การ ได้ เรียนรู้อย่าง ปฏิบัติที่เป็ นเลิศและ
ข้ อมูลทางด้ าน ครู แผนการสอน เพียงแต่คิดในสิ่งที่ พัฒนา พลังแห่งการ อิสระ เพื่อตอบสนองความ
จิตวิทยา ปรัชญา กลุ่มวิชาต่าง ๆ คู่มือ เป็ นไปได้ หรือสิ่งที่ สร้ างสรรค์จะทาให้ ต้ องการของชุมชน
การศึกษา ความ การวัดผล เป็ นเหตุเป็ นผลเพียง เด็กเป็ นคนมีอิสระ และสังคม ทั้งนี้โดย
ต้ องการของ ประเมินผล อย่างเดียวเท่านั้น ทางความคิด ยึดจุดมุ่งหมาย
ผู้เรียน สาคัญของหลักสูตร
ตารางที่ 4 ผลการเรียบเรียงและสังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานสาหรับการยกร่างหลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 หลักการและเหตุผล (ต่อ)

แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ บทสรุปจากการ


สานักวิชาการและ รายละเอียด
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ สงัด อุทรานันท์ Beauchamp อารี พันธ์มณี ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์ สัมภาษณ์
มาตรฐานการศึกษา ที่สาคัญ
(2557) (2532) (1981) (2557) (2546) ผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง
(2553)
ตลอดจน หากแต่ความคิด มีความคิดที่นอก ทั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ
วิเคราะห์ จินตนาการก็เป็ นสิ่ง กรอบ และสามารถ พัฒนาหลักสูตร
หลักสูตรเดิม สาคัญยิ่งที่จะ หาหนทางในการที่จะ กิจกรรมการคิด
เพื่อพิจารณาถึง ก่อให้ เกิดความ สร้ างสรรค์สงิ่ ใหม่ๆ สร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริม
ข้ อบกพร่องที่ แปลกใหม่ แต่ต้อง ได้ เสมอ ดังนั้นการ ความสามารถในการ
ควรปรับปรุง ควบคู่กันไปกับความ สอนความคิด สร้ างนวัตกรรมที่บูรณา
แก้ ไข พยายามที่จะสร้ าง สร้ างสรรค์และการ การภูมิปัญญาท้ องถิ่น
ความคิดฝันหรือ ฝึ กฝนให้ เด็ก ของนักเรียน
จินตนาการให้ สามารถคิดอย่าง มัธยมศึกษา จังหวัด
เป็ นไปได้ หรือที่ สร้ างสรรค์ จึงเป็ น หนองบัวลาภู
เรียกว่าเป็ น ส่วนหนึ่งที่ช่วย
จินตนาการประยุกต์ กระตุ้นคุณภาพใน
ตัวของเด็กให้ ม่ันใจ
ในตนเองและเติบโต
เป็ นผู้ใหญ่ที่มี
คุณภาพยิ่งขึ้น
129
ตารางที่ 5 ผลการเรียบเรียงและสังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานสาหรับการยกร่างหลักสูตร องค์ประกอบที่ 2 ปรัชญาและแนวคิดทฤษฎี
130

แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ บทสรุปจากการ


รายละเอียด
Taba สุนีย์ ภู่พันธ์ Saylor & Alexander ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์ ชัยวัฒน์ สุทธิรตั น์ De Jong สัมภาษณ์
ที่สาคัญ
(1962) (2546) (1974) (2546) (2557) (2007) ผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง
แนวคิดในการ การพัฒนา รูปแบบการพัฒนา สังคมไทยมีความ สังคมไทยมีลักษณะ กระบวนการสร้ าง การพัฒนากลไก ข้ อสรุปจากการ
จัดการหลักสูตรโดย หลักสูตร มี หลักสูตรที่มีข้นั ตอน เข้ าใจที่คลาดเคลื่อน นิยมความ นวัตกรรม มีดังนี้ ส่งเสริมความคิด วิเคราะห์แนวคิดต่าง ๆ
ใช้ วิธีการที่เรียกกัน รูปแบบการพัฒนา สอดคล้ องและ เกี่ยวกับความคิด สะดวกสบาย รับ 1) การสร้ างแรง สร้ างสรรค์ผ่าน นาไปสู่การกาหนดแนว
ว่า “Grass Roots” ดังนี้ ต่อเนื่องกันตลอด สร้ างสรรค์ โดย เทคโนโลยีจาก บันดาลใจ เป็ น กระบวนการศึกษา ทางการพัฒนา
หรือวิธีที่ให้ 1) กาหนด แนว ตั้งแต่การ เข้ าใจเพียงผิวเผินว่า ต่างประเทศมาใช้ ระยะเริ่มต้ นตั้งแต่ โดยเฉพาะหลักสูตร หลักสูตร โดยใช้ เวลา
ความสาคัญกับผู้ที่ใช้ จุดหมายของ กาหนดเป้ าหมาย ความคิดสร้ างสรรค์ มากกว่าที่จะใช้ องค์ การสร้ าง และกระบวนการ 18 ชั่วโมงต่อภาคเรียน
หลักสูตรหรือ หลักสูตร โดย การออกแบบ คือ ความแปลกใหม่ ความรู้เพื่อ ความรู้สึกที่ดีต่อ เรียนการสอนใน จัดเป็ นกิจกรรมชุมนุม
ผู้จัดการเรียนรู้ได้ มี อาศัยข้ อมูล หลักสูตร การนา หรือความคิดริเริ่ม สร้ างสรรค์ การพัฒนาทักษะ โรงเรียนควรเป็ น ให้ นักเรียนได้ เลือก
ส่วนในการพัฒนา พื้นฐานจาก หลักสูตรไปใช้ และ อันจะหมายถึง เทคโนโลยีข้ นึ เอง กระบวนการคิด จุดเริ่มต้ นและจุด เรียนตามความสนใจ
หลักสูตรด้ วยหรือวิธี หลายๆ ด้ านให้ การประเมินผล ลักษณะความคิด ส่งผลให้ กลายเป็ น สร้ างสรรค์ เปลี่ยนสาคัญที่จะ ไม่มีการบังคับ
จากเบื้องล่างสู่เบื้อง สอดคล้ องกับ หลักสูตร แปลกใหม่ซ่งึ ผู้บริโภคมากกว่า 2) การสืบค้ น สร้ างให้ ครูและ ประกอบด้ วย 7
บน กล่าวคือ ความต้ องการของ แตกต่างจากเดิม ผู้ผลิตนวัตกรรม ข้ อมูล เป็ นขั้น นักเรียน มี องค์ประกอบ ดังนี้ 1)
หลักสูตรควรจะ ผู้ที่เกี่ยวข้ อง อาจเกิดการ ด้ วยเหตุน้ คี วาม เตรียมการที่จะ ความสามารถในการ หลักการและเหตุผล
ออกแบบและพัฒนา 2) จัดเนื้อหาของ ดัดแปลงหรือ จาเป็ นหรือ ศึกษาข้ อมูล คิดสร้ างสรรค์ได้ 2) ปรัชญาและแนวคิด
จากผู้จัดการเรียนรู้ หลักสูตร ที่ ประยุกต์ความรู้ที่มี ความสาคัญของ พื้นฐาน และ อย่างเป็ นรูปธรรม ทฤษฏี 3) จุดมุ่งหมาย
มากกว่าที่จะกาหนด ตอบสนอง อยู่เดิมผนวกกับ ความคิดสร้ างสรรค์ เตรียมข้ อมูลต่าง และยั่งยืน ไม่
จากนักวิชาการเบื้อง จุดมุ่งหมายของ จินตนาการให้ เกิด จึงอยู่ที่การสร้ างคน ๆ ที่เป็ น เพียงแต่ปรับเปลี่ยน
บน ซึ่งมีวิธีการ หลักสูตรและ เป็ นผลผลิตใหม่ ซึ่ง ให้ มีทักษะการคิด ข้ อเท็จจริงของ ไปตามนโยบาย
คล้ ายคลึงกับ Tyler ผู้เรียน สังคมส่วนใหญ่เข้ าใจ สร้ างสรรค์ เรื่องที่ค้นพบ ทางการศึกษา
โดยมีข้นั ตอนในการ ว่า บุคคลที่มี ปัญหา
พัฒนาหลักสูตร ความคิดสร้ างสรรค์
ดังนี้ มักจะเป็ นศิลปิ นและ
ตารางที่ 5 ผลการเรียบเรียงและสังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานสาหรับการยกร่างหลักสูตร องค์ประกอบที่ 2 ปรัชญาและแนวคิดทฤษฎี (ต่อ)

แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ บทสรุปจากการ


รายละเอียด
Taba สุนีย์ ภู่พันธ์ Saylor & Alexander ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์ ชัยวัฒน์ สุทธิรตั น์ De Jong สัมภาษณ์
ที่สาคัญ
(1962) (2546) (1974) (2546) (2557) (2007) ผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง

1) วิ คราะห์ ค วาม 3) น าหลั กสูตรไป นักวิทยาศาสตร์ 3) การคิด 4) โครงสร้ างหลักสูตร
ต้ องการจ าเป็ นของ ทดลองใช้ เพื่อหา เท่านั้นที่จะเป็ นผู้ ใคร่ครวญ เมื่อได้ 5) แนวทางการจัด
ผู้เรียน ข้ อบกพร่องแล้ ว ริเริ่มในการสร้ าง ข้ อมูลจากระยะที่ กิจกรรม 6) สื่อและ
2) กาหนด นามาแก้ ไขให้ ได้ สิ่งประดิษฐ์หรือ 2 จะเป็ นระยะของ แหล่งเรียนรู้ 7) การวัด
จุดมุ่งหมาย หลักสูตรที่มี นวัตกรรมใหม่ๆ การคิดพิจารณา และประเมินผล โดยมี
3) เลือกเนื้อหาสาระ องค์ประกอบที่ ขึ้นมา ข้ อมูลอย่าง เนื้อหาสาระเกี่ยวกับ
4) จัดเนื้อหาวิชาให้ สมบูรณ์ ก่อนนา ละเอียด ความคิดสร้ างสรรค์
เป็ นหมวดหมู่ หลักสูตรไปใช้ จริง 4) การสร้ าง และการสร้ างนวัตกรรม
5) เลือก 4) การประเมิน นวัตกรรม อาจ
ประสบการณ์การ หลักสูตร เพื่อเป็ น เรียกได้ ว่าพิสูจน์
เรียนรู้ การตรวจสอบ ความจริง เป็ น
6) จัดประสบการณ์ คุณภาพของ ระยะที่นาความคิด
การเรียนรู้ หลักสูตร ที่เกิดขึ้นจากระยะ
7) ประเมินผล 5) การปรับปรุง ที่ 3 ที่ยังไม่ม่นั ใจ
หรือเปลี่ยนแปลง ไปพิสูจน์ให้ เห็น
หลักสูตร โดยการ จริงและถูกต้ อง
นาผลจากการ 5) การเผยแพร่
ประเมินหลักสูตร นวัตกรรม เป็ น
มาปรับปรุงและ ระยะการนาเสนอ
แก้ ไขหลักสูตรให้ ผลจากการคิด
สมบูรณ์ที่สุด สร้ างสรรค์ ให้
สาธารณชนได้ รับรู้
131
ตารางที่ 6 ผลการเรียบเรียงและสังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานสาหรับการยกร่างหลักสูตร องค์ประกอบที่ 3 จุดมุ่งหมาย 132

แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ บทสรุปจากการ


รายละเอียด
สัมภาษณ์
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ สงัด อุทรานันท์ Saylor & ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ อารี พันธ์มณี ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์ ที่สาคัญ
(2557) (2532) Alexander (1974) (2557) (2537) (2546) ผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง
การกาหนด การกาหนด ขั้นการกาหนด การจัดการเรียนการ ครูผ้ สู อนจะต้ อง การส่งเสริม การจัดกิจกรรมที่ ข้ อสรุปจากการวิเคราะห์
จุดมุ่งหมายของ จุดมุ่งหมายของ เป้ าหมาย สอนในสถานศึกษา พยายามจัดกิจกรรม ความคิด ส่งเสริมความคิด แนวคิดต่าง ๆ นามาสู่
หลักสูตรควร หลักสูตร หลังจาก จุดมุ่งหมาย และ โดยส่วนใหญ่ให้ ต่างๆ ที่ส่งเสริมการ สร้ างสรรค์ยังไม่ สร้ างสรรค์ใน การกาหนดจุดมุ่งหมาย
กาหนดให้ สอดคล้ อง ได้ วิเคราะห์ข้อมูล ขอบเขตของ ความสาคัญกับการ เรียนรู้ด้วยตนเอง ปรากฏเป็ น สถานศึกษาและ ของ
กับกลุ่มเป้ าหมายใน และได้ ทราบสภาพ หลักสูตร (Goals พัฒนาทักษะ และการเรียนรู้จาก รายวิชาเฉพาะใน กระบวนการวัดผล หลักสูตรกิจกรรมการคิด
หลักสูตร โดย ปัญหา และความ Objectives and (Skill) แต่ไม่ได้ ให้ บุคคลอื่น ด้ วยการ หลักสูตร ประเมินผลยังไม่ช้ ี สร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริม
พิจารณาระดับชั้น ต้ องการของ Domains) โดยมี ความสาคัญกับการ จัดกิจกรรมการ การศึกษา ชัดถึงพัฒนาการของ ความสามารถในการสร้ าง
พื้นฐานทางสังคม ผู้เรียนแล้ ว ก็จะถึง ขอบเขตของ พัฒนาความคิดริเริ่ม สารวจ ค้ นคว้ า ระดับชาติ ความคิดสร้ างสรรค์ นวัตกรรมที่บูรณาการภูมิ
เศรษฐกิจ อายุ เพศ ขั้นการกาหนด หลักสูตรขึ้นกับ สร้ างสรรค์ ซึ่งใน ทดลอง ประชุมกลุ่ม เพียงแต่จะต้ อง ที่เกิดขึ้นกับตัว ปัญญาท้ องถิ่น ของ
โดยต้ องกาหนด จุดมุ่งหมายของ ประเด็นหลักพื้นฐาน ความเป็ นจริงนั้น ระดมความคิด การ บูรณาการ ผู้เรียน แนวการ นักเรียนมัธยมศึกษา
จุดมุ่งหมายให้ หลักสูตรเพื่อเป็ น 4 ประการ คือ มนุษย์ต่างมี ทาโครงงานและ ความคิด เรียนการสอนมักพบ จังหวัดหนองบัวลาภู มี 3
ชัดเจน สอดคล้ อง การมุ่งแก้ ปัญหา พัฒนาการส่วน ความสามารถในการ วิธีการต่าง ๆ ที่ สร้ างสรรค์ในทุก เห็นครูเป็ นผู้ ด้ านดังนี้
กับความต้ องการ และสนองความ บุคคล (Personal คิดสร้ างสรรค์แต่ ส่งเสริมความคิด รายวิชา ซึ่งการจะ ถ่ายทอดความรู้ และ
ของผู้เรียน รวมทั้ง ต้ องการที่ได้ จาก Development) ขาดกระบวนการ สร้ างสรรค์ โดยมี ส่งเสริมความคิด นักเรียนเป็ นผู้จด
ครอบคลุม การวิเคราะห์ สมรรถภาพทาง เรียนรู้ การอบรม จุดเน้ นให้ ผ้ เู รียน สร้ างสรรค์จาเป็ น บันทึก นักเรียนจึง
พฤติกรรมทั้ง 3 ข้ อมูล สังคม (Social และการฝึ กฝนอย่าง ทางานเป็ นทีม ให้ ที่ควรจะกาหนด คุ้นเคยกับการนั่งฟัง
ด้ าน คือ ด้ านพุทธิ Competence) ถูกวิธี ความสาคัญในเรื่อง เป้ าหมาย บรรยายเป็ นส่วน
พิสัย ด้ านทักษะพิสัย ทักษะการเรียนรู้ ความพึงพอใจ ของ ใหญ่
และด้ านจิตพิสัย อย่างต่อเนื่อง คะแนนและรางวัล
(Continued
Learning Skills)
ตารางที่ 6 ผลการเรียบเรียงและสังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานสาหรับการยกร่างหลักสูตร องค์ประกอบที่ 3 จุดมุ่งหมาย (ต่อ)

แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ บทสรุปจากการ


รายละเอียด
สัมภาษณ์
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ สงัด อุทรานันท์ Saylor & ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ อารี พันธ์มณี ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์ ที่สาคัญ
(2557) (2532) Alexander (1974) (2557) (2537) (2546) ผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง
และความเชี่ยวชาญ ความรู้ที่สร้ างขึ้นจะมี และความสุขที่ และมีการจัดการ และมักไม่มีโอกาส 1) พัฒนาทักษะการคิด
เฉพาะ ความหมายต่อ เกิดขึ้นในการทางาน เรียนรู้เฉพาะ เพื่อ ซักถามรวมถึงการมี สร้ างสรรค์ของนักเรียน
(Specialization) ผู้เรียน และจะอยู่ มากกว่าความสาคัญ ส่งเสริมให้ เกิด ส่วนร่วมน้ อย หรือ 2) พัฒนาความสามารถ
นอกจากนั้นยังมี คงทน ไม่ลืมง่าย ในเรื่องการเรียนรู้ ทักษะการคิด แสดงความคิดเห็น ในการสร้ างนวัตกรรม
ขอบเขตอื่น ๆ อีกที่ สามารถถ่ายทอดให้ ผ่านกระบวนการฝึ ก สร้ างสรรค์อย่าง ในขณะเรียน ส่งผล ของนักเรียน
ผู้พัฒนาหลักสูตร ผู้อ่นื เข้ าใจความคิด คิดสร้ างสรรค์สู่การ ยั่งยืน ให้ บรรยากาศไม่เป็ น 3) ส่งเสริมความสามารถ
ต้ องพิจารณาโดยยึด ของตนได้ ดี และยัง ผลิตนวัตกรรม จึง อิสระต่อการเรียนรู้ ในการนาเสนอและการ
หลักความเหมาะสม เป็ นฐานให้ สร้ าง เป็ นแนวทางหนึ่งที่ ตลอดจนการวัดผล สื่อสารของนักเรียน
และส่งผลต่อผู้เรียน ความรู้ใหม่ต่อไป สามารถส่งเสริม ประเมินผลที่ต้อง
สูงสุด อย่างไม่มีที่ส้ นิ สุด กระบวนการคิดและ เป็ นไปตามเป้ าหมาย
ทักษะความสามารถ เดียวกันทั้งที่
ในการประดิษฐ์แก่ นักเรียนแต่ละคนมี
ผู้เรียน ความแตกต่างกัน
133
ตารางที่ 7 ผลการเรียบเรียงและสังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานสาหรับการยกร่างหลักสูตร องค์ประกอบที่ 4 โครงสร้ างหลักสูตร 134

แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ บทสรุปจากการ


รายละเอียด
สงัด อุทรานันท์ ทัศนีย์ บุญเติม Taba สุรางค์ โค้ วตระกูล Torrance Rogers สัมภาษณ์
ที่สาคัญ
(2532) (2551) (1962) (2554) (1962) (1970) ผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง
หลักการในการเลือก การกาหนด การเลือกเนื้อหา สถานศึกษา ความคิดสร้ างสรรค์ การสร้ าง ความคิดสร้ างสรรค์ ข้ อสรุปจากการวิเคราะห์
เนื้อหาสาระเพื่อ โครงสร้ างเนื้อหา สาระ เพื่อให้ ผ้ ูเรียน ดาเนินการจัด เป็ นความสามารถที่ บรรยากาศที่ไม่ เกิดขึ้นได้ กับทุกคน แนวคิดต่าง ๆ นาไปสู่
นามาปรับใช้ ใน ของหลักสูตรคือ เกิดการเรียนรู้ตาม กระบวนการเรียนรู้ มีในทุกเพศทุกวัย ต้ องมีการวัดผล ในชั้นเรียนเพียงแต่ การกาหนดโครงสร้ างของ
หลักสูตรให้ การระบุว่าผู้เรียน จุดมุ่งหมายของ ให้ ผ้ เู รียนได้ ฝึก เด็กจะมีความคิด และประเมินผล ควรได้ รับโอกาสและ หลักสูตร ดังนี้
เหมาะสมโดยถือ ต้ องเรียนอะไรบ้ าง หลักสูตรขึ้นอยู่กับ กระบวนการคิดและ สร้ างสรรค์มากที่สุด จากภายนอกจะทา ความเท่าเทียม การ 1) การสร้ างแรงบันดาล
เกณฑ์ต่อไปนี้ จึงจะมีคุณลักษณะ เกณฑ์หลายประการ ยึดหลักให้ คิดเป็ น ในช่วงอายุ 4 ปี ครึ่ง ให้ เด็กเกิด จัดกิจกรรมให้ เด็กได้ ใจ
1) เกณฑ์ความถูก ตามที่ได้ กาหนดไว้ เช่น ความสาคัญของ แก้ ปัญหาได้ โดย แต่ความคิด ความรู้สึกเป็ น เรียนรู้จากสภาพจริง 2) การสืบค้ นข้ อมูล
ต้ องหรือเป็ นจริง ในจุดมุ่งหมาย ตัวเนื้อหาสาระ มุ่งเน้ นไปที่นักเรียน สร้ างสรรค์สามารถ อิสระ เป็ นตัวของ หรือภูมิปัญญา 3) การศึกษาแหล่งภูมิ
ตามสภาพ เนื้อหาสาระ ความสามารถของ ระดับชั้นมัธยมศึกษา พัฒนาได้ จนกระทั่ง ตัวเอง และกล้ า ท้ องถิ่นรอบตัวจะทา ปัญญา
2) เกณฑ์แห่ง เหล่านั้นควรมีการ ผู้เรียน ลาดับขั้นการ มีอายุระหว่าง 13- เรียนในระดับ แสดงออกทั้ง ให้ ผ้ เู รียนเกิดความ 4) การสร้ างนวัตกรรม
ความสามารถที่จะ จัดโครงสร้ างหรือ เรียนรู้ ระดับวุฒิ 18 ปี เป็ นวัยที่เด็กมี ประถมศึกษา ซึ่ง ความคิดและการ ภาคภูมิใจในท้ องถิ่น 5) การเผยแพร่
เรียนรู้ได้ สัดส่วนให้ ภาวะหรือพัฒนาการ ความสามารถในการ ความคิดสร้ างสรรค์ กระทาอย่าง และแสดงออกในสิ่ง นวัตกรรม
3) เกณฑ์แห่ง เหมาะสมกับวัย ของผู้เรียน ความ คิดเป็ นนามธรรม จะค่อย ๆ ลดลง สร้ างสรรค์ซ่งึ เป็ น ที่ตนเองสนใจย่อม
ความสาคัญ คือ มี และวุฒิภาวะของ สนใจของผู้เรียน (Formal Operation) สืบเนื่องจาก การเปิ ดโอกาสให้ ส่งเสริมกระบวนการ
ความสาคัญความ ผู้เรียนในกรณีเป็ น เป็ นต้ น ซึ่งสอดคล้ องกับ สภาพแวดล้ อมรอบ ผู้เรียนได้ คิดสร้ างสรรค์ของ
จาเป็ น หลักสูตรระดับ นอกจากนั้นการจัด แนวคิดของ Piaget ๆ ตัว ซึ่งถ้ าจัด แสดงออกทาง ผู้เรียน
4) เกณฑ์แห่งความ รายวิชาจะเป็ นการ เนื้อหาวิชายังต้ อง สภาพแวดล้ อมที่ ความคิดจะเป็ น
สนใจ คือ ผู้เรียนจะ กาหนดขอบเขต คานึงถึงการจัด เหมาะสมหรือมีการ การให้ อิสระทาง
เรียนได้ ดีที่สุดถ้ าสิ่ง และโครงสร้ างของ หมวดหมู่ เรียง ส่งเสริม จะสามารถ ความคิดจนเกิด
ที่เรียนเป็ นสิ่งที่ หัวข้ อใหญ่และ ตามลาดับความยาก พัฒนาระดับ ความรู้สึก
ผู้เรียนมีความสนใจ หัวข้ อย่อย ๆ ใน ง่ายความต่อเนื่อง ความคิดสร้ างสรรค์ ปลอดภัยใน
รายวิชานั้น ของเนื้อหา ให้ สูงขึ้น ตนเอง
ตารางที่ 8 ผลการเรียบเรียงและสังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานสาหรับการยกร่างหลักสูตร องค์ประกอบที่ 5 แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ บทสรุปจากการ


คณะกรรมการ รายละเอียด
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ ไสว ฟักขาว Taba วิทยากร เชียงกูล ไพศาล วงค์กระโซ่ สัมภาษณ์
การศึกษาแห่งชาติ ที่สาคัญ
(2557) (2559) (1966) (2560) (2557) (2541)
ผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง
การกาหนดแนวการ รูปแบบการเรียนรู้ การเลือก การพัฒนาความคิด การปฏิรูปหลักสูตร แนวทางการนาภูมิ 1) ครูควรศึกษา ข้ อสรุปจากการวิเคราะห์
จัดการเรียนรู้ เป็ น ที่ส่งเสริมความคิด ประสบการณ์การ สร้ างสรรค์สามารถ การเรียนการสอน ปัญญาท้ องถิ่นไป ชุมชน ทั้งเก็บข้ อมูล แนวคิดต่าง ๆ ผู้วิจัย
องค์ประกอบสาคัญใน สร้ างสรรค์ ในการ เรียนรู้ ที่จะนามา ทาได้ หลายวิธี เช่น และการประเมินผล ใช้ ในการเรียนการ จากชุมชนโดยการ นามาใช้ เป็ นกรอบในการ
การแปลงหลักสูตรสู่ จัดการเรียนการ เสริมเนื้อหาสาระ การใช้ บทบาทสมมติ ควรเน้ นผลลัพธ์หรือ สอน สังเกตและสอบถาม กาหนดแนวการจัดการ
การปฏิบัติ หลักสูตร สอนตามหลักสูตร ของวิชาและ การใช้ สถานการณ์ สมรรถนะเพื่อสร้ าง 1) ลักษณะของ ชาวบ้ านผู้ร้ ใู น เรียนรู้ มี 4 ขั้นตอนหลัก
จะต้ องกาหนด เช่น การจัดการ กระบวนการเรียน การเรียนแบบสืบ ให้ ผ้ เู รียนมีความรู้มี ภูมิปัญญาท้ องถิ่น ท้ องถิ่น ควรนาสิ่งที่ คือ 1) เร้ าความสนใจ 2)
แนวทางในการจัดการ เรียนรู้โดยใช้ ให้ สมบูรณ์มาก เสาะหาความรู้ การ ทักษะการคิด ควรเป็ นองค์ อยู่รอบ ๆ ตัวผู้เรียน สารวจค้ นหา 3) ลง
เรียนการสอนเพื่อให้ โครงงานเป็ นฐาน ยิ่งขึ้น โดยให้ เรียนแบบทดลอง วิเคราะห์ สังเคราะห์ ความรู้ และ หรือสิ่งที่เป็ นปัญหา ข้ อสรุป 4) สะท้ อนผล
ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะ การจัดการเรียนรู้ สอดคล้ องกับ การเรียนแบบบูรณา ประยุกต์ใช้ ประสบการณ์ที่มี ของชุมชนมากาหนด
และพฤติกรรมตาม โดยใช้ ปัญหาเป็ น เนื้อหาและ การ การใช้ เกม แก้ ปัญหาเป็ นโดยมี ส่วนของคุณธรรม ไว้ ในหลักสูตร
จุดมุ่งหมายของ ฐาน การจัดการ จุดมุ่งหมายของ คอมพิวเตอร์ บุคลากรที่มีความรู้ จริยธรรม 2) ครูควรศึกษา
หลักสูตรที่กาหนดไว้ เรียนรู้ที่เน้ นการสืบ หลักสูตร ควร โครงงาน และประสบการณ์สงู สอดแทรกอยู่ด้วย วิธีการดึงเอาสิ่งที่
โดยกาหนดให้ มี เสาะหาความรู้ ใช้ เรียงลาดับขั้นตอน วิทยาศาสตร์ คอยติดตาม 2) กระบวนการ เป็ นศาสตร์สากลเข้ า
วิธีการสอนที่ สื่อ/นวัตกรรม ที่จะนามาเสริม ตลอดจนการ สนับสนุน ฝึ กอบรม เรียนการสอน ไปผสมผสานกับ
หลากหลาย มี ส่งเสริมความคิด การเรียนรู้โดย สร้ างสรรค์ ให้ ครูอาจารย์เข้ าใจ เป็ นการผสมผสาน ความรู้ภูมิปัญญา
กิจกรรมการเรียนการ สร้ างสรรค์ ใช้ พิจารณาว่า สิ่งประดิษฐ์ ให้ เกิด มีความรู้ ทักษะ ที่ ระหว่างความรู้ ท้ องถิ่น
สอนที่ตอบสนองต่อ โปรแกรมประยุกต์ ประสบการณ์ใดจะ เป็ นนวัตกรรม เป็ น สามารถทาตาม สากล กับความรู้ 3) ครูควรศึกษา
ความต้ องการของ ที่ส่งเสริมการคิด ให้ กับผู้เรียนได้ ต้ น หลักสูตรที่ปฏิรูปได้ ท้ องถิ่นให้ ผ้ เู รียน วิธีการต่าง ๆ จาก
ผู้เรียน สร้ างสรรค์ เหมาะสมมากที่สุด จริง ได้ คิดอย่างเป็ น การไปเยี่ยมโรงเรียน
ตามลาดับ อิสระ อื่น
135
ตารางที่ 8 ผลการเรียบเรียงและสังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานสาหรับการยกร่างหลักสูตร องค์ประกอบที่ 5 แนวทางการจัดการเรียนรู้ (ต่อ) 136

แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ บทสรุปจากการ


คณะกรรมการ สัมภาษณ์ รายละเอียดที่สาคัญ
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ ไสว ฟักขาว Taba วิทยากร เชียงกูล ไพศาล วงค์กระโซ่
การศึกษาแห่งชาติ
(2557) (2559) (1966) (2560) (2557) (2541)
ผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง
และมุ่งต่อยอดสู่การ และนอกจากนั้นการ 3) การจัดการ 4) ในการจัดการ แนวการใช้ ส่อื ประกอบ
พัฒนาความสามารถ ปรับวิธีเรียนเปลี่ยน เรียนการสอนโดย เรียนการสอนเรื่อง 1) การใช้ ใบกิจกรรมที่
ในการสร้ างสรรค์ วิธีสอน ยังมีความ นาความรู้และ ใดเรื่องหนึ่งเป็ นการ ส่งเสริมการคิด
สิ่งประดิษฐ์โดย จาเป็ นเร่งด่วนโดย ประสบการณ์ของ เฉพาะ ครูควรดึง สร้ างสรรค์ 16 กิจกรรม
บูรณาการภูมิปัญญา การปฏิรูปวิธีการ ปราชญ์ท้องถิ่นมา ศักยภาพ ภูมิปัญญา นาเข้ าสู่บทเรียน
ท้ องถิ่นในชุมชน เรียนการสอน และ จัดกิจกรรมการ ท้ องถิ่นเข้ ามาร่วม 2) การศึกษาแหล่งภูมิ
มาร่วมสร้ างสรรค์ การประเมินผล เรียนการสอน เป็ นวิทยากร หรือ ปัญญาท้ องถิ่นในพื้นที่
และส่งเสริมความ ผู้เรียนให้ เป็ นการ หรืออาจให้ เป็ นที่ปรึกษา ระดม ใกล้ โรงเรียน
เข้ มแข็งในชุมชน สอนแบบเน้ นการ ปราชญ์ท้องถิ่น บุคลากรคณะบุคคล 3) ปฏิบัติการสร้ าง
เรียนรู้ภาคปฏิบัติ เป็ น ผู้ดาเนิน ที่เข้ าใจ ในการศึกษา นวัตกรรม
และโลกความจริง กิจกรรมการเรียน เช่น วิทยากรท้ องถิ่น 4) การนาเสนอ
คิดวิเคราะห์ การสอนแทน ให้ เข้ ามามีส่วนร่วม นวัตกรรมและการ
ประยุกต์ใช้ เป็ น ในการจัดการเรียน เผยแพร่นวัตกรรมใน
แก้ ปัญหาได้ การสอน รูปแบบที่เหมาะสม
5) ครูควรจัดให้ มี
กระบวนการเรียน
การสอนที่
หลากหลาย ไม่ยึด
แต่หนังสือเรียน
เท่านั้น
ตารางที่ 9 ผลการเรียบเรียงและสังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานสาหรับการยกร่างหลักสูตร องค์ประกอบที่ 6 สื่อและแหล่งเรียนรู้

แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ บทสรุปจากการ


รายละเอียด
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ บุญเลี้ยง ทุมทอง Saylor & Alexander วันเพ็ญ พวงพันธ์บุตร ไสว ฟักขาว วีระพงษ์ แสงชูโต สัมภาษณ์
ที่สาคัญ
(2557) (2554) (1974) (2542) (2559) (2552) ผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง
สื่อการเรียนรู้เป็ น การนาหลักสูตรไปใช้ การนาหลักสูตรไป ภูมิปัญญาท้ องถิ่น แนวทางการบูรณา แหล่งวิทยาการใน โรงเรียนมีบทบาท ผู้วิจัยนามากาหนดการใช้
เครื่องมือที่สนับสนุน (Curriculum ใช้ เป็ นขั้นการใช้ (Local Wisdom) การกิจกรรม ท้ องถิ่นเป็ นแหล่ง และหน้ าที่ในการให้ สื่อและแหล่งเรียนรู้ให้ มี
กระบวนการจัดการ Implementation) คือ หลักสูตรหรือจัด หรือภูมิปัญญา ส่งเสริมความคิด รวบรวมการ ความรู้ จัดมวล ความหลากหลาย
เรียนรู้ให้ ผ้ เู รียน วิธีการที่นาเอา กิจกรรมการเรียนรู้ ชาวบ้ าน หมายถึง สร้ างสรรค์ในการ เปลี่ยนแปลงที่มี ประสบการณ์อย่าง สอดคล้ องกับ
เข้ าถึงความรู้ ทักษะ หลักสูตรสู่การจัดการ ที่หลักสูตรจะ พื้นเพ รากฐานของ จัดการเรียนการ มาตั้งแต่อดีต กว้ างขวางและเป็ น วัตถุประสงค์และ
กระบวนการและ เรียนรู้ให้ บรรลุ กาหนดแนวทางให้ ความรู้ชาวบ้ าน สอนตามหลักสูตร จนถึงปัจจุบันที่ ระบบ โดยการ กิจกรรม ส่งเสริมให้
คุณลักษณะตาม จุดมุ่งหมายของ ผู้สอนวางแผนและ ความเหมือนกันของ ในการส่งเสริม เหมาะสมและ ยึดถือหลักสูตรที่ ผู้เรียนเกิดความเข้ าใจ
มาตรฐานของ หลักสูตร จัดกิจกรรมการ ภูมิปัญญาไทยและ ความคิดสร้ างสรรค์ สอดคล้ องกับ กาหนดเป็ นแนวทาง และเรียนรู้ได้ รวดเร็วขึ้น
หลักสูตร ควรเลือกใช้ ประกอบด้ วย การ เรียนรู้ในรูปแบบ ภูมิปัญญาท้ องถิ่น ของผู้เรียนนั้น การดาเนินชีวิตใน ในการปฏิบัติ สามารถบรรลุ
สื่อการเรียนรู้ที่มี แปลงหลักสูตรสู่การ ต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อ คือ เป็ นองค์ความรู้ ผู้เรียนจะต้ องมี โรงเรียน ดังนั้น จัดการเรียนการสอน วัตถุประสงค์ของ
คุณภาพ มีความ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้เรียนในการบรรลุ และเทคนิคที่ ความเข้ าใจอย่าง แหล่งวิทยาการใน หลายรูปแบบและใช้ หลักสูตร เช่น แหล่ง
เหมาะสม มีความ การจัดเตรียมสิ่ง จุดมุ่งหมายของ นามาใช้ ในการ ลึกซึ้งในเนื้อหาที่ ท้ องถิ่นเป็ นแหล่ง วิธีการสอนแบบต่าง เรียนรู้ชุมชนชน และการ
หลากหลายสอดคล้ อง อานวยความสะดวก หลักสูตรรวมถึง แก้ ปัญหาและการ และกระบวนการคิด ความรู้เกี่ยวกับ ๆ ทั้งในรูปการสอน เรียนรู้จากการศึกษาใน
กับวิธีการเรียนรู้ เช่น สื่อ วัสดุอุปกรณ์ การจั ด ท ่
าสื อ ตั ด สิ น ่
ใจซึ ง ได้ ร บ
ั สร้ างสรรค์ โดยวิธี ภูมิปัญญาท้ องถิ่น รายวิชานั้น ๆ แหล่งพื้นที่จริง
เนื้อหาและความ สภาพแวดล้ อมของ เตรียมการวัสดุ การถ่ายทอดและ ต่อไปนี้ จึงเป็ นสิ่งที่มี โดยตรง การจัด
แตกต่างระหว่าง ห้ องเรียน อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ เชื่อมโยง มาอย่าง 1) จัดทาสื่อฝึ กการ คุณค่ายิ่งที่ครูควร กิจกรรมส่งเสริม
บุคคล ส่งเสริมการเรียนรู้ ต่อเนื่อง ตั้งแต่อดีต คิดสร้ างสรรค์ นามาใช้ ให้ เกิด สนับสนุน การจัด
ของผู้เรียน จนถึงปัจจุบัน รวมทั้งเลือก ประโยชน์ในการ ชุมนุมต่าง ๆ การ
โปรแกรมประยุกต์ เรียนการสอน จัดทัศนศึกษา
มาให้ ผ้ เู รียนฝึ กใช้ ได้ มากที่สุด
การคิดสร้ างสรรค์
137
ตารางที่ 9 ผลการเรียบเรียงและสังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานสาหรับการยกร่างหลักสูตร องค์ประกอบที่ 6 สื่อและแหล่งเรียนรู้ (ต่อ) 138

แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ บทสรุปจากการ


รายละเอียด
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ บุญเลี้ยง ทุมทอง Saylor & Alexander วันเพ็ญ พวงพันธ์บุตร ไสว ฟักขาว วีระพงษ์ แสงชูโต สัมภาษณ์
ที่สาคัญ
(2557) (2554) (1974) (2542) (2559) (2552) ผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง
2) จัดกิจกรรมการ การเลือกใช้ วัสดุ
เรียนรู้โดยมีการฝึ ก อุปกรณ์ สื่อการสอน
ทักษะการคิด ตลอดจนเทคนิค
สร้ างสรรค์ตาม วิธีการสอนของ
แผนการจัดการ บุคลากรผู้สอนและ
เรียนรู้ที่กาหนด ผู้ส่งเสริมการสอน
3) วัดและ เหล่านี้จะช่วย
ประเมินผลการ ส่งเสริมให้ โรงเรียน
จัดการเรียนรู้ด้าน ได้ ทาหน้ าที่
การสร้ างสรรค์ โดยเฉพาะในเรื่อง
ร่วมกับนวัตกรรม การสอนที่ส่งเสริม
การเรียนรู้ด้านอื่น ความคิดสร้ างสรรค์
ๆ ให้ ได้ ผลดี
4) การทาวิจัยเพื่อ
พัฒนากระบวนการ
จัดการเรียนรู้ที่
ส่งเสริมความคิด
สร้ างสรรค์
ตารางที่ 10 ผลการเรียบเรียงและสังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานสาหรับการยกร่างหลักสูตร องค์ประกอบที่ 7 แนวทางการวัดและประเมินผล

แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ บทสรุปจากการ


รายละเอียด
ทัศนีย์ บุญเติม ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ Taba อารี พันธ์มณี Anderson Jellen & Urban สัมภาษณ์
ที่สาคัญ
(2551) (2557) (1962) (2547) (1959) (2005) ผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง
วิธีการประเมินการ การออกแบบวิธีการ การประเมินผล วิธีการวัดความคิด ได้ เสนอการประเมิน แบบทดสอบ วิธีการประเมินผล ข้ อสรุปจากการวิเคราะห์
เรียนรู้สามารถ ประเมินผลจะต้ องมี ผู้พัฒนาหลักสูตร สร้ างสรรค์ได้ ความคิดสร้ างสรรค์ “ทีซีที – ดีพี” โดยการประเมิน แนวคิดต่าง ๆ ผู้วิจัยจึง
จาแนกได้ หลายแบบ ความสอดคล้ องกับ ต้ องประเมินว่า ประกอบด้ วย ควรประเมินในมิติ (TCT – DP) ความสามารถและ ได้ สรุปการประเมินดังนี้
เช่น การประเมิน จุดมุ่งหมาย เนื้อหา จุดมุ่งหมายใด 1) การสังเกต เป็ น อื่น ๆ เพิ่มเติมตาม เป็ นแบบสอบที่ ระดับความก้ าวหน้ า การประเมินในหลักสูตร
เพื่อวินิจฉัยเพื่อ และแนวทางการ บรรลุผลตามที่ วิธีการในการวัด ความเหมาะสม ใช้ กระดาษและ ในการเรียนรู้ที่ ครั้งนี้จึงกาหนดวิธีการวัด
ประเมิน จัดการเรียนการสอน กาหนดไว้ ความคิดสร้ างสรรค์ 1) คุณลักษณะของ ดินสอเป็ น แท้ จริงของผู้เรียน ความสามารถในการสร้ าง
ความก้ าวหน้ าและ ควรกาหนดรูปแบบ เนื้อหาวิชาหรือ ที่แสดงออกมาในเชิง คนสร้ างสรรค์ เครื่องมือหลัก เน้ นการประเมินเพื่อ นวัตกรรมของผู้เรียนจาก
การประเมินเพื่อสรุป ของการประเมินผลให้ ประสบการณ์ได้ ทา สร้ างสรรค์ จากการ (Characteristic of ใช้ ทดสอบเป็ น พัฒนาความก้ าวหน้ า นวัตกรรม หรือ
ซึ่งแนวโน้ มในการ สอดคล้ องกับ ให้ เกิดการเรียนรู้ ทากิจกรรมต่าง ๆ the Creative รายบุคคลหรือ ในแต่ละขั้นเพื่อ นวัตกรรมของผู้เรียนและ
ประเมินที่นิยมใน พฤติกรรมที่ต้อง ตามที่ได้ ต้งั 2) การวาดภาพ Person) เช่น ความ รายกลุ่มโดยมี พัฒนาผู้เรียน ซึ่งครู กระบวนการสร้ าง
ปัจจุบัน คือ การ ประเมินทั้งด้ านพุทธิ จุดมุ่งหมายไว้ เป็ นการให้ เด็กวาด เชื่อมั่นในตนเอง สิ่งที่กาหนดให้ ผู้จัดกิจกรรมการ นวัตกรรม
ประเมินแบบ พิสัย ด้ านทักษะพิสัย หรือไม่ และ ภาพจากสิ่งเร้ าที่ ความมุ่งมั่น การเปิ ด เป็ นสิ่งเร้ าที่จัด เรียนรู้ต้องประเมิน
ทางเลือก เช่น การ และด้ านจิตพิสัย พิจารณาว่าจะใช้ กาหนด สามารถสื่อ ใจกว้ างในการเรียนรู้ ไว้ ในรูปแบบ ความสามารถในการ
ประเมินในสภาพ วิธีการประเมินผล ความหมายได้ เรื่องใหม่ กล้ าเสี่ยง ของชิ้นส่วนเล็ก ปฏิบัติรวมถึง
จริง การประเมิน อย่างไร มี 3) การสัมภาษณ์ 2) กระบวนการของ ๆ ที่มีขนาดและ ประเมินนวัตกรรม
สมรรถนะการ อะไรบ้ างที่จะ เป็ นการสอบถาม ความคิดสร้ างสรรค์ รูปร่างแตกต่าง และกระบวนการ
ประเมินที่อิงผลลัพธ์ นามาช่วยในการ ความรู้สึกนึกคิดของ (Creative Process) กัน มีรูปครึ่ง สร้ างนวัตกรรม
การมีภาระงานที่ ประเมินโดยทั้งครู เด็ก เพื่อให้ เด็กได้ เป็ นการวัดและ วงกลม เรียนรู้ของผู้เรียนที่
กาหนดให้ ทา มีแฟ้ ม และผู้เรียนร่วมกัน อธิบายหรือบรรยาย ประเมินกระบวนการ จาเป็ นตลอดเวลา
สะสมงาน มีการใช้ กาหนดวิธีการ เกี่ยวกับสิ่งที่เห็น สร้ างนวัตกรรมที่ ในขณะปฏิบัติ
การบันทึกและการ ประเมินด้ วย อย่างอิสระ ได้ มาซึ่งนวัตกรรมที่ กิจกรรมของแต่ละ
รายงาน สร้ างสรรค์ ขั้นตอน
139
ตารางที่ 10 ผลการเรียบเรียงและสังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานสาหรับการยกร่างหลักสูตร องค์ประกอบที่ 7 แนวทางการวัดและประเมินผล (ต่อ) 140

แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ บทสรุปจากการ


รายละเอียด
ทัศนีย์ บุญเติม ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ Taba อารี พันธ์มณี Anderson Jellen & Urban สัมภาษณ์
ที่สาคัญ
(2551) (2557) (1962) (2547) (1959) (2005) ผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง
4) การเขียนตอบ 3) ผลผลิตของ รูปมุมฉาก รูป แล้ วนาผลมาพัฒนา
เป็ นการให้ ผ้ เู รียน ความคิดสร้ างสรรค์ สี่เหลี่ยมจัตุรัส ปรับปรุงให้ ดีย่งิ ขึ้น
เขียนเรียงความใน (Creative แบบที่ไม่ ต่อไป ตลอดจน
ประเด็นที่กาหนด Production) เป็ น สมบูรณ์ รูปรอย ประเมินเพื่อตัดสิน
โดยการบรรยาย การประเมิน เส้ นปะ รูปเส้ น ผลการเรียนตามที่
แสดงความรู้สึก นวัตกรรมหรือ โค้ งคล้ ายตัว S กาหนดไว้
จินตนาการที่สนใจ หลักฐานของการ ซึ่งอยู่ภายใน
5) การทดสอบ กระทา ที่เป็ น และภายนอก
ความคิดสร้ างสรรค์ ผลสาเร็จที่เกิดจาก ของกรอบ
เพื่อการวัดระดับ ความคิดสร้ างสรรค์ สี่เหลี่ยมใหญ่
ความคิดสร้ างสรรค์ การตอบสนอง
6) การวัดความคิด สิ่งเร้ า ได้ อย่าง
สร้ างสรรค์อีกวิธีที่ อิสระ โดยการ
แสดงให้ เห็นว่าเด็กมี วาดภาพขึ้นใน
ความคิดสร้ างสรรค์ ขอบเขตของ
อย่างเป็ นรูปธรรม ช่วงเวลาที่
โดยการถ่ายโอน กาหนดให้ และมี
กระบวนการ เกณฑ์สาหรับ
สร้ างสรรค์สู่การ ยึดถือเป็ นหลัก
ออกแบบหรือการ ในการประเมิน
ประดิษฐ์ คุณค่าความคิด
สร้ างสรรค์
141

จากผลการสังเคราะห์เอกสารและข้ อมูลพื้นฐาน รวมทั้งผู้วิจัยได้ นาข้ อค้ นพบของการ


วิจัยในระยะที่ 1 การศึกษาเอกสารและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน มาประกอบการยกร่ างหลักสูตร
กิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญา
ท้ องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู ตามองค์ประกอบที่ได้ จากการสังเคราะห์
โดยอาศั ย แนวทางการจั ด ท าหลัก สูต ร ประกอบด้ ว ย การร่ า งองค์ ป ระกอบของหลัก สูต ร ร่ า ง
แผนการจัดการเรียนรู้ ร่างขั้นตอนการจัดกิจกรรม ร่างสื่อและแหล่งเรียนรู้ ตลอดจนร่างการวัด
และการประเมิ น ผล ก่ อ นที่จ ะน าหลั ก สู ต รไปตรวจสอบคุ ณ ภาพโดยการสนทนากลุ่ม (Focus
Group) จากผู้เชี่ยวชาญเพื่อวิพากษ์หลักสูตร สรุปได้ ดังนี้
2.1.1.1) ร่ างองค์ประกอบของหลักสู ตร จากการสังเคราะห์กระบวนการ
ข้ างต้ น ผู้วิจัยได้ กาหนดองค์ประกอบของหลักสูตรเป็ น 7 องค์ประกอบ ดังนี้
1) หลักการและเหตุผล
2) ปรัชญาและแนวคิดทฤษฎี
3) จุดมุ่งหมาย
4) โครงสร้ างหลักสูตร
5) แนวทางการจัดกิจกรรม
6) สื่อและแหล่งเรียนรู้
7) แนวทางการวัดและประเมินผล
2.1.1.2) ร่ า งแผนการจั ด การเรี ย นรู ้ จากการสั ง เคราะห์ โ ครงสร้ า งของ
หลักสูตรข้ างต้ น ผู้วิจัยนาเสนอให้ เห็นภาพของความสัมพันธ์ระหว่างขอบข่ายสาระการเรียนรู้และ
องค์ประกอบของการพัฒนาการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่
บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยแสดงให้ เห็นความเชื่อมโยงดังตารางที่ 11 ต่อไปนี้

ตารางที่ 11 ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยการเรียนรู้ หัวข้ อหรือสาระการเรียนรู้


ผลการเรียนรู้และเวลาเรียน

เวลา
หน่วยการเรียนรู ้ หัวข้อ / สาระการเรียนรู ้ ผลการเรียนรู ้
(ชม.)
1. การสร้ างแรง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 1) วิเคราะห์สถานการณ์ตัวอย่างให้ เห็ นคุณค่าและเกิ ด แรง 1
บันดาลใจ ปฐมนิเทศ บันดาลใจในการสร้ างนวัตกรรม
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 1) วิเคราะห์สถานการณ์ตัวอย่างให้ เห็ นคุณค่าและเกิ ด แรง 1
แรงบันดาลใจ บันดาลใจในการสร้ างนวัตกรรม
2. การรวบรวม แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 1) สืบค้ นข้ อมูลจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ตระหนักถึง 1
ข้ อมูล การสืบค้ นข้ อมูล จริยธรรมในการใช้ ข้อมูลอย่างสร้ างสรรค์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 1) อธิบายเกี่ยวกับกระบวนการคิดสร้ างสรรค์ 1
ภูมิปัญญาท้ องถิ่นกับความคิด 2) อธิ บ ายถึ ง ความส าคั ญของภูมิปั ญ ญาท้ องถิ่ นในจั ง หวัด
สร้ างสรรค์ หนองบัวลาภู
142

ตารางที่ 11 ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยการเรียนรู้ หัวข้ อหรือสาระการเรียนรู้


ผลการเรียนรู้และเวลาเรียน (ต่อ)

เวลา
หน่วยการเรียนรู ้ หัวข้อ / สาระการเรียนรู ้ ผลการเรียนรู ้
(ชม.)
3. การศึกษา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 1) อธิบายและสร้ างองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้ องถิ่นใน 2
แหล่งภูมิปัญญา ภูมิปัญญาท้ องถิ่นเกี่ยวกับ จังหวัดหนองบัวลาภู
1) ความเชื่อ/ศาสนา 2) ระบุปัญหาและสร้ างแนวคิดการออกแบบนวัตกรรมจาก
2) ประเพณี/พิธีกรรม การวิเคราะห์ภูมิปัญญาท้ องถิ่น
3) ศิลปะการแสดง
4) การละเล่น-กีฬา

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 1) อธิบายและสร้ างองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้ องถิ่นใน 2


ภูมิปัญญาท้ องถิ่นเกี่ยวกับ จังหวัดหนองบัวลาภู
1) อาหารและผักผลไม้ 2) ระบุปัญหาและสร้ างแนวคิดการออกแบบนวัตกรรมจาก
2) การดารงชีวิตตาม การวิเคราะห์ภูมิปัญญาท้ องถิ่น
สภาพแวดล้ อม
3) งานช่างฝี มือ
4) สมุนไพรตารายา

4. การสร้ าง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 1) ระบุปัญหาและสร้ างแนวคิดการออกแบบนวัตกรรมจาก 1


นวัตกรรม ระบุปัญหา การวิเคราะห์ภูมิปัญญาท้ องถิ่น
การหาไอเดีย

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 1) สร้ างนวัตกรรมหรือนวัตกรรมจากการวิเคราะห์ภูมิปัญญา 7


กระบวนการสร้ างนวัตกรรม ท้ องถิ่นและนาเสนอนวัตกรรม

5. เผยแพร่ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 1) เขียนรายงานผลการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญา 1


นวัตกรรม การจัดทารายงาน/การ ท้ องถิ่น จังหวัดหนองบัวลาภู
นาเสนอนวัตกรรม 2) นาความรู้ความเข้ าใจเกี่ยวกับเทคนิคการนาเสนอ
นวัตกรรมไปวางแผนและจัดนิทรรศการได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 1) น าความรู้ ความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ เทคนิ ค การน าเสนอ 1
ปัจฉิมนิเทศและนิทรรศการ นวัตกรรมไปวางแผนและจัดนิทรรศการได้
แสดงนวัตกรรม

รวม 18
143

2.1.1.3) ร่างขั้นตอนการจัดการเรียนรู ้
เพื่ อ ให้ ก ารใช้ ห ลั ก สู ต รกิ จ กรรมการคิ ด สร้ า งสรรค์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม
ความสามารถในการสร้ างนวัต กรรมที่บูร ณาการภูมิ ปัญญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ย นมั ธ ยมศึกษา
จังหวัดหนองบัวล าภู บรรลุตามจุ ดมุ่งหมาย จึงได้ กาหนดขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4
ขั้นตอนหลัก คือ 1) เร้ าความสนใจ 2) สารวจค้ นหา 3) ลงข้ อสรุป 4) สะท้ อนผล มีรายละเอียด
ดังนี้
1) เร้าความสนใจ ผู้วิจัยได้ ออกแบบกิจกรรมในขั้นนา ที่เน้ น การ
ฝึ กทักษะการคิดสร้ างสรรค์ โดยนาแนวคิดของ Frank E. Williams ที่เสนอกิจกรรมส่งเสริมและ
พัฒนาความคิดสร้ างสรรค์ (อารี พันธ์มณี, 2537) มาแทรกในกิจกรรมส่งเสริมการคิดสร้ างสรรค์
โดยใช้ ใ นขั้ น เร้ า ความสนใจของทุ ก ๆ ชั่ ว โมง จ านวน 16 กิ จ กรรม ซึ่ ง เป็ นขั้ น ตอนการสร้ า ง
ความคุ้นเคยให้ ผ้ ูเรียนไว้ วางใจ เข้ าใจบทบาทของครูผ้ ูสอน สร้ างบรรยากาศการเรียน ใช้ คาถาม
เพื่อชี้นาถึงปัญหาต่าง ๆ ตลอดจนเตรียมความพร้ อมของผู้เรียนทั้งด้ านร่างกาย สติปัญญาเน้ นที่
สมองปลอดโปร่ง หรือเปิ ดสมองพร้ อมรับข้ อมูล ด้ วยการนั่งสมาธิ หรือทากิจกรรมอื่น ๆ ตาม
ความเหมาะสม
2) สารวจค้นหา เป็ นขั้นที่ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้
การนาเสนอเนื้อหาสาระที่จาเป็ นต่อการส่งเสริมการคิดสร้ างสรรค์ การศึกษาจากตัวแบบ เรียนรู้
จากบุคคลที่ประสบความสาเร็จ การปฏิบัติสร้ างนวัตกรรมด้ วยการลงมือทาจริง นอกจากนั้นยังใช้
เทคนิคการศึกษานอกสถานที่ เป็ นกิจกรรมหลักและจุดเด่นที่นานักเรียนลงพื้นที่ศึกษาแหล่งเรียนรู้
ภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยมีข้นั ตอนดังนี้
- การเตรียมข้ อมูล ก่อนออกเดิน ทาง ซึ่งนักเรียนจะได้ สื บ ค้ น
ข้ อมูล โดยใช้ เทคโนโลยี (Smart Phone) เป็ นอุปกรณ์ช่วยในการสืบค้ น พร้ อมทั้งเตรียมเนื้ อ หา
ประกอบการเรียนรู้ในสถานที่จริง
- การเข้ าศึกษาแหล่งเรียนรู้ภมู ิปัญญาท้ องถิ่น นักเรียนจะได้ ใช้
ความสามารถทางด้ านเทคโนโลยีในการเก็บรวบรวมข้ อมูล เช่น การบันทึกภาพนิ่ง การบันทึกภาพ
เคลื่อนไหว การจัดทาคลิปแนะนาสถานที่ ข้ อมูล ความรู้ ตลอดจนเทคนิคการตัดต่อ VDO เพื่อ
นาเสนอเนื้อหาที่ได้ ลงพื้นที่
3) ลงข้อ สรุ ป เป็ นขั้ น ที่ค รู ผ้ ู ส อนและนั ก เรี ย นร่ ว มกั น สรุ ป องค์
ความรู้และประเด็นเนื้อหาที่เกิดจากกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละชั่วโมง เพื่อให้ เกิดการรู้แจ้ ง
เห็นชัด ตลอดจนเกิดความเข้ าใจจากสถานการณ์ท่กี าหนดให้ ผู้เรียนประมวลผลความรู้จากข้ อมูล
ที่ผ่านการรวบรวม และการวิเคราะห์ และสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในการคิดสร้ างสรรค์
นวั ต กรรม หรื อ นวั ต กรรมต่ อ ไป นอกจากนั้ น ยั ง ร่ ว มกั น สรุป ผลและประเมิ น ผล ที่มุ่ ง เน้ น การ
ประเมินพฤติกรรมที่ติดตัวไปกับผู้เรียนและประเมินนวัตกรรม โดยผู้สอนต้ องยึดวัตถุประสงค์
เป้ าหมาย พฤติกรรมบ่งชี้ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ท่ตี ้งั เอาไว้
144

4) สะท้อนผล ขั้นนี้เป็ นขั้นตอนที่นักเรียนนาข้ อมูลจากการรวบรวม


ด้ วยเครื่องมือและเทคโนโลยี มานาเสนอหน้ าชั้นเรียน เพื่อให้ สมาชิกได้ วิพากษ์และสะท้ อนองค์
ความรู้ ให้ เกิดแนวคิดและประเด็นที่จะพัฒนาให้ เกิดนวัตกรรม ตลอดจนเผยแพร่คลิป VDO ใน
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต อย่างสร้ างสรรค์ โดยใช้ เทคนิคแบบสืบเสาะ เป็ นการอภิปรายแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ร่วมกันกับผู้เรียน หรือกิจกรรมที่ฝึกฝนการสร้ างนวัตกรรม รวมทั้งการระดมสมอง ซึ่งเป็ น
ขั้นที่นักเรียนในแต่ละกลุ่มหรือแต่ละคนช่วยกันแสดงความคิดเห็นในสถานการณ์หรือปัญหาที่ครู
กาหนดให้ อีกทั้งยังเป็ นการแลกเปลี่ยนแนวคิดในกลุ่ม ก่อให้ เกิดการทางานร่วมกัน เกิดภาวะผู้นา
และผู้ตามในกิจกรรมนั้น ๆ ซึ่งแต่ละกิจกรรมจะใช้ เวลาประมาณ 5 – 10 นาที โดยนักเรียนมีส่วน
ร่วมในการอภิปรายคัดสรรค์ ที่เกิดหลังจากการระดมสมอง เพื่อให้ ได้ ข้อมูลที่มีความหลากหลาย
ข้ อมูล ต่ าง ๆ เหล่ านั้นจะถู ก นามาคั ด กรองหรื อผ่ านกระบวนการวิ เ คราะห์ และสังเคราะห์ จ น
กลายเป็ นองค์ความรู้ หรือความคิดของกลุ่ม อย่างลงตัว และดาเนินการอย่างสร้ างสรรค์ พร้ อมทั้ง
ได้ แสดงออกอย่างมีส่วนร่วม
2.1.1.4) ร่างสื่อและแหล่งการเรียนรู ้ ผู้วิจัยได้ พิจารณาจากเป้ าหมายของ
การจัดการเรียนรู้ เนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้ตามขั้นตอนการส่งเสริมการคิดสร้ างสรรค์ เพื่ อ
ส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้ องถิ่น แล้ วคัดเลือกให้ มีความ
เหมาะสมอยู่ในความสนใจของนักเรียน และกระตุ้นให้ เกิดการเรียนรู้ โดยเลือกแหล่งเรียนรู้ ภูมิ
ปัญญาท้องถิ่นดังต่อไปนี้
1) ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับความเชื่อและศาสนา
สถานที่ : พิพิธภัณฑ์หลวงปู่ ขาว วัดถา้ กองเพล
ต.โนนทัน อ.เมือง จ.หนองบัวลาภู
2) ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับประเพณีและพิธีกรรม
สถานที่ : แหล่งโบราณคดีบ้านกุดกวางสร้ อยและกุดคอเมย
ต.กุดคอเมย อ.โนนสัง จ.หนองบัวลาภู
3) ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับศิลปะการแสดง
สถานที่ : หมู่บ้านราวงคองก้ า บ้ านขาม ต.บ้ านขาม
อ.เมือง จ.หนองบัวลาภู
4) ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับอาหารและผักผลไม้
สถานที่ : วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตภัณฑ์แปรรูปปลา บ้ านห้ วยบง
ต.โนนเมือง อ.โนนสัง จ.หนองบัวลาภู
5) ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับการละเล่นและกีฬา
สถานที่ : การละเล่นบักกั๊บแก๊บ บ้ านส้ มป่ อย
ต.นาด่าน อ.สุวรรณคูหา จ.หนองบัวลาภู
145

6) ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับงานช่างฝี มือ
สถานที่ : หมู่บ้านหัตกรรมปั้นหม้ อ บ้ านโค้ งสวรรค์
ต.โนนทัน อ.เมือง จ.หนองบัวลาภู
7) ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับสมุนไพรตารายา/การแพทย์ท้องถิ่น
สถานที่ : เมืองหมอยา กลุ่มสมุนไพร ต.โนนเมือง
อ.นากลาง จ.หนองบัวลาภู
8) ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับการดารงชีวิตตามสภาพแวดล้ อม
ทางธรรมชาติ
สถานที่ : โสภาฟาร์มเกษตรอินทรีย์ ต.หนองบัว อ.เมือง
จ.หนองบัวลาภู
นอกจากนั้นในกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ยังมีส่ือประเภท
เอกสารประกอบให้ นั ก เรี ย นได้ ฝึ กทั ก ษะกระบวนการคิ ด สร้ า งสรรค์ ทั้ง แบบกลุ่ ม และแบบ
รายบุคคล ดังตารางที่ 12

ตารางที่ 12 สื่อประเภทใบกิจกรรม

กลวิธีการฝึ กคิดสร้างสรรค์
ใบกิจกรรม แนวคิดของ Guilford
Frank E. Williams (อ้างถึงในอารี พันธ์มณี, 2537)
1. ชาวนายุคใหม่ การอ่านอย่างสร้ างสรรค์ คิดละเอียดละออ
(Creative Reading Skill) (Elaboration)
2. คิดหาเหตุผล การฝึ กหาเหตุผล (Paradoxes) คิดยืดหยุ่น (Flexibility)
3. พินิจ พิจารณา การพิจารณาลักษณะ (Attributes) คิดละเอียดละออ
(Elaboration)
4. เหมือนหรือต่าง การเปรียบเทียบอุปมา อุปมัย (Analogies) คิดละเอียดละออ
(Elaboration)
5. เรื่องเล่าจากภาพ การบอกสิ่ ง ที่ค ลาดเคลื่ อ นจากความจริ ง คิดละเอียดละออ
(Discrepancies) (Elaboration)
6. สัตว์ใน การเปลี่ยนแปลง (Examples of Change) คิดยืดหยุ่น (Flexibility)
จินตนาการ
7. ถามให้ สุดโลก การถามยั่วยุและกระตุ้นให้ ตอบ คิดคล่อง (Fluency)
(Provocative Questions)
8. สืบหาข้ อมูล การค้ นคว้ าหาข้ อมูล (The Skill of Search) คิดคล่อง (Fluency)
ความสัมพันธ์
146

ตารางที่ 12 สื่อประเภทใบกิจกรรม (ต่อ)

กลวิธีการฝึ กคิดสร้างสรรค์
ใบกิจกรรม แนวคิดของ Guilford
Frank E. Williams (อ้างถึงในอารี พันธ์มณี, 2537)
9. โลกในอนาคต พัฒนาตน(Adjustment of Development) คิดคล่อง (Fluency)
10. ยานพาหนะ การประเมินสถานการณ์ คิดละเอียดละออ
วิเศษ (Evaluate Situations) (Elaboration)
11. คิดกลับด้ าน การเปลี่ยนแปลงความเชื่อ คิดริเริ่ม (Originality)
(Examples of Habit)
12. สัตว์พันธ์ใหม่ การสร้ างสิ่งใหม่จากโครงสร้ างเดิม คิดริเริ่ม (Originality)
(Organized Random Search)
13. ภาพมหัศจรรย์ การมองภาพในมิติต่าง ๆ (Visual Skill) คิดริเริ่ม (Originality)
14. สร้ างสรรค์คา การพัฒนาการเขียนอย่างสร้ างสรรค์ คิดริเริ่ม
(Creative Writing Skill) (Originality)
15. เราต้ องรอด การค้ นหาคาตอบจากคาถามที่กากวม คิดคล่อง
(Tolerance for Ambiguity) (Fluency)
16. เล่าข่าวใส่ไข่ การฟังอย่างสร้ างสรรค์ คิดริเริ่ม (Originality)
(Creative Listening Skill)

2.1.1.5) ร่างแนวทางการวัดผลและประเมินผล การเรียนรู้ตามหลั กสูตร


กิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญา
ท้ องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู เป็ นการเรียนรู้ท่ีนักเรียนได้ ลงมือปฏิบั ติ
จริง ดังนั้นวิธีการประเมินผลจึงเป็ นการวัดและประเมินผล โดยการประเมินความสามารถและ
ระดับความก้ าวหน้ าในการเรียนรู้ท่แี ท้จริงของนักเรียน เน้ นการประเมินเพื่อพัฒนาความก้ าวหน้ า
ในแต่ละขั้นเพื่อพัฒนานักเรียน ซึ่งครูผ้ ูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต้องประเมินความสามารถในการ
ปฏิบัติงานรวมถึงประเมินนวัตกรรมและพฤติกรรมการเรียนรู้ข องนักเรียนที่จาเป็ นตลอดเวลา
ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของแต่ละขั้นตอน แล้ วนาผลมาพัฒนาปรับปรุงให้ ดีย่ิงขึ้นต่อไป ดังนั้นการ
ประเมินในหลักสูตรครั้งนี้จึงกาหนดวิธีการวัดระดับ ความคิดสร้ างสรรค์และวัดความสามารถใน
การสร้ างนวัตกรรม หรือนวัตกรรมของผู้เรียนและกระบวนการสร้ างนวัตกรรมมีรายละเอียดดังนี้
1) ทดสอบวัดระดับความคิดสร้างสรรค์
โดยใช้ แบบทดสอบความคิ ด สร้ างสรรค์ ของ Jellen and Urban
(2005) แบบทดสอบชุ ด นี้ มี ช่ื อ ว่ า “แบบทดสอบที ซี ที – ดี พี ” (TCT - DP : The Test for
Creative Thinking - Drawing Production) เป็ นแบบทดสอบที่ใช้ กระดาษและดินสอใช้ ทดสอบ
147

เป็ นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม โดยมีสิ่งที่กาหนดให้ เป็ นสิ่งเร้ าที่จัดไว้ ในรูปแบบของชิ้นส่วนเล็กๆ ที่มี


ขนาดและรูปร่างแตกต่างกัน มีรูปครึ่งวงกลม รูปมุมฉากรูป สี่เหลี่ยมจัตุรัสแบบที่ไม่สมบูรณ์ รูป
รอยเส้ นประ รูปเส้ นโค้ งคล้ ายตัว อักษรในภาษาอังกฤษ (S) ซึ่งอยู่ภายในและภายนอกของกรอบ
สี่ เ หลี่ ย มใหญ่ การตอบสนองต่ อ สิ่ ง เร้ า ผู้ ถู ก ทดสอบสามารถตอบสนองได้ อ ย่ า งอิ ส ระตาม
จินตนาการ โดยการวาดภาพขึ้นในขอบเขต และในช่วงเวลาที่กาหนดให้ มีเกณฑ์สาหรับยึดถือเป็ น
หลักในการตรวจวัดและประเมินระดับความคิดสร้ างสรรค์ จากภาพวาด
2) ประเมินความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ประกอบด้วย
2.1) แบบประเมินนวัตกรรม
ประเมินผลผลิตที่เกิดจากการผลิตนวัตกรรมตามวิธีดาเนิน การ
โดยวัดคุณภาพจากนวัตกรรม ซึ่งเป็ นผลมาจากกระบวนการสร้ างนวัตกรรม วัดโดยใช้ แบบประเมิน
นวัตกรรม ซึ่งมีคุณลักษณะที่ใช้ ในการประเมินนวัตกรรม ประกอบด้ วย 1) ความคิดสร้ างสรรค์ 2)
คุ ณ ภาพของนวั ต กรรม 3) การเลื อ กใช้ วั ส ดุ 4) คุ ณ ค่ า ของนวั ต กรรม และ 5) การน าเสนอ
นวัตกรรม
2.2) แบบประเมินกระบวนการสร้างนวัตกรรม
ประเมินกระบวนการที่สร้ างทางเลือกของความคิดในลักษณะการ
คิดแบบอเนกนัย (Divergent Thinking) เพื่อให้ ได้ ความคิดที่หลากหลายซึ่งจะนาไปสู่ผลลัพธ์ ท่ี
ต้ องการ เกิดผลิตผลที่มีคุณภาพ โดยมีคุณลักษณะที่ใช้ ในการวัด กระบวนการสร้ างนวัต กรรม
ประกอบด้ วย 1) การวางแผน 2) การปฏิบัติงาน 3) การประเมินตนเอง 4) การปรับปรุงงาน เป็ น
แบบสังเกตและแบบบันทึกคะแนนตามกรอบกระบวนการสร้ างนวัตกรรม โดยเป็ นแบบตรวจสอบ
รายการ (Check list) 5 ระดับ
2.1.2) ผลการตรวจสอบร่ างหลัก สู ต รกิ จ กรรมการคิ ด สร้า งสรรค์เ พื่อส่ ง เสริม
ความสามารถในการสร้างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา
จังหวัดหนองบัวลาภู
2.1.2.1) ผลการวิพากษ์หลักสู ตร จากการสนทนากลุ่ม (Focus Group)
ผลการตรวจสอบในขั้นตอนนี้ ผู้วิจัยได้ นาเครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยทั้งหมด จัดส่งไปให้ ผ้ ูเชี่ยวชาญ
ที่มีประสบการณ์ จานวน 5 ท่าน เพื่อศึกษาและร่ วมสนทนากลุ่มตลอดจนการวิพากษ์หลักสูตร
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแสดงเป็ นตารางได้ ดังนี้
148

ตารางที่ 13 ผลการวิพากษ์หลักสูตร จากการสนทนากลุ่ม (Focus Group)

ข้อเสนอแนะจากผูเ้ ชี่ยวชาญ แนวทางการปรับปรุงหลักสูตร


1. หลักการและเหตุผล ไม่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับหลักการ
ไม่มีคาแนะนาจากผู้เชี่ยวชาญ และเหตุผล
2. ปรัชญาและแนวคิดทฤษฎี ไม่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับปรัชญา
ไม่มีคาแนะนาจากผู้เชี่ยวชาญ และแนวคิดทฤษฎี
3. จุดมุ่งหมาย 1) ผู้วิจัยดาเนินการปรับแก้ ไขผลการเรียนรู้ท่มี ี
ผู้เชี่ยวชาญให้ คาแนะนาว่า ความซา้ ซ้ อนกัน จัดกลุ่มผลการเรียนรู้ท่มี ี
1) ควรปรับผลการเรียนรู้ท่รี ะบุไว้ จานวน 18 ข้อ เป้ าหมายเดียวกัน จากจานวน 18 ข้ อ ลดลง
ให้ ลดน้ อยลงตามความเหมาะสมโดยพิจารณาตัด เหลือเพียง 8 ข้ อ ตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ
ผลการเรียนรู้ท่มี ีความซา้ ซ้ อนกันออก 2) ผู้วิจัยนาผลการเรียนรู้ไปแจกแจงให้ เป็ น
2) ควรปรับจุดประสงค์ในแผนการจัดการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ท่รี ะบุในแผนการจัดการ
ให้ ครอบคลุม ให้ สามารถวัดผลประเมินผลครบ เรียนรู้ โดยคานึงถึงวัตถุประสงค์ด้านความรู้
ทั้งสามส่วนคือ ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ (K) ด้ านทักษะกระบวนการ (P)
กระบวนการ (P) และด้ านเจตคติ (A) และด้ านเจตคติ (A)
4. โครงสร้ างหลักสูตร 1) ผู้วิจัยดาเนินการปรับแผนการจัดการเรียนรู้
ผู้เชี่ยวชาญได้ ให้ คาแนะนาเกี่ยวกับโครงสร้ าง ให้ พอเหมาะกับจานวนผลการเรียนรู้ท่ถี ูกปรับ
ของหลักสูตร ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ลดจานวนลงโดยการพิจารณาถึงความซา้ ซ้ อน
1) ควรปรับลดแผนการจัดการเรียนรู้ให้ มีความ ทั้งนี้แผนการสอนถูกปรับจากจานวน 12
สอดคล้ องกับโครงสร้ างและผลการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ให้ เหลือเพียง 10
2) ควรปรับลดเวลาที่ใช้ ในการจัดกิจกรรมของ แผนการจัดการเรียนรู้ ซึ่งมีความสมบูรณ์และ
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 การศึกษาแหล่งภูมิปัญญา ครอบคลุมกับเนื้อหาสาระที่กาหนดไว้
ลงแล้ วไปเพิ่มให้ กับหน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 การ 2) ผู้วิจัยดาเนินการปรับลดเวลาในหน่วยการ
สร้ างนวัตกรรม ตลอดจนโครงสร้ างของหลักสูตร เรียนรู้ท่ี 3 เรื่อง การศึกษาแหล่งภูมิปัญญา
ควรจะกาหนดเวลาเรียนเป็ นอัตราส่วน 80:20 จาก 8 ชั่วโมง ลดลงเหลือเพียง 4 ชั่วโมง และ
คือ การจัดกิจกรรมที่เน้ นทักษะการปฏิบัติร้อย นาชั่วโมงที่ถูกปรับลดไปเพิ่มในหน่วยการ
80 ของเวลาเรียนทั้งหมด และกิจกรรมที่เน้ น เรียนรู้ท่ี 4 เรื่อง การสร้ างนวัตกรรม ซึ่งเดิมมี
เนื้อหาสาระหรือองค์ความรู้ควรกาหนดเพียงร้ อย เวลาเรียน 4 ชั่วโมง จึงกลายเป็ นนักเรียนมีเวลา
20 ของเวลาเรียนทั้งหมด ในการสร้ างสรรค์นวัตกรรมเป็ นเวลา 8 ชั่วโมง
3) ควรปรับโครงสร้ างเวลาเรียนที่เป็ นโมเดล I- ซึ่งเพียงพอกับการสร้ างนวัตกรรม
BASE ให้ ความหมายของภาษาไทยและ 3) ผู้วิจัยได้ สังเคราะห์ความสอดคล้ องของ
ภาษาอังกฤษมีความสอดคล้ องกัน กล่าวคือ ภาษาอังกฤษกับชื่อภาษาไทยในหน่วยการเรียน
149

ตารางที่ 13 ผลการวิพากษ์หลักสูตร จากการสนทนากลุ่ม (Focus Group) (ต่อ)

ข้อเสนอแนะจากผูเ้ ชี่ยวชาญ แนวทางการปรับปรุงหลักสูตร


หน่วยที่ 1 สร้ างแรงบันดาลใจ (Introduction) หน่วยที่ 1 สร้ างแรงบันดาลใจ (Inspiration)
หน่วยที่ 2 การสืบค้ นข้ อมูล (Brain storming) หน่วยที่ 2 การสืบค้ นข้ อมูล (Search)
หน่วยที่ 3 การศึกษาแหล่งภูมิปัญญา (Analysis) หน่วยที่ 3 ศึกษาแหล่งภูมิปัญญา (Field Trip)
หน่วยที่ 4 ก่อร่างสร้ างนวัตกรรม (See clearly) หน่วยที่ 4 สร้ างนวัตกรรม (Artificial)
หน่วยที่ 5 เผยแพร่นวัตกรรม (Evaluation) หน่วยที่ 5 นาสู่ชุมชน (Report)
5. แนวทางการจัดการเรียนรู้ 1) ผู้วิจัยได้ ดาเนินการปรับปรุงการเลือกใช้
ผู้เชี่ยวชาญได้ ให้ คาแนะนาเกี่ยวกับแนวการ แหล่งเรียนรู้ภมู ิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งมีท้งั หมด 8
จัดการเรียนรู้ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ประเภท โดยในเบื้องต้ นผู้วิจัยเลือกแหล่ง
1) กิจกรรมในการศึกษาเรียนรู้ในแหล่งภูมิ เรียนรู้จากการขึ้นทะเบียนภูมิปัญญาท้องถิ่น
ปัญญาท้องถิ่นยังไม่สอดคล้ องกับสภาพจริง ซึ่ง โดยสานักงานวัฒนธรรมจังหวัดหนองบัวลาภู
ควรกาหนดเวลาให้ มากขึ้น เพียง 2 ชั่วโมงที่ ซึ่งระบุแหล่งเรียนรู้ในจังหวัดหนองบัวลาภู 8
กาหนดไว้ จะไม่สามารถนานักเรียนออกไปแหล่ง รายการ แต่ละแห่งกระจายอยู่ทุกอาเภอของ
เรียนรู้และเดินทางกลับมาทากิจกรรมเพื่อ จังหวัดหนองบัวลาภู ทาให้ การเดินทางไป
สรุปผลต่อที่ช้นั เรียน ควรจะดาเนินการเสนอ เรียนรู้ในแต่ละจุดใช้ เวลาและงบประมาณ
โครงการศึกษานอกสถานที่โดยใช้ เวลาช่วง ค่อนข้ างมาก ไม่เหมาะสมกับบริบทของ
วันหยุดเสาร อาทิตย์ โดยที่ดาเนินการอย่าง โรงเรียนที่มีข้อจากัดในเรื่องของงบประมาณ
ถูกต้ องตามระเบียบของการพานักเรียนทัศน ผู้วิจัยจึงปรับเปลี่ยนตามคาแนะนาของ
ศึกษานอกสถานที่ แล้ วในชั่วโมงเรียนปกติจะ ผู้เชี่ยวชาญโดยการเดินทางในแต่ละครั้งให้
เป็ นการนาเสนอองค์ความรู้และสรุปผล สามารถเข้ าเรียนรู้ได้ พร้ อมกันในหลาย ๆ จุด
การศึกษานอกสถานที่ จึงกาหนดให้ การดาเนินทางไปศึกษาแหล่ง
2) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนควรให้ เรียนรู้จาก 8 ครั้ง ลดลงเหลือ 2 ครั้งโดยแต่ละ
ผู้เรียนได้ ออกแบบโครงร่างของนวัตกรรมหรือ ครั้งผู้วิจัยจัดกลุ่มแหล่งเรียนรู้ท่ใี กล้ เคียงกัน
สิ่งประดิษฐ์ในเบื้องต้ นก่อน พร้ อมทั้งร่วมกัน และเดินทางในวันเสาร์ อาทิตย์ โดยดาเนินการ
พิจารณาถึงความเป็ นไปได้ ในการสร้ างนวัตกรรม วางแผนจัดทาโครงการรองรับและดาเนินการ
นั้น ๆ เพื่อป้ องกันความเสี่ยงในการสร้ าง ตามขั้นตอนของการพานักเรียนเข้ าศึกษาเรียนรู้
นวัตกรรม ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องของงบประมาณ นอกสถานที่ตามระเบียบของ
ความเหมาะสมของวัสดุอุปกรณ์ และ กระทรวงศึกษาธิการ
ความสามารถในการผลิตของนักเรียน
150

ตารางที่ 13 ผลการวิพากษ์หลักสูตร จากการสนทนากลุ่ม (Focus Group) (ต่อ)

ข้อเสนอแนะจากผูเ้ ชี่ยวชาญ แนวทางการปรับปรุงหลักสูตร


หากนวัตกรรมนั้นมีความเป็ นไปได้ กส็ ามารถ 2) ผู้วิจัยเขียนรายละเอียดขั้นตอนการพิจารณา
ดาเนินการตามแผนงานได้ แต่หากนวัตกรรมนั้น นวัตกรรมของนักเรียนโดยคานึงถึงความ
ไม่สามารถดาเนินการได้ กใ็ ห้ ถือว่าเป็ นนวัตกรรม เหมาะสมทุกด้ านก่อนอนุญาตให้ นักเรียนทา
ที่เป็ นโมเดลหรือแบบจาลอง และประเมินผล นวัตกรรมดังกล่าวเป็ นรายกรณี
นวัตกรรมได้ ตามเกณฑ์ท่กี าหนด
6. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 1) ผู้วิจัยปรับหลักสูตรในส่วนของแหล่งเรียนรู้
1) การกาหนดแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นอาจจะ โดยระบุ ใ ห้ แ ต่ ล ะโรงเรี ย นสามารถคั ด เลื อ ก
จาเป็ นต้ องเปิ ดโอกาสให้ โรงเรียนในท้องถิ่นนั้น แหล่งเรียนรู้ในบริบทของชุมชน โดยการมีส่วน
ๆ ได้ สารวจแหล่งเรียนรู้ภมู ิปัญญาของตนเอง ซึ่ง ร่วมของนักเรียน ผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้ อง ได้
จะมีความเหมาะสมในเรื่องของระยะทางใกล้ กาหนดและพิจารณาร่วมกัน
โรงเรียน เหมาะกับการเดินทางไปเรียนรู้ อีกทั้ง 2) ผู้วิจัยได้ ดาเนินการปรับปรุงดังนี้ จากการที่
ยังเป็ นการสืบทอดความเป็ นภูมิปัญญาของ จ าเป็ นต้ อ งลดจ านวนครั้ ง ในการเดิ น ทางไป
ท้องถิ่นนั้น ๆ อย่างใกล้ ชิด โดยเสนอว่าให้ ศึกษาแหล่งเรียนรู้ จึงปรับเปลี่ยนวิธีการบันทึก
กาหนดขั้นตอนที่แต่ละโรงเรียนได้ สารวจแหล่ง ข้ อมู ล โดยให้ นั ก เรี ย นใช้ เทคโนโลยี แ ละ
เรียนรู้ของตนเองโดยกาหนดในแผนการจัดการ เครื่องมือในการจั ด เก็บข้ อ มูล ในรู ป แบบของ
เรียนรู้ในชั่วโมงเริ่มต้ น ให้ นักเรียนได้ มีโอกาส ภาพถ่าย ภาพเคลื่อนไหวหรือคลิปวีดีโอ เพื่อ
นาเสนอแหล่งเรียนรู้ในหมู่บ้านหรือชุมชนของ นาภาพหรือข้ อมูล เหล่ านั้นกลับมานาเสนอใน
ตนเอง ชั้นเรียนปกติ
2) ควรส่งเสริมให้ นักเรียนได้ ใช้ เครื่องมือสื่อสาร
หรือเทคโนโลยีเข้ ามาช่วยในการเก็บรวบรวม
ข้ อมูลในขณะที่ศึกษาแหล่งเรียนรู้ภมู ิปัญญา
ท้องถิ่น เช่น การใช้ สมาร์ทโฟนของนักเรียนเป็ น
เครื่องมือช่วยในการบันทึกภาพหรือวีดีโอ และใช้
กระบวนการทางสื่อมัลติมีเดียให้ นักเรียน
นาเสนอข้ อมูลตามศักยภาพของตนเองอย่าง
หลากหลาย ซึ่งจะสอดคล้ องกับความสนใจของ
นักเรียนและทันยุคสมัยที่นักเรียนต้ องใช้ สมาร์ท
โฟนเป็ นเครื่องมือในการทางาน
7. แนวทางการวัดผลและประเมินผล ไม่ มี ก ารปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต รด้ า นแนวทางการ
ไม่มีคาแนะนาจากผู้เชี่ยวชาญ วัดผลประเมินผล
151

กระบวนการในระยะนี้ผ้ ูวิจัยได้ ดาเนินการสนทนากลุ่ม โดยผู้เชี่ยวชาญได้ ทาการวิพากษ์


หลักสูตร โดยรับฟังความคิดเห็นและข้ อเสนอแนะตามตารางการวิเคราะห์ข้างต้ น นอกจากนั้นยังมี
เครื่องมือในการประเมินร่างหลักสูตรโดยให้ ผ้ ูเชี่ยวชาญพิจารณาถึงองค์ประกอบต่าง ๆ และตัดสิน
ถึงความเหมาะสมโดยผู้เชี่ยวชาญ (Expert Judgments) ซึ่งปรากฏผลตามรายละเอียดของผลการ
ประเมินความเหมาะสมของหลักสูตร ดังต่อไปนี้
2.1.2.2) ผลการประเมินความเหมาะสมของหลักสูตร
ผู้ วิ จั ย ใช้ แ บบประเมิ น หลั ก สู ต รกิ จ กรรมการคิ ด สร้ า งสรรค์ เ พื่ อ
ส่ ง เสริ ม ความสามารถในการสร้ า งนวั ต กรรมที่ บู ร ณาการภู มิ ปั ญ ญาท้ องถิ่ น ของนั ก เรี ย น
มัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู โดยมีวัตถุประสงค์ให้ ผ้ ูเชี่ยวชาญ ได้ พิจารณาความเหมาะสม
ขององค์ประกอบต่ าง ๆ ของหลักสูตรว่ ามีความเหมาะสมเพียงใด ประกอบด้ วย หลักการและ
เหตุผล ปรัชญาและแนวคิดทฤษฎี จุดมุ่งหมาย โครงสร้ างหลักสูตร แนวทางการจัดการเรีย นรู้ สื่อ
และแหล่ งเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมิ นผล ซึ่งมีผลการประเมิน ปรากฏดังตารางที่ 14
ต่อไปนี้

ตารางที่ 14 ผลการตรวจสอบความเหมาะสมของหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อ


ส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น
ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู โดยผู้เชี่ยวชาญ

ข้อ รายการประเมินความเหมาะสมของหลักสูตร ̅
𝒙 S.D. แปลผล
หลักการและเหตุผล 4.15 0.81 มาก
1 หลักการมีความสอดคล้ องกับสภาพสังคมในปัจจุบัน 4.40 0.55 มาก
2 หลักการของหลักสูตรมีความเป็ นไปได้ ในการปฏิบัติจริง 4.40 0.89 มาก
3 หลักการของหลักสูตรมีแนวคิดและทฤษฎีพ้ นื ฐานรองรับ 4.00 1.00 มาก
4 สภาพปัญหาและความจาเป็ นมีเหตุผลควรพัฒนาหลักสูตร 3.80 0.84 มาก
ปรัชญาและแนวคิดทฤษฎี 3.90 0.88 มาก
5 ปรัชญา/แนวคิดทฤษฎีสอดคล้ องกับหลักการของหลักสูตร 4.20 0.84 มาก
6 ปรัชญา/แนวคิดทฤษฎีเหมาะสมและครอบคลุม 3.60 0.89 มาก
จุดมุ่งหมาย 4.15 0.75 มาก
7 จุดมุ่งหมายของหลักสูตรมีประโยชน์สาหรับผู้เรียน 4.40 0.55 มาก
8 จุดมุ่งหมายของหลักสูตรมีความชัดเจนและเป็ นไปได้ 3.80 0.84 มาก
9 จุดมุ่งหมายของหลักสูตรเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน 4.20 0.84 มาก
10 จุดมุ่งหมายเหมาะสมกับการส่งเสริมความสามารถในการ 4.20 0.84 มาก
สร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น
152

ตารางที่ 14 ผลการตรวจสอบความเหมาะสมของหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อ


ส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น
ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู โดยผู้เชี่ยวชาญ (ต่อ)

ข้อ รายการประเมินความเหมาะสมของหลักสูตร ̅
𝒙 S.D. แปลผล
โครงสร้างของหลักสูตร 3.82 1.00 มาก
11 เนื้อหาของหลักสูตรเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน 3.80 1.10 มาก
12 เนื้อหาของหลักสูตรครอบคลุมความรู้ท่ผี ้ เู รียนควรได้ รับ 3.80 0.84 มาก
13 เนื้อหาของหลักสูตรมีการบูรณาการกับภูมิปัญญาท้องถิ่น 4.00 1.00 มาก
14 เนื้อหาของหลักสูตรเหมาะสมนาไปใช้ ปฏิบัตจิ ริงได้ 4.00 1.00 มาก
15 โครงสร้ างหลักสูตรมีความเหมาะสม 3.60 0.55 มาก
16 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง การสร้ างแรงบันดาลใจ 4.60 0.55 มากที่สุด
17 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เรื่อง การสืบค้ นข้ อมูล 4.60 0.55 มาก
18 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 เรื่อง การศึกษาแหล่งภูมิปัญญา 3.60 1.34 มาก
19 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 เรื่อง การสร้ างนวัตกรรม 3.00 1.22 ปานกลาง
20 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 เรื่อง การเผยแพร่นวัตกรรมสู่ชุมชน 4.20 0.84 มาก
21 ระยะเวลาที่ใช้ ในการเรียนรู้ตามหลักสูตรมีความเหมาะสม 2.80 0.84 ปานกลาง
แนวทางการจัดการเรียนรู ้ 3.85 0.88 มาก
22 แนวทางการจัดการเรียนรู้มีความเหมาะสมกับวัย 3.80 1.30 มาก
23 แนวทางการจัดการเรียนรู้มีลาดับขั้นตอนเหมาะสม 3.80 0.84 มาก
24 แนวทางการจัดการเรียนรู้สามารถนาไปสู่การบรรลุ 4.00 0.71 มาก
จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
25 กิจกรรมการเรียนรู้มีความเป็ นไปได้ ในสภาพปัจจุบัน 3.80 0.84 มาก
สื่อและแหล่งเรียนรู ้ 3.73 0.96 มาก
26 สื่อและแหล่งเรียนรู้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน 4.00 1.00 มาก
27 สื่อและแหล่งเรียนรู้เหมาะสมกับเนื้อหาของหลักสูตร 3.60 0.89 มาก
28 สื่อและแหล่งเรียนรู้เหมาะสมที่จะนามาใช้ ในการส่งเสริม 3.60 1.14 มาก
ความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมให้ แก่ผ้ ูเรียน
แนวทางการวัดและประเมินผล 3.70 1.16 มาก
29 การประเมินผลหลักสูตรครอบคลุมสิ่งที่ต้องการประเมิน 3.40 1.14 ปานกลาง
30 มีความเป็ นไปได้ ในการนาไปสู่การปฏิบัติจริง 4.00 1.22 มาก
ค่าเฉลี่ยรวม 3.90 0.93 มาก
153

จากตารางวิ เ คราะห์ ความเหมาะสมของหลั กสู ตรกิ จ กรรมการคิ ดสร้ างสรรค์ เ พื่ อ


ส่ ง เสริ ม ความสามารถในการสร้ า งนวั ต กรรมที่ บู ร ณาการภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ย น
มัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู ข้ างต้ น พบว่า ผลการตัดสินพิจารณาโดยผู้เชี่ยวชาญ (Expert
Judgement) ให้ ความเห็นว่ า หลักสู ตรที่ส ร้ างขึ้ นในภาพรวมมี ความเหมาะสมในระดับ “มาก”
(ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.90) ในประเด็นของหลักการและเหตุผล มีความเป็ นไปได้ และนาไปใช้ ได้ จริง
มีทฤษฎีรองรับ มีความเหมาะสมในระดับ มาก (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.15) ปรัชญาและแนวคิดทฤษฎี
มีความสอดคล้ อง ครบถ้ วนตามทฤษฎีและนาไปสู่การส่งเสริมการคิดสร้ างสรรค์และความสามารถ
ในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้ องถิ่น มีความเหมาะสมในระดับ มาก (ค่ าเฉลี่ย
เท่ากับ 3.90) การกาหนดจุ ดมุ่งหมายของหลักสูตร มีความชัดเจนเป็ นไปได้ วัดค่ าได้ จริง เกิด
ประโยชน์ต่อผู้เรียน เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน มีความเหมาะสมในระดับ มาก (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ
4.15) โครงสร้ างของหลักสูตร มีความเหมาะสมสามารถปฏิบัติได้ จริ ง ครอบคลุมความรู้ท่ผี ้ ูเรียน
ควรจะได้ รับสอดคล้ องกับภูมิปัญญาท้ องถิ่น มีความเหมาะสมในระดับ มาก (ค่ าเฉลี่ยเท่ากั บ
3.82) แนวทางการจั ด การเรี ย นรู้ มี ค วามเหมาะสมกั บ วั ย ของผู้ เ รี ยน มี ล าดั บ ขั้ น ที่เ หมาะสม
สามารถนาไปสู่การบรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตรได้ มีความเหมาะสมในระดับ มาก (ค่าเฉลี่ยน
เท่ากับ 3.85) สื่อและแหล่ งเรียนรู้มีความเหมาะสมสอดคล้ องกับเนื้อหาสาระ แหล่ งเรียนรู้ภูมิ
ปัญญาท้ องถิ่น สามารถเข้ าถึงการปฏิบัติได้ อย่างลงตัว มีความเหมาะสมในระดับ มาก (ค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 3.73) แนวทางการวัดและประเมินผล มีความครอบคลุมสิ่งที่ต้อ งการประเมิน สามารถ
นาไปปฏิบัติได้ จริง มีความเหมาะสมในระดับ มาก (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.70)
จากตารางข้ อเสนอแนะด้ วยวิธีการสนทนากลุ่ม (Focus Group) และการประเมิ น
ความเหมาะสมของร่ างหลักสูตรโดยผู้เชี่ยวชาญ ผู้วิจัยได้ นาไปปรับปรุงแก้ ไข พร้ อมทั้งจัดท า
เครื่องมือวั ดผลประเมินผล และนาไปทดลองใช้ กับกลุ่ม เป้ าหมายเพื่อหาคุณภาพของหลักสูตร
ผู้ วิ จั ย จึ ง น าเสนอหลั ก สู ต รกิ จ กรรมการคิ ด สร้ า งสรรค์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม ความสามารถในการสร้ าง
นวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้ องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู ฉบับ ร่าง
ก่อนที่จะนาไปทดลองใช้ ดังต่อไปนี้
154

หลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้างสรรค์เพือ่ ส่งเสริมความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
ที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิน่ ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู
ACTIVITIES CURRICULUM TO ENHANCE CREATIVE INNOVATION ABILITIES
INTEGRATED LOCAL WISDOM OF SECONDARY STUDENTS’ NONGBUALUMPHU PROVINCE

1. หลักการ
ความคิดสร้ างสรรค์ เป็ นกระบวนการหรือปรากฏการณ์ท่ปี ระกอบให้ เป็ นรูปหรือเป็ นเรื่อง
ขึ้นในใจด้ วยการใคร่ครวญ ไต่ตรอง คาดคะเน หรือคานวณอย่างมุ่งมั่นตั้งใจ เพื่อให้ เกิดสิ่งใหม่
นวัตกรรมใหม่เพื่อมวลมนุษยชาติ ความสามารถทางด้ านการคิดสร้ างสรรค์จึงเป็ นทักษะการคิดใน
ลักษณะต่าง ๆ ที่มีองค์ป ระกอบของกระบวนการคิดที่ซับซ้ อน และเป็ นทักษะที่มีความจาเป็ นใน
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 ซึ่งหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้
กาหนดความสามารถในการคิดเป็ นสมรรถนะที่สาคัญอย่างหนึ่งของผู้เรียนตลอดหลักสูตร โดย
เน้ นที่ทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดอย่างสร้ างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิด
อย่างเป็ นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้ างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเอง
และสังคมได้ อย่ างเหมาะสม โดยให้ สอดแทรกการฝึ กทัก ษะการคิ ดในทุก กิจ กรรม ดังนั้นจาก
สภาพการณ์ข้างต้ นจึงจาเป็ นอย่างยิ่งที่ครูผ้ สู อนซึ่งเป็ นหน่วยปฏิบัติในระดับต้ นที่มีส่วนช่วยในการ
พัฒนาและยกระดับทักษะการคิดให้ กับผู้เรียน ด้ วยกิจกรรมหรือสื่อนวัตกรรมทางการศึกษาต่าง ๆ
รวมทั้งการวัดผลประเมินผลทักษะการคิดในชั้นเรียนให้ เข้ มแข็งมีประสิทธิภาพ
หลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณา
การภูมิปัญญาท้ องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู เป็ นการจัดประสบการณ์ท่ี
เน้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ โดยจุดเน้ นก็คือผู้เรียนได้ เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง (Learning
by Doing) เพื่อให้ ได้ นวัตกรรมออกมาเป็ นนวัตกรรมตามความสนใจของผู้เรียนโดยอาศัยสื่อ ใบ
กิจกรรมฝึ กทักษะการคิดสร้ างสรรค์และประสบการณ์จากการเรียนรู้ในแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นใกล้
บ้ านเป็ นฐานในการสร้ างองค์ความรู้และความคิดสร้ างสรรค์ ในการสร้ างนวัตกรรม โดยแนวทาง
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้ ได้ นวัตกรรมจึงเน้ น กระบวนการโครงการ (Project Approach)
โดยแนวคิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ (Experiential Learning) และเรียนรู้แบบนาตนเอง (Self
– Directed Learning) โดยการจัดบรรยากาศที่เอื้อต่ อการเรียนรู้ และสอดคล้ องกับ แนวการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ ซ่ึงประกอบด้ วย 1) จัดกิจกรรมการเรียนรู้โ ดยการริเริ่มสร้ างโครงการจาก
ความคิดของผู้เรียนเองตามความสนใจ ความชอบ หรือความถนัดของแต่ละคน และเชื่อมโยงกับ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น 2) จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยผู้เรียนได้ แสดงความคิดออกมาเป็ นรูปธรรมหรือ
ใช้ ส าหรับแลกเปลี่ยนกันได้ โดยใช้ ใบกิจ กรรมและอุ ป กรณ์ใ นการดาเนิ นกิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ท่ี
เหมาะสม 3) จั ด กิ จ กรรมการเรีย นรู้โดยผู้ เ รี ยนได้ วิเ คราะห์ ค วามคิด ของตนเองและน าเสนอ
นวัตกรรมเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดซึ่งกันและกัน 4) การแบ่งกลุ่มของผู้เรียนเพื่อจัดทานวัตกรรม
155

2. ปรัชญาและแนวคิดทฤษฎี
2.1 ทฤษฎี ก ระบวนการทางสมองในการประมวลข้อ มู ล (Information Processing
Theory) ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลผลข้ อมูล เป็ นทฤษฎีท่สี นใจศึกษาเกี่ยวกับ
กระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ เกี่ยวกับการทางานของสมอง เชื่อว่าการทางานของสมอง
มีความคล้ ายคลึ งกั บ การทางานของเครื่ องคอมพิ ว เตอร์ ซึ่งมีการทางานเป็ นขั้ น ตอนดัง นี้ คื อ
1) การรับข้ อมูล (Input) โดยผ่านทางอุปกรณ์หรือเครื่องรับข้ อมูล 2) การเข้ ารหัส (Encoding)
โดยอาศั ย ชุ ด คาสั่ ง หรื อ ซอฟต์ แ วร์ (Software) 3) การส่ ง ข้ อ มู ล ออก (Output) โดยผ่ า นทาง
อุปกรณ์
กระบวนการทางสมองในการประมวลข้ อมูล หากเปรียบเทียบกับคอมพิวเตอร์แล้ ว ก็คือ
โปรแกรมสั่งงาน หรือ “Software” การบริหารควบคุมการประมวลข้ อมูล ของสมอง คือ การที่
บุคคลรู้ถึงการคิดของตนและสามารถควบคุมการคิดของตนให้ เป็ นไปในทางที่ตนต้ องการ การรู้
เรียกว่า “Metacognition” หรือ “การรู้คิด” หมายถึง การตระหนักรู้ (Awareness) เกี่ยวกับความรู้
และความสามารถของตน และใช้ ความเข้ าใจในการรู้การจัดการควบคุมกระบวนการคิด ด้ วยวิธี
ต่าง ๆ ช่วยให้ การเรียนรู้และงานที่ทาประสบผลสาเร็จตามที่ต้องการ องค์ประกอบสาคัญของการรู้
คิดที่ใช้ ในการบริหารควบคุมกระบวนการประมวลข้ อมูล ประกอบด้ วยแรงจูงใจ ความตั้งใจ และ
ความมุ่งหวังต่าง ๆ รวมทั้งเทคนิคและกลวิธีต่าง ๆ กระบวนการรู้คิด ประกอบด้ วย ความใส่ใจ
(Attention) การรับรู้ (Perception) กลวิธีต่าง ๆ (Strategies) เช่น รู้ว่าตนไม่สามารถจดจาสิ่งที่ครู
สอนได้ ก็คิดหากลวิธีต่าง ๆ ที่จะมาช่วยให้ จดจาสิ่งที่เรียนได้ มากขึ้น อาจใช้ วิธีการท่อง การจด
บันทึก การท่องจาเป็ นกลอน การท่องตัวย่อ การทารหัส การเชื่อมโยงในสิ่งที่สัมพันธ์กัน เป็ นต้ น
2.2 ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist Theory) เป็ นทฤษฎีท่วี ่าด้ วยการสร้ างความรู้
ได้ มีการเปลี่ยนจากเดิมที่เน้ นการศึกษาปัจจัยภายนอกมาเป็ นสิ่งเร้ าภายใน ซึ่งได้ แก่ ความรู้ความ
เข้ าใจ หรือกระบวนการรู้คิด กระบวนการคิด (Cognitive Processes) ที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้
จากผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยภายในมีส่วนช่วยทาให้ เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย และความรู้
เดิมมีส่วนเกี่ยวข้ องและเสริมสร้ างความเข้ าใจของผู้เรียน
แนวคิดของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึม (Constructivism) หรือ เรียกชื่อแตกต่างกันไป ได้ แก่
สร้ างสรรค์ความรู้นิยม หรือสรรสร้ างความรู้นิยม หรือ การสร้ างความรู้ โดยมีแนวคิดเกี่ยวกับ
ทฤษฎี ดังนี้
1. ความรู้ของบุคคลใด คือ โครงสร้ างทางปัญญาของบุคคลนั้นที่สร้ างขึ้นจากประสบการณ์
ในการคลี่คลายสถานการณ์ท่เี ป็ นปัญหาและสามารถนาไปใช้ เป็ นฐานในการแก้ ปัญหาหรืออธิบาย
สถานการณ์อ่นื ๆ ได้
2. นักเรียนเป็ นผู้สร้ างความรู้ด้วยวิธีการที่ต่างกันโดยอาศัยประสบการณ์และโครงสร้ าง
ทางปัญญาที่มีอยู่เดิม ความสนใจและแรงจูงใจภายในตนเองเป็ นจุดเริ่มต้ น
156

3. ครูมีหน้ าที่จัดการให้ นักเรียนได้ ปรับขยายโครงสร้ างทางปัญญาของนักเรียนเองภายใต้


ข้ อสมมติฐานต่อไปนี้
- สถานการณ์ท่เี ป็ นปัญหาและปฏิสัมพันธ์ทางสังคมก่อให้ เกิดความขัดแย้ งทางปัญญา
- ความขัดแย้ งทางปั ญญาเป็ นแรงจู งใจภายในให้ เกิดกิจกรรมการไตร่ ตรองเพื่อขจัด
ความขั ด แย้ ง นั้ น Dewey ได้ อ ธิ บ ายเกี่ ย วกั บ ลั ก ษณะการไตร่ ต รอง (Contemplation) เป็ นการ
พิจารณาอย่างรอบคอบ กิจกรรมการไตร่ ตรองจะเริ่มต้ นด้ วยสถานการณ์ท่ีเป็ นปั ญหา น่ าสงสัย
งงงวย ยุ่งยาก ซับซ้ อน เรียกว่า สถานการณ์ก่อนไตร่ตรอง และจะจบลงด้ วยความแจ่มชัดที่สามารถ
อธิบายสถานการณ์ดังกล่าว สามารถแก้ ปัญหาได้ ตลอดจนพึงพอใจกับผลที่ได้ รับ
- การไตร่ตรองบนฐานแห่งประสบการณ์และโครงสร้ างทางปัญญาที่มีอยู่เดิมภายใต้ การ
มีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม กระตุ้นให้ มีการสร้ างโครงสร้ างใหม่ทางปัญญา
2.3 ทฤษฎีการเรียนรูแ้ บบร่วมมือ (Theory of Cooperative or Collaborative Learning)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนมี 3 ลักษณะ คือ
1. ลักษณะแข่งขันกัน ในการศึกษาเรียนรู้ ผู้เรียนแต่ละคนจะพยายามเรียนให้ ได้ ดีกว่าคน
อื่น เพื่อให้ ได้ คะแนนดี ได้ รับการยกย่องหรือได้ รับการตอบแทนในลักษณะต่าง ๆ
2. ลักษณะต่างคนต่างเรียน คือ แต่ละคนต่างก็รับผิดชอบดูแลตนเองให้ เกิดการเรียนรู้ ไม่
ยุ่งเกี่ยวกับผู้อ่นื
3. ลักษณะร่วมมือกันหรือช่วยกันในการเรียนรู้ คือ แต่ละคนต่างก็รับผิดชอบในการเรียนรู้
ของตน และในขณะเดียวกันก็ต้องช่วยให้ สมาชิกคนอื่นเรียนรู้ด้วย
การเรียนรู้เป็ นกลุ่มย่อยโดยสมาชิกกลุ่มที่มีความสามารถแตกต่างกันประมาณ 3 – 6
คน ช่วยกันเรียนรู้เพื่อไปสู่เป้ าหมายของกลุ่ม โดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันในลักษณะแข่งขัน
กัน ต่างคนต่างเรียนและร่วมมือกันหรือช่วยกันในการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอนตามทฤษฎีน้ ี
จะเน้ นให้ ผ้ ูเรียนช่วยกันในการเรียนรู้ โดยมีกิจกรรมที่ให้ ผ้ ูเรียนมีการพึ่งพาอาศัยกันในการเรียนรู้
มีการปรึกษาหารือกันอย่างใกล้ ชิด มีปฏิสัมพันธ์กัน มีการทางานร่วมกันเป็ นกลุ่ม มีการวิเคราะห์
กระบวนการของกลุ่ม และมีการแบ่งหน้ าที่รับผิดชอบงานร่วมกัน ส่วนการประเมินผลการเรียนรู้
ควรมีการประเมินทั้งทางด้ านปริมาณและคุณภาพ โดยวิธีการที่หลากหลายและควรให้ ผ้ เู รียนมีส่วน
ร่วมในการประเมิน และครูควรจัดให้ ผ้ ูเรียนมีเวลาในการวิเคราะห์กระบวนการและพฤติกรรมของ
สมาชิกกลุ่ม เพื่อให้ กลุ่มมีโอกาสที่จะปรับปรุงส่วนบกพร่องของกลุ่มอย่างมีส่วนร่วม
2.4 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้ างสรรค์ถือว่ าเป็ นกระบวนการทางความคิดที่มีความสาคัญต่ อเด็กทาให้ เด็ก
สามารถสร้ างความคิด สร้ างจินตนาการ ไม่ จนต่ อสถานการณ์หรือสภาพแวดล้ อมที่กาหนดไว้
ความคิดสร้ างสรรค์ คือ พลังทางความคิดที่เด็ก ๆ ทุกคนมีมาแต่กาเนิด หากได้ รับการกระตุ้น
157

การพัฒนาพลังแห่ งการสร้ างสรรค์จะทาให้ เด็กเป็ นคนมีอิสระทางความคิด มีความคิดที่ฉีกกรอบ


และสามารถหาหนทางในการที่ จ ะสร้ า งสรรค์ สิ่ ง ใหม่ ๆ ได้ เ สมอ ดั ง นั้ น การสอนความคิ ด
สร้ างสรรค์และการฝึ กฝนให้ เด็กสามารถคิดอย่างสร้ างสรรค์ จึงเป็ นส่วนหนึ่งที่ช่วยกระตุ้นคุณภาพ
ในตัวของเด็กให้ ม่ันใจในตนเองและเติบโตเป็ นผู้ใหญ่ ท่มี ีคุณภาพยิ่งขึ้น อารี พันธ์มณี (2557)
กล่ าวว่ า ความคิดสร้ างสรรค์เป็ นกระบวนการทางสมองที่คิดในลักษณะอเนกนัยอัน นาไปสู่ ก าร
คิดค้ นพบสิ่งแปลกใหม่ด้วยการคิด ดัดแปลงปรุงแต่งจากความคิดเดิมผสมผสานกันให้ เกิดสิ่งใหม่
ซึ่งรวมทั้งการประดิษฐ์ คิดค้ นสิ่ง ต่ าง ๆ ตลอดจนวิธีการคิดทฤษฎีหลัก การได้ ส าเร็จ ความคิ ด
สร้ างสรรค์จะเกิดขึ้นได้ มิใช่เพียงแต่คิดในสิ่งที่เป็ นไปได้ หรือสิ่งที่เป็ นเหตุเป็ นผลเพียงอย่างเดียว
เท่านั้น หากแต่ความคิดจินตนาการก็เป็ นสิ่งสาคัญยิ่งที่จะก่อให้ เกิดความแปลกใหม่ แต่ต้องควบคู่
กันไปกับความพยายามที่จะสร้ างความคิ ดฝัน หรือ จิน ตนาการให้ เป็ นไปได้ หรือที่เรียกว่ า เป็ น
จินตนาการประยุกต์น่นั เอง จึงจะทาให้ เกิดนวัตกรรมจากความคิดสร้ างสรรค์ข้ นึ ได้
ผู้สร้ างหลักสูตรจะนาเอาองค์ประกอบของกระบวนการคิดสร้ างสรรค์ซ่ึงจะมีส่วนส่ง เสริม
สนับสนุ นให้ ผ้ ูเรียนได้ แสดงออกทางความคิด แล้ วสะท้ อนผลออกมาในรูปของนวัตกรรม โดย
น าเอาองค์ ป ระกอบของกระบวนการคิ ด 7 ขั้ น ตอน (Osborn, 1957 อ้ า งถึ ง ใน พิ ม พ์ พั น ธ์
เตชะคุปต์, 2556) มาสังเคราะห์และประยุกต์ให้ เหมาะสมกับบริบทการจัดการเรียนการสอนของ
ท้ องถิ่นและเพื่อให้ สอดคล้ องกับวัตถุประสงค์และสะดวกในการสื่อสาร จึงปรับใช้ คาว่า “5 ระยะ
สู่การสร้ างนวัตกรรม” ซึ่งประกอบด้ วย ระยะที่ 1 การสร้ างแรงบันดาลใจ ระยะที่ 2 การสืบค้ น
ข้ อมูล ระยะที่ 3 การศึกษาแหล่ งภูมิปัญญา ระยะที่ 4 การสร้ างนวัตกรรม และระยะที่ 5 การ
เผยแพร่นวัตกรรมสู่ชุมชน
จากกระบวนการคิดสร้ างสรรค์ท้งั 5 ระยะนั้นโดยเฉพาะระยะที่ 1 สร้ างแรงบันดาลใจ ซึ่ง
ผู้พัฒนาหลักสูตรเห็นว่าเป็ นระยะที่มีความสาคัญ เนื่องจากเป็ นการสร้ างแรงจูงใจให้ กับนักเรี ยนได้
มีแนวคิดในการสร้ างนวัตกรรม โดยใช้ ประสบการณ์จากผู้ประสบความสาเร็จ มี นวัตกรรมที่เป็ น
เลิศ มาร่ วมสะท้ อนแนวคิด ประสบการณ์ในชั้นเรียน เป็ นการส่งเสริมให้ ผู้เรียนเห็นคุณค่ าและ
ตระหนักถึงความสามารถและศักยภาพของตนเองอย่างแท้ จริง และ ระยะที่ 5 นาสู่ชุมชน ผู้พัฒนา
หลักสูตรเห็นว่าเป็ นกระบวนการในการนาเสนอนวัตกรรมไปสู่สาธารณชน เพื่อการพัฒนาอย่ าง
ยั่งยืน โดยรายละเอียด 5 ระยะ ของกระบวนการคิดสร้ างสรรค์ เพื่อพัฒนาความสามารถในการ
สร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ระยะที่ 1 การสร้ างแรงบันดาลใจ เป็ นระยะเริ่มต้ นตั้ งแต่ การสร้ างความรู้สึ กที่ดีต่ อ การ
พัฒนาทักษะกระบวนการคิดสร้ างสรรค์ ชี้ให้ เห็นประโยชน์และโอกาสในการนาเสนอนวัตกรรมที่
เป็ นประโยชน์ต่อชุมชน
ระยะที่ 2 การสืบค้ นข้ อมูล เป็ นขั้นเตรียมการที่จะศึกษาข้ อมูลพื้นฐาน เตรียมข้ อมูลต่าง ๆ
เป็ นข้ อเท็จจริงของเรื่องที่ค้นพบปัญหาเพื่อใช้ ในการคิดแก้ ปัญหา
158

ระยะที่ 3 การศึกษาแหล่ ง ภูมิปัญญา เมื่อได้ ข้ อมูล จากระยะที่ 2 จะเป็ นระยะของการคิด


พิ จ ารณา ข้ อ มู ล อย่ า งละเอี ย ด หาความสั ม พั น ธ์ เ ชิ ง เหตุ ผ ล ผ่ า นการเรี ย บเรี ย งเชื่ อ มโยง
ความสัมพันธ์เข้ าด้ วยกัน มีความกระจ่างชัดและมองเห็นภาพที่เกิดขึ้นในใจ และมีความเป็ นไปได้
สูงแต่อย่างไรก็ดีระยะนี้ยังไม่เกิดความเชื่อมั่นของสิ่งที่คิดได้ โดยการศึกษาแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น
ใกล้ โรงเรียนหรือชุมชน
ระยะที่ 4 การสร้ างนวัตกรรม หรืออาจเรียกได้ ว่าพิสูจน์ความจริงเป็ นระยะที่นาความคิดที่ได้
ของระยะที่ 3 ที่ยังไม่ ม่ันใจไปพิสูจน์ให้ เห็นจริงและถูกต้ อง โดยการปฏิบัติและลองผิดลองถูก
ตลอดจนการประเมิ น ผลกระบวนการพั ฒ นาทัก ษะการคิ ด สร้ า งสรรค์ โดยอาศั ย นวั ต กรรม
สร้ างสรรค์ท่นี ักเรียนพัฒนาขึ้นจากความรู้ความเข้ าใจ และกระบวนการคิดสร้ างสรรค์
ระยะที่ 5 การเผยแพร่นวัตกรรมสู่ชุมชน เป็ นระยะการนาเสนอผลจากการคิดสร้ างสรรค์ ให้
สาธารณชนได้ รับรู้และนาไปสู่รางวัลและความภาคภูมิใจเป็ นผลพลอยได้ จากการพัฒนา การคิด
สร้ างสรรค์ ที่เกิดกับผู้เรียนอย่างแท้จริง

3. จุดมุ่งหมาย
หลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณา
การภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู มีจุดมุ่งหมายดังต่อไปนี้
1. เพื่อพัฒนาทักษะการคิดสร้ างสรรค์สู่การสร้ างนวัตกรรมของนักเรียนมัธยมศึกษา
2. นักเรียนสามารถสร้ างนวัตกรรมจากความคิดสร้ างสรรค์ของตนเองได้
3. นักเรียนสามารถนาเสนอนวัตกรรมต่อเวทีสาธารณะได้

4. โครงสร้างหลักสูตร
1) ด้านเนื้ อหา ของหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการ
สร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู เป็ น
เนื้อหาเกี่ยวกับองค์ความรู้ในการพัฒนานวัตกรรม ประกอบด้ วยเนื้อหาสาระดังต่อไปนี้
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 การสร้ างแรงบันดาลใจ
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 การสืบค้ นข้ อมูล
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 การศึกษาแหล่งภูมิปัญญา
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 การสร้ างนวัตกรรม
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 การเผยแพร่นวัตกรรมสู่ชุมชน
โดยเนื้ อหาเหล่ า นี้ จะใช้ ใ นการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนที่ ส่ ง เสริ ม ทั ก ษะการคิ ด
สร้ างสรรค์สู่การสร้ างนวัตกรรม โดยไม่ยึดติดกับเนื้อหาสาระในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
159

2) ด้านระยะเวลา การดาเนินการตามหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริม


ความสามารถในการสร้ างนวัต กรรมที่บูร ณาการภูมิ ปัญญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ย นมั ธ ยมศึกษา
จังหวัดหนองบัวลาภู โดยใช้ ภาระงานหรือนวัตกรรม เป็ นตัวบ่งชี้ความสาเร็จของการประเมินทักษะ
การคิดเชิงสร้ างสรรค์ ทั้งนี้ทักษะการคิดดังกล่าวจาเป็ นต้ องใช้ เวลาในการพัฒนาจึงจะก่อให้ เกิ ด
ความคิดสร้ างสรรค์ข้ นึ มาได้ ระยะเวลาดาเนินการใช้ เวลา 1 ภาคการเรียน จานวน 18 สัปดาห์ ๆ
ละ 1 ชั่วโมง โดยจัดในช่วงเวลาของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนหรือกิจกรรมชุมนุม

คาอธิบายหลักสูตร
ศึกษาวิเคราะห์ความหมายและความสาคัญของการสร้ างนวัตกรรม เทคนิคในการค้ นข้ อมูล
การสืบค้ นสิทธิบัตร วิเคราะห์และออกแบบนวัตกรรมบนพื้นฐานของความคิดสร้ างสรรค์ การสร้ าง
นวัตกรรมจากสภาพปั ญหาและความต้ องการจาเป็ นในท้ องถิ่ น โดยใช้ แหล่ งเรียนรู้ภูมิปัญญา
ท้ องถิ่นบูรณาการร่วมกับความคิดสร้ างสรรค์และสร้ างนวัตกรรมตามความถนัดและความสนใจ
โดยการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีมาช่วยในการออกแบบและสร้ างนวัตกรรม ใช้ วัสดุและเครื่องมือที่
เหมาะสมและปลอดภัยในการผลิตนวัตกรรม เผยแพร่และจัดนิทรรศการแสดงนวัตกรรมเน้ นการ
ลงมือปฏิบัติจริง โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ผลการเรียนรู ้
1) วิเคราะห์สถานการณ์ตัวอย่างให้ เห็นคุณค่าและเกิดแรงบันดาลใจในการสร้ างนวัตกรรม
2) สืบค้ นข้ อมูลจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ตระหนักถึงจริยธรรมการใช้ ข้อมูลอย่าง
สร้ างสรรค์
3) อธิบายเกี่ยวกับกระบวนการคิดสร้ างสรรค์
4) อธิบายและสร้ างองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นในจังหวัดหนองบัวลาภู
5) ระบุปัญหาและสร้ างแนวคิดการออกแบบนวัตกรรมจากการวิเคราะห์ภมู ิปัญญาท้องถิ่น
6) สร้ างนวัตกรรมงานจากการวิเคราะห์ภมู ิปัญญาท้องถิ่นและนาเสนอนวัตกรรม
7) เขียนรายงานผลการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดหนองบัวลาภู
8) นาความรู้ความเข้ าใจเกี่ยวกับเทคนิคการนาเสนอนวัตกรรมไปวางแผนจัดนิทรรศการได้
160

โครงสร้างหลักสูตร
เวลา
หน่วยการเรียนรู ้ หัวข้อ / สาระการเรียนรู ้ ผลการเรียนรู ้
(ชม.)
1. การสร้ างแรง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 1) วิเคราะห์สถานการณ์ตัวอย่างให้ เห็นคุณค่าและเกิ ด 1
บันดาลใจ ปฐมนิเทศ แรงบันดาลใจในการสร้ างนวัตกรรม

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 1) วิเคราะห์สถานการณ์ตัวอย่างให้ เห็นคุณค่าและเกิ ด 1


แรงบันดาลใจ แรงบันดาลใจในการสร้ างนวัตกรรม

2. การสืบค้ นข้ อมูล แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 1) สืบค้ นข้ อมูลจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ตระหนักถึง 1


การสืบค้ นข้ อมูล จริยธรรมในการใช้ ข้อมูลอย่างสร้ างสรรค์

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 1) อธิบายเกี่ยวกับกระบวนการคิดสร้ างสรรค์ 1


ภูมิปัญญาท้ องถิ่นกับความคิด 2) อธิบายถึงความสาคัญของภูมิปัญญาท้ องถิ่นใน
สร้ างสรรค์ จังหวัดหนองบัวลาภู

3. การศึกษาแหล่ง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 1) อธิบายและสร้ างองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญา 2


ภูมิปัญญา ภูมิปัญญาท้ องถิ่นเกี่ยว ท้ องถิ่นในจังหวัดหนองบัวลาภู
1) ความเชื่อ/ศาสนา 2) ระบุปัญหาและสร้ างแนวคิดการออกแบบนวัตกรรม
2) ประเพณี/พิธีกรรม จากการวิเคราะห์ภูมิปัญญาท้ องถิ่น
3) ศิลปะการแสดง
4) การละเล่นและกีฬา

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 1) อธิบายและสร้ างองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญา 2


ภูมิปัญญาท้ องถิ่นเกี่ยวกับ ท้ องถิ่นในจังหวัดหนองบัวลาภู
1) อาหารและผักผลไม้ 2) ระบุปัญหาและสร้ างแนวคิดการออกแบบนวัตกรรม
2) การดารงชีวิต จากการวิเคราะห์ภูมิปัญญาท้ องถิ่น
3) งานช่างฝี มือ
4) สมุนไพรตารายา

4. การสร้ าง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 1) ระบุปัญหาและสร้ างแนวคิดการออกแบบนวัตกรรม 1


นวัตกรรม ระบุปัญหา การหาไอเดีย จากการวิเคราะห์ภูมิปัญญาท้ องถิ่น

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 1) สร้ างนวัตกรรมหรือนวัตกรรมจากการวิเคราะห์ ภู มิ 7


กระบวนการสร้ างนวัตกรรม ปัญญาท้ องถิ่นและนาเสนอนวัตกรรม

5. เผยแพร่ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 1) เขียนรายงานผลการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิ 1


นวัตกรรมสู่ชุมชน การจัดทารายงาน/การนาเสนอ ปัญญาท้ องถิ่น จังหวัดหนองบัวลาภู
นวัตกรรม 2) นาความรู้ความเข้ าใจเกี่ยวกับเทคนิคการนาเสนอ
นวัตกรรมไปวางแผนและจัดนิทรรศการได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 1) นาความรู้ค วามเข้ า ใจเกี่ ยวกั บ เทคนิ ค การนาเสนอ 1
นิทรรศการแสดงนวัตกรรม นวัตกรรมไปวางแผนและจัดนิทรรศการได้

รวม 18
161

5. แนวทางการจัดการเรียนรู ้
เพื่อให้ การใช้ หลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อ ส่งเสริมความสามารถในการสร้ าง
นวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู บรรลุตาม
จุดมุ่งหมาย จึงได้ กาหนดแนวทางการใช้ หลักสูตรไว้ ดังนี้
5.1 การดาเนินกิจกรรมตลอดหลักสูตร
1) ดาเนินการปฐมนิเทศนักเรียนที่เข้าร่วมและผูช้ ่วยผูว้ ิจัยก่อนการใช้หลักสูตร
โดยการสนทนากลุ่ม สร้ างความเข้ าใจและแนวปฏิบัติร่วมกันระหว่างผู้วิจัย ผู้ช่วย
ผู้วิจัย และนักเรียน ตลอดจนผู้ท่มี ีส่วนเกี่ยวข้ อง
2) ดาเนินการจัดกิจกรรม แบ่งเป็ น 5 ระยะ เพื่อพัฒนาสู่การสร้ างนวัตกรรม ดังนี้
ระยะที่ 1 การสร้างแรงบันดาลใจ (แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 – 2) เป็ นระยะ
เริ่ ม ต้ น ตั้ ง แต่ ก ารสร้ า งความรู้สึก ที่ดี ต่ อ การพั ฒ นาทัก ษะกระบวนการคิ ด สร้ า งสรรค์ ชี้ ใ ห้ เ ห็น
ประโยชน์และโอกาสของการนานวัตกรรมมาตอบสนองความต้ องการจาเป็ นในชุมชนท้องถิ่น
ระยะที่ 2 การสืบค้นข้อมูล (แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 – 4) เป็ นระยะเตรียมการ
ในการศึกษาข้ อมูลพื้นฐาน และเตรียมข้ อมูลต่าง ๆ ที่เป็ นข้ อเท็จจริงของเรื่องที่ค้นพบปัญหาเพื่อ
ใช้ ในการคิดแก้ ปัญหา
ระยะที่ 3 การศึกษาแหล่งภู มิปัญญา (แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 – 6) เมื่อได้
ข้ อมูลจากระยะที่ 2 จะเป็ นขั้นคิดพิจารณา ข้ อมูลอย่างละเอียด หาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล เป็ นขั้น
ของการทบทวนข้ อมูล ครุ่นคิด ตกผลึกความคิด โดยผ่านการเรียบเรียงเชื่อมโยงความสัมพันธ์เข้ า
ด้ วยกันจากการลงพื้นที่จริงตามแหล่งเรียนรู้ภมู ิปัญญาท้ องถิ่น ในพื้นที่ จังหวัดหนองบัวลาภู ให้ มี
ความกระจ่ างชัดและมองเห็นภาพที่เกิดขึ้นในใจ จนสามารถออกแบบต้ นร่างของนวัตกรรมที่มี
ความเป็ นไปได้
ระยะที่ 4 การสร้างนวัตกรรม (แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 7 – 8) เป็ นระยะที่นา
ความคิดที่ได้ จากระยะที่ 3 ที่ยังไม่ม่ันใจไปพิสูจน์ให้ เห็นจริ งและถูกต้ อง โดยการปฏิบัติและลอง
ผิ ด ลองถู ก ตลอดจนการประเมิ น ผลกระบวนการพั ฒ นาทัก ษะการคิ ด สร้ า งสรรค์ โดยอาศั ย
นวัตกรรมสร้ างสรรค์ท่นี ักเรียนพัฒนาขึ้นจากความรู้ความเข้ าใจ และกระบวนการคิดสร้ างสรรค์
ระยะที่ 5 การเผยแพร่นวัตกรรมสู่ชุมชน (แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 9 – 10) เป็ น
ระยะการนาเสนอผลจากการคิดสร้ างสรรค์ ให้ สาธารณชนได้ รับรู้และนาไปสู่ความภาคภูมิใจ ซึ่ง
เป็ นผลพลอยได้ จากการพัฒนาการคิดสร้ างสรรค์ ที่บูรณาการกับภูมิปัญญาท้องถิ่น
3) ทดสอบวัดระดับความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนหลังใช้หลักสูตร
การวั ด ระดั บความคิด สร้ างสรรค์ ข องนั ก เรีย น โดยใช้ แ บบทดสอบ “ทีซี ที – ดี พี”
(TCT - DP : The Test for Creative Thinking - Drawing Production) ซึ่ ง เป็ น แบ บ ทดส อ บ
ความคิดสร้ างสรรค์ ของ Jellen and Urban (2005)
162

5.2 ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4 ขั้นตอนหลัก คือ 1) เร้ าความสนใจ 2) สารวจ
ค้ นหา 3) ลงข้ อสรุป 4) สะท้อนผล มีรายละเอียดดังนี้
1) เร้าความสนใจ ผู้วิจัยได้ ออกแบบกิจกรรมในขั้นนา ที่เน้ น การฝึ กทักษะการคิด
สร้ างสรรค์ โดยนาแนวคิดของ Frank E. Williams ที่เสนอกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความคิ ด
สร้ างสรรค์ (อารี พันธ์มณี, 2537) มาแทรกในกิจกรรมส่งเสริมการคิดสร้ างสรรค์ โดยใช้ ในขั้นเร้ า
ความสนใจของทุก ๆ ชั่วโมง จานวน 16 กิจกรรม ซึ่งเป็ นขั้นตอนการสร้ างความคุ้นเคยให้ ผ้ เู รียน
ไว้ วางใจ เข้ าใจบทบาทของครูผ้ สู อน สร้ างบรรยากาศการเรียน ใช้ คาถามเพื่อชี้นาถึงปัญหาต่าง ๆ
ตลอดจนเตรียมความพร้ อมของผู้เรียนทั้งด้ านร่างกาย สติปัญญาเน้ นที่สมองปลอดโปร่ง หรือเปิ ด
สมองพร้ อมรับข้ อมูล ด้ วยการนั่งสมาธิ หรือทากิจกรรมอื่น ๆ ตามความเหมาะสม
2) สารวจค้นหา เป็ นขั้นที่ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ การนาเสนอเนื้อหา
สาระที่จาเป็ นต่อการส่งเสริมการคิดสร้ างสรรค์ การศึกษาจากตัวแบบ เรียนรู้จากบุคคลที่ประสบ
ความสาเร็จ การปฏิบัติสร้ างนวัตกรรมด้ วยการลงมือทาจริง นอกจากนั้นยังใช้ เทคนิคการศึก ษา
นอกสถานที่ เป็ นกิ จ กรรมหลัก และจุ ด เด่ น ที่น านัก เรี ยนลงพื้น ที่ศึก ษาแหล่ ง เรีย นรู้ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น โดยมีข้นั ตอนดังนี้
- การเตรี ย มข้ อ มู ล ก่ อ นออกเดิ น ทาง ซึ่ ง นั ก เรี ย นจะได้ สื บ ค้ น ข้ อ มู ล โดยใช้
เทคโนโลยี (Smart Phone) เป็ นอุปกรณ์ช่วยในการสืบค้ น พร้ อมทั้งเตรียมเนื้อหา ประกอบการ
เรียนรู้ในสถานที่จริง
- การเข้ า ศึ ก ษาแหล่ ง เรี ยนรู้ ภูมิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น นั ก เรี ย นจะได้ ใ ช้ ค วามสามารถ
ทางด้ านเทคโนโลยีในการเก็บรวบรวมข้ อมูล เช่น การบันทึกภาพนิ่ง การบันทึกภาพเคลื่อนไหว
การจัดทาคลิปแนะนาสถานที่ ข้ อมูลความรู้ ตลอดจนเทคนิคการตัดต่อ VDO เพื่อนาเสนอเนื้อหา
ที่ได้ ลงพื้นที่
3) ลงข้อสรุป เป็ นขั้นที่ครูผ้ ูสอนและนักเรียนร่ วมกันสรุปองค์ความรู้และประเด็น
เนื้อหาที่เกิดจากกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละชั่วโมง เพื่อให้ เกิดการรู้แจ้ งเห็นชัด ตลอดจน
เกิดความเข้ าใจจากสถานการณ์ท่กี าหนดให้ ผู้เรียนประมวลผลความรู้จากข้ อมูลที่ผ่านการรวบรวม
และการวิ เ คราะห์ และสามารถนาความรู้ไ ปประยุ ก ต์ ใช้ ในการคิ ด สร้ างสรรค์ น วั ต กรรม หรื อ
นวัตกรรมต่อไป นอกจากนั้นยังร่วมกันสรุปผลและประเมินผล
ที่มุ่งเน้ นการประเมินพฤติกรรมที่ติดตัวไปกับผู้เรียนและประเมินนวัตกรรม โดยผู้ส อนต้ องยึด
วัตถุประสงค์ เป้ าหมาย พฤติกรรมบ่งชี้ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ท่ตี ้งั เอาไว้
4) สะท้อนผล ขั้นนี้เป็ นขั้นตอนที่นักเรียนนาข้ อมูลจากการรวบรวมด้ วยเครื่องมือและ
เทคโนโลยี มานาเสนอหน้ าชั้นเรียน เพื่อให้ สมาชิกได้ วิพากษ์และสะท้อนองค์ความรู้ ให้ เกิด
163

แนวคิ ด และประเด็น ที่จ ะพั ฒ นาให้ เ กิ ด นวั ต กรรม ตลอดจนเผยแพร่ ค ลิ ป VDO ในเครื อ ข่ า ย
อินเตอร์เน็ต อย่ างสร้ างสรรค์ โดยใช้ เทคนิค แบบสืบเสาะ เป็ นการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ร่วมกันกับผู้เรียน หรือกิจกรรมที่ฝึกฝนการสร้ างนวัตกรรม รวมทั้งการระดมสมอง ซึ่งเป็ นขั้นที่
นักเรียนในแต่ ละกลุ่ม หรื อ แต่ ล ะคนช่ วยกั น แสดงความคิ ด เห็นในสถานการณ์หรื อ ปั ญหาที่ ค รู
กาหนดให้ อีกทั้งยังเป็ นการแลกเปลี่ยนแนวคิดในกลุ่ม ก่อให้ เกิดการทางานร่วมกัน เกิดภาวะผู้นา
และผู้ตามในกิจกรรมนั้น ๆ ซึ่งแต่ละกิจกรรมจะใช้ เวลาประมาณ 5 – 10 นาที โดยนักเรียนมีส่วน
ร่วมในการอภิปรายคัดสรรค์ ที่เกิดหลังจากการระดมสมอง เพื่อให้ ได้ ข้อมูลที่มีความหลากหลาย
ข้ อมูลต่ าง ๆ เหล่ านั้นจะถู ก นามาคั ด กรองหรื อผ่ านกระบวนการวิ เ คราะห์ และสังเคราะห์ จ น
กลายเป็ นองค์ความรู้ หรือความคิดของกลุ่ม อย่างลงตัว และดาเนินการอย่างสร้ างสรรค์ พร้ อมทั้ง
ได้ แสดงออกอย่างมีส่วนร่วม

6. สื่อและแหล่งเรียนรู ้
6.1 แผนการจัดการเรียนรู ้ จานวน 10 แผน โดยแบ่งออกเป็ น 5 หน่วย ดังนี้
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 การสร้ างแรงบันดาลใจ (แผนฯ ที่ 1 – 2)
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 การสืบค้ นข้ อมูล (แผนฯ ที่ 3 – 4)
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 การศึกษาแหล่งภูมิปัญญา (แผนฯ ที่ 5 – 6)
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 การสร้ างนวัตกรรม (แผนฯ ที่ 7 – 8)
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 การเผยแพร่นวัตกรรมสู่ชุมชน (แผนฯ ที่ 9 – 10)

6.2 สื่อประเภทใบกิจกรรม

กลวิธีการฝึ กคิดสร้ างสรรค์ แนวคิดของ Guilford


ใบกิจกรรม
Frank E. Williams (อ้างถึงในอารี พันธ์มณี, 2537)
1. ชาวนายุคใหม่ การอ่านอย่างสร้ างสรรค์ คิดละเอียดละออ
(Creative Reading Skill) (Elaboration)
2. คิดหาเหตุผล การฝึ กหาเหตุผล (Paradoxes) คิดยืดหยุ่น (Flexibility)
3. พินิจ พิจารณา การพิจารณาลักษณะ (Attributes) คิดละเอียดละออ
(Elaboration)
4. เหมือนหรือต่าง การเปรียบเทียบอุปมา อุปมัย (Analogies) คิดละเอียดละออ
(Elaboration)
5. เรื่องเล่าจาก การบอกสิ่ ง ที่ ค ลาดเคลื่ อ นจากความจริ ง คิดละเอียดละออ
ภาพ (Discrepancies) (Elaboration)
ใบกิจกรรม กลวิธีการฝึ กคิดสร้ างสรรค์ แนวคิดของ Guilford
164

Frank E. Williams (อ้างถึงในอารี พันธ์มณี, 2537)


6. สัตว์ใน การเปลี่ยนแปลง (Examples of Change) คิดยืดหยุ่น (Flexibility)
จินตนาการ
7. ถามให้ สุดโลก การถามยั่วยุและกระตุ้นให้ ตอบ คิดคล่อง (Fluency)
(Provocative Questions)
8. สืบหาข้ อมูล การค้ นคว้ าหาข้ อมูล (The Skill of Search) คิดคล่อง (Fluency)
ความสัมพันธ์
9. โลกในอนาคต พัฒนาตน(Adjustment of Development) คิดคล่อง (Fluency)
10. ยานพาหนะ การประเมินสถานการณ์ คิดละเอียดละออ
วิเศษ (Evaluate Situations) (Elaboration)
11. คิดกลับด้ าน การเปลี่ยนแปลงความเชื่อ คิดริเริ่ม (Originality)
(Examples of Habit)
12. สัตว์พันธ์ใหม่ การสร้ างสิ่งใหม่จากโครงสร้ างเดิม คิดริเริ่ม (Originality)
(Organized Random Search)
13. ภาพ การมองภาพในมิติต่าง ๆ (Visual Skill) คิดริเริ่ม (Originality)
มหัศจรรย์
14. สร้ างสรรค์คา การพัฒนาการเขียนอย่างสร้ างสรรค์ คิดริเริ่ม
(Creative Writing Skill) (Originality)
15. เราต้ องรอด การค้ นหาคาตอบจากคาถามที่กากวม คิดคล่อง
(Tolerance for Ambiguity) (Fluency)
16. เล่าข่าวใส่ไข่ การฟังอย่างสร้ างสรรค์ คิดริเริ่ม (Originality)
(Creative Listening Skill)

6.3 สื่อประเภทแหล่งเรียนรูภ้ ูมิปัญญาท้องถิน่


1) ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับความเชื่อและศาสนา
สถานที่ : พิพิธภัณฑ์หลวงปู่ ขาว วัดถา้ กองเพล
ต.โนนทัน อ.เมือง จ.หนองบัวลาภู
2) ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับประเพณีและพิธีกรรม
สถานที่ : แหล่งโบราณคดีบ้านกุดกวางสร้ อยและกุดคอเมย
ต.กุดคอเมย อ.โนนสัง จ.หนองบัวลาภู
165

3) ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับศิลปะการแสดง
สถานที่ : หมู่บ้านราวงคองก้ า บ้ านขาม ต.บ้ านขาม อ.เมือง จ.หนองบัวลาภู
4) ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับอาหารและผักผลไม้
สถานที่ : วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตภัณฑ์แปรรูปปลา บ้ านห้ วยบง 2
ต.โนนเมือง อ.โนนสัง จ.หนองบัวลาภู
5) ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับการละเล่นและกีฬา
สถานที่ : การละเล่นบักกั๊บแก๊บ บ้ านส้ มป่ อย
ต.นาด่าน อ.สุวรรณคูหา จ.หนองบัวลาภู
6) ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับงานช่างฝี มือ
สถานที่ : หมู่บ้านหัตกรรมปั้นหม้ อ บ้ านโค้ งสวรรค์
ต.โนนทัน อ.เมือง จ.หนองบัวลาภู
7) ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับสมุนไพรตารายาและการแพทย์ท้องถิ่น
สถานที่ : เมืองหมอยา กลุ่มสมุนไพร ต.โนนเมือง อ.นากลาง จ.หนองบัวลาภู
8) ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับการดารงชีวิตตามสภาพแวดล้ อมทางธรรมชาติ
สถานที่ : โสภาฟาร์ม เกษตรอินทรีย์ ต.หนองบัว อ.เมือง จ.หนองบัวลาภู

7. แนวทางการวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ตามหลักสูตรพัฒนาความคิดสร้ างสรรค์สู่การสร้ างนวัตกรรมนี้เป็ นการเรียนรู้ท่ี
นั ก เรี ย นได้ ล งมื อ ปฏิ บั ติ จ ริ ง ดั ง นั้ น วิ ธี ก ารประเมิ น ผลจึ ง เป็ นการวั ด และประเมิ น ผล โดยการ
ประเมินความสามารถและระดับความก้ าวหน้ าในการเรียนรู้ท่แี ท้ จริงของผู้เรียน เน้ นการประเมิน
เพื่ อ พั ฒ นาความก้ า วหน้ า ในแต่ ล ะขั้น เพื่ อ พัฒ นานั ก เรี ย น ซึ่ ง ครู ผ้ ู จั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ต้ อ ง
ประเมินความสามารถในการปฏิบัติ งานรวมถึงประเมินนวัตกรรมและพฤติกรรมการเรียนรู้ข อง
นักเรียนที่จาเป็ นตลอดเวลาในขณะปฏิบัติกิจกรรมของแต่ละขั้นตอน แล้ วนาผลมาพัฒนาปรับปรุง
ให้ ดีย่ิงขึ้ นต่ อไป ดังนั้น การประเมินในหลักสูตรครั้งนี้จึงกาหนดวิธีการวัดความสามารถในการ
สร้ างนวัตกรรมของนักเรียนจากนวัตกรรม หรือนวัตกรรมของนักเรียนและกระบวนการสร้ าง
นวัตกรรม ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
7.1) การวัดองค์ความรู ้ เป็ นการวัดความรู้ของนักเรียนโดยใช้ แบบบันทึกการสะท้อนผล
ของนักเรียน เกี่ยวกับองค์ความรู้ท่ไี ด้ จากกิจกรรมในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้
7.2) การประเมินความสามารถในการสร้างนวัตกรรม เป็ นกระบวนการทางานที่
ก่อให้ เกิดนวัตกรรม ประกอบด้ วย 2 ด้ าน คือ ด้ านนวัตกรรมและด้ านกระบวนการสร้ างนวัตกรรม
7.3) การวัดทัศนคติของผูเ้ รียน เป็ นกระบวนการวัดแนวคิด ทัศนคติของนักเรียนต่อภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น โดยใช้ แบบบันทึกการสะท้อนคิดหลังจากจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
แนวทางการใช้หลักสูตร 166

จุดมุ่งหมายของหลักสูตร เนื้ อหา กิจกรรมการเรียนรู ้ ประเมินผล


1. พัฒนาความคิดสร้างสรรค์
2. ออกแบบและสร้าง
การสร้างแรง กิจกรรมเรียนรูแ้ หล่งภูมิปัญญา
นวัตกรรม บันดาลใจ ท้องถิน่ 8 ประเภท ในจังหวัด
3. นาเสนอนวัตกรรม หนองบัวลาภู เพื่อสร้างแรง
นวัตกรรม
บันดาลใจในการสร้าง
การสืบค้น นวัตกรรม กระบวนการ
ข้อมูล
หลักสูตรกิจกรรมการคิด
สร้างสรรค์เพื่อส่งเสริม
กิจกรรมออกแบบ
ความสามารถในการสร้าง
นวัตกรรมที่บูรณาการ การศึกษาแหล่ง นวัตกรรม นวัตกรรมและ
ภูมิปัญญาท้องถิน่ ภูมิปัญญา และการสร้างนวัตกรรม นาเสนอนวัตกรรม
หรือนวัตกรรม

การสร้าง

16 กิจกรรม....นา...สร้างสรรค์
ฝึ กทักษะกระบวนการคิดสร้างสรรค์
นวัตกรรม
เขียนรายงาน
นาเสนอนวัตกรรม

เตรียมความพร้อมของนักเรียนด้วยการทาสมาธิก่อนเรียน
การเผยแพร่ จัดนิทรรศการเผยแพร่
วัดระดับความคิดสร้างสรรค์ ด้วยแบบทดสอบ TCT – DP (หลัง)

นวัตกรรมสู่ นวัตกรรม
ชุมชน
ประเมิน
หลักสูตร
167

2.2 ขั้นที่ 2 ทดลองใช้หลักสูตร


ผลการทดลองใช้ หลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการ
สร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู
สาหรับการทดลองใช้ หลักสูตรเป็ นขั้นตอนของการตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรที่
สร้ างขึ้น อีกทั้งยังเป็ นการปรับปรุง หลักสู ตรหรื อ แก้ ไขก่ อ นนาไปใช้ จริ ง โดยใช้ วิธีการวิจั ย เชิ ง
ทดลองเบื้องต้ น (Pre – Experimental Design) กลุ่มเดียววัดผลเฉพาะหลังการทดลอง (One -
Shot Case Study) มาเป็ นแนวทางในการตรวจสอบคุณภาพและศึกษาความเป็ นไปได้ ของหลักสูตร
กิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญา
ท้ องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู ฉบับร่าง กลุ่มเป้ าหมาย ได้ แก่ นักเรียน
โรงเรี ย นสุ ว รรณคู ห าพิ ท ยาสรรค์ สั ง กั ด ส านั ก งานเขตพื้ นที่ก ารศึ ก ษามั ธ ยมศึ ก ษา เขต19 ที่
ลงทะเบียนเรียนกิจกรรมชุมนุมนักประดิษฐ์ ประจาปี การศึกษา 2561 จานวน 20 คน โดยผู้วิจัย
ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้ วยตนเอง จัดในชั่วโมงเรียนของกิจกรรมชุมนุ ม ซึ่ง
สรุปผลการทดลองใช้ หลักสูตร ดังต่อไปนี้
2.2.1) ผลการประเมินระดับ ความคิ ด สร้า งสรรค์ โดยใช้ แ บบทดสอบความคิด
สร้ างสรรค์ TCT – DP ของ Jellen and Urban (2005) หลังใช้ หลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์
เพื่ อ ส่ ง เสริ มความสามารถในการสร้ า งนวั ต กรรมที่บู รณาการภูมิ ปัญญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ยน
มัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู มีผลการประเมินเป็ นไปตามตารางที่ 15 ดังนี้

ตารางที่ 15 ผลการประเมินระดับความคิดสร้ างสรรค์หลังใช้ หลักสูตร

เกณฑ์การประเมินข้ อที่/สัญลักษณ์/คะแนนเต็ม
รวม แปลผลระดับ
คน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 คะแนน
ความคิด
ที่ Cn Cm Ne Cl Cth Bid Bfi Pe Hu Uc Sp
สร้ างสรรค์
6 6 6 6 6 6 6 6 6 12 6 72
1 4 5 4 4 3 4 4 4 5 9 4 50 ระดับสูง
2 3 3 4 4 3 3 2 4 3 8 4 41 ปานกลาง
3 3 4 4 4 4 5 4 4 4 9 5 50 ระดับสูง
4 2 3 3 3 3 4 4 3 5 10 4 44 ปานกลาง
5 5 5 4 6 5 5 4 4 4 10 5 57 ระดับสูง
6 4 3 4 3 3 3 3 4 5 9 5 46 ปานกลาง
7 2 3 2 2 2 3 4 3 4 7 3 35 ปานกลาง
168

ตารางที่ 15 ผลการประเมินระดับความคิดสร้ างสรรค์หลังใช้ หลักสูตร (ต่อ)

เกณฑ์การประเมินข้ อที่/สัญลักษณ์/คะแนนเต็ม รวม แปลผลระดับ


คน คะแนน ความคิด
ที่ Cn Cm Ne Cl Cth Bid Bfi Pe Hu Uc Sp
6 6 6 6 6 6 6 6 6 12 6 72 สร้ างสรรค์
8 3 4 3 3 3 4 5 5 5 9 2 46 ปานกลาง
9 3 2 3 3 4 3 3 3 4 8 4 40 ปานกลาง
10 2 2 3 3 4 5 4 3 3 9 4 42 ปานกลาง
11 4 5 4 4 4 5 4 6 4 10 4 54 ระดับสูง
12 4 5 4 4 4 5 5 5 5 10 4 55 ระดับสูง
13 4 5 4 5 4 5 5 5 5 10 4 56 ระดับสูง
14 3 3 3 2 3 2 3 3 3 6 4 35 ปานกลาง
15 3 4 3 3 4 5 4 5 5 9 3 48 ระดับสูง
16 3 4 4 4 4 4 5 4 3 7 3 45 ปานกลาง
17 2 4 5 3 4 4 3 4 5 8 2 44 ปานกลาง
18 4 4 4 5 4 5 4 5 6 9 3 53 ระดับสูง
19 3 4 4 3 4 4 4 4 4 9 3 46 ปานกลาง
20 3 2 3 3 3 2 3 2 3 10 4 38 ปานกลาง
̅
X 3.2 3.7 3.6 3.6 3.6 4.0 3.9 4.0 4.3 8.8 3.7 46.3 ปานกลาง

จากตารางที่ 15 พบว่า ผลการประเมินระดับความคิดสร้ างสรรค์ของนักเรียนที่ผ่านการ


เรียนรู้ด้วยหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่
บู ร ณาการภูมิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษา จั ง หวั ด หนองบั ว ล าภู จ านวน 20 คน
คะแนนเฉลี่ยรวมของระดับความคิดสร้ างสรรค์ วัดโดยแบบทดสอบ TCT-DP มีค่าเท่ากับ 46.3
คะแนน และเมื่อเทียบกับเกณฑ์ท่กี าหนดแล้ ว พบว่าระดับความคิดสร้ างสรรค์ของนักเรีย นโดย
เฉลี่ ย รวมอยู่ ใ นระดั บ “ปานกลาง” นอกจากนั้ น ผู้ วิ จั ย ยั ง ได้ ป ระเมิ น ความคิ ด สร้ างสรรค์ ข อง
นักเรียนที่แสดงออกในรูป แบบของนวัต กรรมหรือ ผลิตภัณฑ์ ที่นับได้ ว่าเป็ นการแสดงออกซึ่ ง
ความคิดสร้ างสรรค์ โดยใช้ เครื่องมือ แบบประเมินนวัตกรรม ประเมินนวัตกรรมของนักเรียน ดัง
รายละเอียดต่อไปนี้
169

2.2.2) ผลการประเมินความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ประกอบด้วย


2.2.2.1) ผลการประเมินนวัตกรรมของนักเรียน หลังใช้ หลักสูตร มีผลการ
ประเมินเป็ นไปตามตารางที่ 16 ดังนี้
ตารางที่ 16 ผลการประเมินนวัตกรรมของนักเรียน หลังจากเรียนรู้ด้วยหลักสูตรกิจกรรมการคิด
สร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญา
ท้องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู

บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น

ประโยชน์ของนวัตกรรม

แปลผลระดับคุณภาพ
เอกสารการนาเสนอ
ความถูกต้ องชัดเจน

รวมคะแนน (100)
คน

ทักษะการสื่อสาร
ระบบการทางาน
ความเป็ นต้ นคิด

ความเหมาะสม
ความประหยัด
ความโดดเด่น

การออกแบบ

ที่

1 15 8 12 11 3 4 6 4 5 4 4 76 ดี
2 17 8 11 9 3 3 6 4 3 3 4 71 ดี
3 14 9 14 12 4 5 7 4 4 5 5 83 ดีเยี่ยม
4 11 7 10 10 3 4 6 3 5 4 4 67 พอใช้
5 19 9 14 13 5 5 8 4 4 5 5 91 ดีเยี่ยม
6 12 7 11 13 3 3 8 4 5 3 5 74 ดี
7 12 5 11 12 2 3 6 3 4 3 3 64 พอใช้
8 15 9 13 13 3 4 9 5 5 4 2 82 ดีเยี่ยม
9 12 5 11 12 2 3 6 3 4 3 3 64 พอใช้
10 15 8 12 11 3 4 6 4 5 4 4 76 ดี
11 15 9 13 13 3 4 9 5 5 4 2 82 ดีเยี่ยม
12 19 9 14 13 5 5 8 4 4 5 5 91 ดีเยี่ยม
13 11 7 13 9 3 2 8 2 3 2 4 64 พอใช้
14 14 8 12 10 3 4 9 4 5 4 4 77 ดี
15 12 7 11 13 3 3 8 4 5 3 5 74 ดี
16 14 9 14 12 4 5 7 4 4 5 5 83 ดีเยี่ยม
17 11 7 10 10 3 4 6 3 5 4 4 67 พอใช้
18 17 8 11 9 3 3 6 4 3 3 4 71 ดี
19 14 8 12 10 3 4 9 4 5 4 4 77 ดี
20 11 7 13 9 3 2 8 2 3 2 4 64 พอใช้
̅ 14.0
X 7.7 12.1 11.2 3.2 3.7 7.3 3.7 4.3 3.7 4.0 75 ดี
S.D. 2.6 1.2 1.3 1.6 0.8 0.9 1.2 0.8 0.8 0.9 0.9 8.6
170

จากตารางที่ 16 พบว่ า ผลการประเมินนวัตกรรมของนักเรียนที่ผ่านการเรียนรู้ด้วย


หลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู จานวน 20 คน คะแนนเฉลี่ยรวม มี
ค่าเท่ากับ 75 คะแนน และเมื่อเทียบกับเกณฑ์ท่ีกาหนดแล้ ว พบว่าระดับคุณภาพของนวัตกรรม
นักเรียนโดยเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับ “ดี”

ภาพที่ 11 ตัวอย่างแบบจาลองนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์
171

นอกจากนั้นผู้วิจัยยังได้ ประเมินกระบวนการสร้ างนวัตกรรมและการมีส่วนร่ วมของ


นักเรียนในระหว่างเรียนรู้ด้วยหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการ
สร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู โดย
ใช้ เครื่องมือเป็ น แบบประเมินกระบวนการสร้ างนวัตกรรม ซึ่งบันทึกข้ อมูล โดยผู้วิจัยและผู้ช่วย
ผู้วิจัย ปรากฏผลดังรายละเอียดต่อไปนี้
2.2.2.2) ผลการประเมินกระบวนการสร้างนวัตกรรมของนักเรียน หลังใช้
หลักสูตร มีผลการประเมินเป็ นไปตามตารางที่ 17 ดังนี้

ตารางที่ 17 ผลการสังเกตกระบวนการสร้ างนวัตกรรมของนักเรียน หลังใช้ หลักสูตรกิจกรรม


การคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู

กระบวนการสร้างนวัตกรรมของนักเรียน ̅
𝑿 S.D. แปลผล
1. การวางแผน
1.1 มีการปรึกษาหารือวางแผนในการทางาน 3.5 0.6 ปานกลาง
1.2 มีการแจกแจงงานที่ทาและมองภาพรวมของงานที่ทาได้ 3.9 0.9 มาก
1.3 มีการร่วมกันกาหนดวัตถุประสงค์และแนวทางในการ 3.5 0.5 ปานกลาง
ทางาน
1.4 มีการร่วมมือกันกาหนดเวลาในการทางาน 3.9 0.9 มาก
1.5 มีการตรวจสอบการวางแผน 3.2 0.8 ปานกลาง
2. การปฏิบตั ิงาน
2.1 มีการชักจูงให้ สมาชิกร่วมแรงร่วมใจในการทางาน 3.7 0.9 มาก
2.2 ทุกคนร่วมมือกันทางานเป็ นกลุ่มและปฏิบัติหน้ าที่ตามที่ 3.9 0.9 มาก
ได้ รับมอบหมาย
2.3 ทุกคนร่วมกันปฏิบัติหน้ าที่ตามแผนที่ได้ กาหนดไว้ ให้ บรรลุ 3.7 0.8 มาก
วัตถุประสงค์
2.4 มีการปรึกษาหารือกันเป็ นระยะ ๆ 4.3 0.8 มาก
2.5 ทุกคนช่วยเหลือกันในการควบคุมการทางานให้ สาเร็จ 3.7 0.9 มาก
172

ตารางที่ 17 ผลการสังเกตกระบวนการสร้ างนวัตกรรมของนักเรียน หลังใช้ หลักสูตรกิจกรรม


การคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู (ต่อ)

กระบวนการสร้างนวัตกรรมของนักเรียน ̅
𝑿 S.D. แปลผล
3. การประเมินตนเอง
3.1 ทุกคนมีส่วนร่วมในการประเมินขั้นตอนการทางาน 3.0 0.6 ปานกลาง
3.2 นวัตกรรมมีความคิดริเริ่มสร้ างสรรค์ 3.7 0.8 มาก
3.3 ทุกคนมีส่วนร่วมในการประเมินนวัตกรรมในกลุ่มของตน 3.3 0.9 ปานกลาง
และกลุ่มอื่น ๆ
3.4 ทุกคนมีส่วนร่วมในการวิจารณ์นวัตกรรมในกลุ่มของตน 3.7 0.9 มาก
และกลุ่มอื่น ๆ
3.5 ทุกคนมีส่วนร่วมในการสรุปผลการดาเนินงานของกลุ่ม 3.4 0.8 ปานกลาง
4. การปรับปรุงงาน
4.1 ทุกคนได้ ช่วยเหลือเพื่อนในการปรับปรุงงานร่วมกันตรวจ 3.7 0.7 มาก
นวัตกรรมอยู่เสมอ
4.2 ร่วมกันกาหนด แก้ ไขปัญหาในการทางาน และปรับปรุง 3.7 0.8 มาก
นวัตกรรมให้ ดีข้ นึ
4.3 มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นถึงกระบวนการสร้ าง 3.6 0.7 มาก
นวัตกรรม
4.4 มีส่วนร่วมในการสรุปความรู้และกระบวนการสร้ าง 3.8 0.8 มาก
นวัตกรรม
4.5 มีการเขียนแบบสรุปผลการปฏิบัติงาน และจัดทาแฟ้ ม 4.0 0.9 มาก
งาน/เป็ นรูปเล่ม
เฉลี่ยโดยรวม 3.6 0.2 มาก

จากตารางที่ 17 พบว่า ผลการประเมินกระบวนการสร้ างนวัตกรรมและการมีส่วนร่วม


ของนักเรียนในระหว่างเรียนรู้ด้วยหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถใน
การสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้ องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู
โดยใช้ เครื่องมือเป็ นแบบประเมินกระบวนการสร้ างนวัตกรรมของนักเรียน จานวน 20 คน คะแนน
เฉลี่ยรวม มีค่าเท่ากับ 3.6 คะแนน และเมื่อเทียบกับเกณฑ์ท่กี าหนดแล้ ว พบว่า กระบวนการสร้ าง
นวัตกรรมโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับ “มาก”
173

ภาพที่ 12 แสดงบรรยากาศและกระบวนการสร้ างนวัตกรรม


174

2.3 ขั้นที่ 3 ปรับปรุงและแก้ไขหลักสูตร


หลังจากผู้วิจัยได้ ดาเนินการทดลองใช้ หลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริม
ความสามารถในการสร้ างนวัต กรรมที่บูร ณาการภูมิ ปัญญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ย นมั ธ ยมศึกษา
จังหวัดหนองบัวล าภู โดยผู้วิจัยดาเนินการทดลองด้ วยตนเอง และได้ นาผลการทดลอง สภาพ
ปัญหาและอุปสรรคตลอดจนคาแนะนาของผู้ท่มี ีส่วนเกี่ยวข้ อง เช่น ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผ้ สู อน
ปราชญ์ท้องถิ่น และนักเรียน มาสังเคราะห์และปรับปรุงแก้ ไขหลักสูตรให้ มีคุณภาพมากยิ่งขึ้นก่อน
นาไปใช้ จริงกับโรงเรียนในกลุ่มเป้ าหมาย โดยมีการปรับปรุงและแก้ ไขหลักสูตรดังรายละเอียด
ต่อไปนี้

ตารางที่ 18 ผลการปรับปรุงและแก้ ไขหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริม


ความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนักเรียน
มัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู

แนวทางการปรับปรุง
ผลจากการทดลอง ข้อเสนอแนะจากผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
หลักสูตร
1. หลักการและเหตุผล 1. หลักการและเหตุผล 1. หลักการและเหตุผล
ไม่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงจาก ผู้มีส่วนเกี่ยวข้ องไม่มีข้อเสนอแนะ ไม่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
การทดลองใช้ หลักสูตร เกี่ยวกับหลักการและเหตุผล เกี่ยวกับหลักการและเหตุผล
2. ป รั ช ญ า แ ล ะ แ น ว คิ ด 2. ปรัชญาและแนวคิดทฤษฎี 2. ปรัชญาและแนวคิดทฤษฎี
ทฤษฎี ผู้มีส่วนเกี่ยวข้ องไม่มีข้อเสนอแนะ ไม่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
ไม่มีการเปลี่ยนแปลง เกี่ยวกับแนวคิดทฤษฎี เกี่ยวกับแนวคิดทฤษฎี
3. จุดมุ่งหมาย 3. จุดมุ่งหมาย 3. จุดมุ่งหมาย
ไม่มีการเปลี่ยนแปลงจาก เดิมที่ผ้ วู ิจัยได้ เขียนจุดมุ่งหมายไว้ ผู้วิจัยดาเนินการปรับ
การทดลองใช้ หลักสูตร 3 ด้ าน คือ ด้ านความรู้ (K) ด้ าน จุดมุ่งหมายให้ มีจุดเน้ นที่
ทักษะกระบวนการ (P) และด้ าน กระบวนการ การลงพื้นที่ใน
ทัศนคติหรือเจตคติ (A) ผู้ท่ี การเก็บรวบรวมข้ อมูล
เกี่ยวข้ องเสนอให้ ปรับและให้ เน้ น ตลอดจนการสังเคราะห์ข้อมูล
ด้ านทักษะกระบวนการ (P) เพื่อนาสู่การปฏิบัติให้ เกิด
เนื่องจากหลักสูตรดังกล่าวมุ่ง นวัตกรรม โดยนาเทคโนโลยี
ส่งเสริมให้ ผ้ เู รียนได้ ลงมือกระทา เข้ ามามีส่วนร่วมในการเก็บ
จริงและสร้ างนวัตกรรม ตลอดจน รวบรวมข้ อมูลและการ
นาเสนอนวัตกรรมสู่ชุมชน นาเสนอในแบบต่าง ๆ
175

ตารางที่ 18 ผลการปรับปรุงและแก้ ไขหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริม


ความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนักเรียน
มัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู (ต่อ)

แนวทางการปรับปรุง
ผลจากการทดลอง ข้อเสนอแนะจากผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
หลักสูตร
4. โครงสร้ างหลักสูตร 4. โครงสร้ างหลักสูตร 4. โครงสร้ างหลักสูตร
จากผลการทดลองใช้ ผู้เกี่ยวข้ องได้ เสนอเกี่ยวกับ 1) ผู้วิจัยดาเนินการปรับ
หลักสูตรเป็ นระยะเวลา 18 โครงสร้ างหลักสูตร โดยให้ แผนการจัดการเรียนรู้ให้
สัปดาห์ พบว่าโครงสร้ าง คาแนะนาถึงประเด็นของ เหมาะสมโดยกาหนดการ
รายวิชามีความเหมาะสม การศึกษานอกสถานที่เพื่อสร้ าง เดินทางไปแหล่งเรียนรู้ 1 วัน
โดยเฉพาะ หน่วยการเรียนรู้ แรงบันดาลใจ และเก็บรวบรวม ให้ ไปได้ หลาย ๆ จุด หลังจาก
ที่ 4 เรื่อง การสร้ าง ข้ อมูล โดยบางพื้นที่มีข้อจากัด นั้นนาผลการศึกษามาสะท้อน
นวัตกรรม มีการกาหนดเวลา ในเรื่องของการเดินทางไปยัง ในวันถัดไป โดยกาหนดการ
จานวน 8 ชั่วโมง ซึ่งอยู่ใน แหล่งเรียนรู้ ซึ่งจาเป็ นต้ องใช้ เดินทาง 2 ครั้ง ๆ ละ 4 จุด
ห้ วงเวลา 2 เดือน โดย ช่วงเวลาหลายชั่วโมง การ และกาหนดวันสะท้ อนผลเป็ น
ครูผ้ สู อนจะต้ องดาเนินการ ดาเนินการไม่ครบขั้นตอนที่ เวลา 2 วัน เพื่อให้ นักเรียนได้
ติดตามผลการทางานอย่าง สมบูรณ์ ทาให้ ต้องใช้ เวลา ตกผลึกความรู้และสามารถ
สม่าเสมอเพื่อไม่ให้ นักเรียน เพิ่มเติมจากการจัดกิจกรรม เตรียมการนาเสนอนวัตกรรม
สะสมภาระงานมาในช่วง ควรจะมีการวางแผนการ ของตนเองได้ อย่างครอบคลุม
สุดท้ายของการทางาน ทั้งนี้ เดินทางที่ไป 1 วัน สามารถเข้ า 2) ในการกาหนดโครงสร้ าง
ในระหว่างการสร้ าง ชมแหล่งเรียนรู้ได้ หลายจุด หลักสูตร โดยเฉพาะแหล่ง
นวัตกรรม จาเป็ นต้ องกากับ หลังจากนั้นนาผลการศึกษา เรียนรู้ให้ แต่ละพื้นที่ได้ เลือก
ติดตามในเรื่องของการเขียน แหล่งเรียนมาสะท้อนผลในวัน และกาหนดแหล่งเรียนใน
รายงานและเตรียมการ ถัดไป และมีการเก็บรวบรวม พื้นที่ใกล้ เคียง โดยโครงสร้ าง
นาเสนอนวัตกรรมไปพร้ อม ข้ อมูลด้ วยสื่อหรือเทคโนโลยี หลักสูตรกาหนดให้ ออกพื้นที่
กันด้ วย สามารถที่จะนาเสนอได้ ใน แหล่งเรียนรู้ จานวน 2 ครั้ง
หลายๆ รูปแบบ แต่ละครั้งสามารถเข้ าชมแหล่ง
เรียนรู้ได้ ตามความเหมาะสม
กับพื้นที่
176

ตารางที่ 18 ผลการปรับปรุงและแก้ ไขหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริม


ความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนักเรียน
มัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู (ต่อ)

แนวทางการปรับปรุง
ผลจากการทดลอง ข้อเสนอแนะจากผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
หลักสูตร
5. แนวทางการจัดการเรียนรู้ 5. แนวทางการจัดการเรียนรู้ 5. แนวทางการจัดการเรียนรู้
จากผลการทดลองใช้ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้ องได้ ให้ 1) ผู้ วิ จั ย ด าเนิ น การปรั บ ปรุ ง
หลักสูตรพบว่า กิจกรรม คาแนะนาเกี่ยวกับแนวการ แนวทางการจัดการเรียนรู้ โดย
การศึกษาเรียนรู้ในแหล่งภูมิ จัดการเรียนรู้ ดังรายละเอียด ให้ นักเรียนได้ ทากิจกรรมตาม
ปัญญาท้องถิ่นยังไม่ ต่อไปนี้ ใบกิจกรรมที่กาหนด พร้ อมทั้ง
สอดคล้ องกับสภาพจริง การจัดกิจกรรมการเรียน ร ว บ ร ว ม น วั ต ก ร ร ม ข อ ง
โดยเฉพาะเรื่องของระยะทาง การสอนควรให้ ผ้ ูเรียนได้ นักเรียนเข้ าแฟ้ มของแต่ละคน
และเวลาในการเดินทาง ซึ่ง ออกแบบโครงร่างของนวัตกรรม 2) ปรั บ กิ จ กรรมในช่ ว งของ
ควรกาหนดเวลาให้ มากขึ้น หรือสิ่งประดิษฐ์ในเบื้องต้ นก่อน การศึกษานอกสถานที่ โดยใช้
เพียง 2 ชั่วโมงที่กาหนดไว้ พร้ อมทั้งร่วมกันพิจารณาถึง ชั่ ว โมงว่ า งหรื อ หลั ง เลิ ก เรี ย น
จะไม่สามารถนานักเรียน ความเป็ นไปได้ ในการสร้ าง เ พื่ อ เ ป็ น ก า ร ส ะ ท้ อ น ผ ล
ออกไปแหล่งเรียนรู้และ นวัตกรรมนั้น ๆ เพื่อป้ องกัน เนื่ อ งจากว่ า การเดิ น ทางไป
เดินทางกลับมาทากิจกรรม ความเสี่ยงในการสร้ าง ศึ ก ษาแหล่ ง เรี ย นรู้ ใช้ เวลา
เพื่อสรุปผลในชั้นเรียน ควร นวัตกรรม ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องของ ค่อนข้ างนาน จึงไม่สามารถจะ
จะดาเนินการเสนอโครงการ งบประมาณ ความเหมาะสมของ สรุปผลการศึกษาหรือสะท้ อ น
ศึกษานอกสถานที่โดยใช้ วัสดุอุปกรณ์ และความสามารถ ผลในช่วงเวลาดังกล่าวได้
เวลาช่วงวันหยุดเสาร์ ในการผลิตของนักเรียน หาก
อาทิตย์ โดยที่ดาเนินการ นวัตกรรมนั้นมีความเป็ นไปได้ ก็
อย่างถูกต้ องตามระเบียบ สามารถดาเนินการตามแผนงาน
ของการพานักเรียนออกไป ได้ แต่หากนวัตกรรมนั้นไม่
ทัศนศึกษานอกสถานที่ แล้ ว สามารถดาเนินการได้ กใ็ ห้
ในชั่วโมงเรียนปกติจะเป็ น นักเรียนสร้ างนวัตกรรมที่เป็ น
การนาเสนอองค์ความรู้และ โมเดลหรือแบบจาลอง และ
สรุปผลการศึกษานอก ประเมินผลนวัตกรรมได้ ตาม
สถานที่ เกณฑ์ท่กี าหนด
177

ตารางที่ 18 ผลการปรับปรุงและแก้ ไขหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริม


ความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนักเรียน
มัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู (ต่อ)

แนวทางการปรับปรุง
ผลจากการทดลอง ข้อเสนอแนะจากผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
หลักสูตร
6. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 6. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 6. สื่อและแหล่งเรียนรู้
1) สื่อประเภทใบงาน ผู้ท่เี กี่ยวข้ องได้ ให้ คาแนะนา 1) ผู้วิจัยได้ ปรับปรุงหลักสูตร
เกี่ยวกับกิจกรรมที่ส่งเสริม เกี่ยวกับสื่อและแหล่งเรียนรู้ เกี่ยวกับแหล่งเรียนรู้ โดยเปิ ด
ความคิดสร้ างสรรค์ นักเรียน โดยระบุว่า ควรส่งเสริมให้ ช่องว่างให้ กับโรงเรียนแต่ละ
ให้ ความสนใจโดยเฉพาะ นักเรียนได้ ใช้ เครื่องมือสื่อสาร แห่งได้ เลือกแหล่งเรียนรู้ใน
นักเรียนระดับชั้น ม.ต้ น แต่ หรือเทคโนโลยีเข้ ามาช่วยในการ เขตพื้นที่ใกล้ เคียง อย่างน้ อย
ม.ปลาย จะมีความเข้ าใจและ เก็บรวบรวมข้ อมูลในขณะที่ 2 แหล่งเรียนรู้ เพื่อให้ นักเรียน
สามารถร่วมกิจกรรมได้ ศึกษาแหล่งเรียนรู้ภมู ิปัญญา ได้ ออกนอกพื้นที่ในการศึกษา
2) การกาหนดแหล่งเรียนรู้ ท้องถิ่น เช่น ใช้ สมาร์ทโฟนของ จานวน 2 ครั้ง เพื่อให้ เกิดแรง
ในท้องถิ่นอาจจะจาเป็ นต้ อง นักเรียนเป็ นเครื่องมือช่วยใน บันดาลใจและเก็บรวบรวม
เปิ ดโอกาสให้ โรงเรียนใน การบันทึกภาพหรือวีดีโอ และ ข้ อมูลมาประกอบการคิด
ท้องถิ่นนั้น ๆ ได้ สารวจ ใช้ กระบวนการทางสื่อมัลติมีเดีย นวัตกรรมหรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่
แหล่งเรียนรู้ภมู ิปัญญาของ ให้ นักเรียนนาเสนอข้ อมูลตาม 2) ปรับโครงสร้ างเวลาใน
ตนเอง ซึ่งจะมีความ ศักยภาพของตนเองอย่าง การศึกษานอกสถานที่ให้
เหมาะสมในเรื่องของ หลากหลาย ซึ่งจะสอดคล้ องกับ ยืดหยุ่นตามความเหมาะสม
ระยะทางใกล้ โรงเรียน ความสนใจของนักเรียนและทัน กับพื้นที่
เหมาะกับการเดินทางไป ยุคสมัยที่นักเรียนต้ องใช้ สมาร์ท
เรียนรู้ อีกทั้งยังเป็ นการสืบ โฟนเป็ นเครื่องมือในการทางาน
ทอดความเป็ นภูมิปัญญาของ
ท้องถิ่นนั้น ๆ อย่างใกล้ ชิด
โดยเสนอว่าให้ กาหนด
ขั้นตอนที่แต่ละโรงเรียนได้
สารวจแหล่งเรียนรู้ของ
ตนเองให้ นักเรียนได้ มีโอกาส
นาเสนอแหล่งเรียนรู้ใน
หมู่บ้านหรือชุมชนของ
ตนเอง
178

ตารางที่ 18 ผลการปรับปรุงและแก้ ไขหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริม


ความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนักเรียน
มัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู (ต่อ)

แนวทางการปรับปรุง
ผลจากการทดลอง ข้อเสนอแนะจากผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
หลักสูตร
7. แนวทางการวัดผลและ 7. แนวทางการวัดผลและ 7. แนวทางการวัดผลและ
ประเมินผล ประเมินผล ประเมินผล
ไม่มีการเปลี่ยนแปลงจาก ผู้มีส่วนเกี่ยวข้ องไม่มี ไม่มีการปรับปรุงหลักสูตรด้ าน
การทดลอง ข้ อเสนอแนะเกี่ยวกับแนว แนวทางการวัดผลประเมินผล
ทางการวัดผลและประเมินผล

กระบวนการวิจั ยในขั้น ที่ 3 ปรับปรุงและแก้ ไขหลั กสู ตร ผู้วิจัยได้ ทาการทดลองใช้


หลักสูตรตามแผนที่กาหนดไว้ พร้ อมกันนี้ได้ ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้ องและสังเคราะห์ผลการทดลอง
ตลอดจนวิ เ คราะห์ ข้ อ เสนอแนะของผู้ ท่ี เ กี่ ย วข้ อ ง กั บ สภาพการใช้ ห ลั ก สู ต รกิ จ กรรมการคิ ด
สร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิ ปัญญาท้ องถิ่น ของ
นักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู และดาเนินการปรับปรุงแก้ ไขตามคาแนะนาของผู้ท่ี
เกี่ยวข้ อง ทาให้ ได้ หลักสูตรกิ จ กรรมการคิดสร้ างสรรค์ เพื่อส่ง เสริม ความสามารถในการสร้ า ง
นวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้ องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัว ล าภู ฉบับ
สมบูรณ์และพร้ อมนาไปใช้ กับกลุ่มเป้ าหมายต่อไป

3. ผลการวิจัยระยะที่ 3 ผลการใช้หลักสูตรการคิดสร้างสรรค์เพือ่ ส่งเสริมความสามารถในการ


สร้างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิน่ ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู
การวิ จั ย ในระยะที่ 3 นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ น าหลั ก สู ต รการคิ ด สร้ า งสรรค์ เ พื่ อ ส่ ง เสริม
ความสามารถในการสร้ างนวัต กรรมที่บูร ณาการภูมิ ปัญ ญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ย นมั ธ ยมศึกษา
จังหวัดหนองบัวลาภู กลุ่มเป้ าหมายได้ แก่ นักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู
จานวน 6 โรงเรียน โดยมีผ้ ูช่วยผู้วิจัยซึ่งเป็ นครูผ้ ูสอนที่เป็ นอาสาสมัครในโรงเรียนกลุ่มเป้ าหมาย
ระหว่างวันที่ 1 กรกฏาคม 2563 ถึง 13 พฤศจิกายน 2563 รวมระยะเวลา 18 สัปดาห์ โดยมีผล
การศึกษา แบ่งออกเป็ น 2 ขั้นตอน ดังนี้
3.1 ขั้นตอนที่ 1 การอบรมผูช้ ่วยผูว้ ิจัย ในการนาหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อ
ส่ ง เสริ ม ความสามารถในการสร้ า งนวั ต กรรมที่ บู ร ณาการภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ย น
มัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู ไปใช้ ในชั้นเรียน โดยมีรายละเอียดการดาเนินการดังต่อไปนี้
179

3.1.1 การวางแผนการใช้หลักสูตร
ก่อนดาเนินการใช้ หลักสูตร ผู้วิจัยได้ ร่วมกับอาจารย์ท่ปี รึกษาและผู้ช่วยผู้วิ จัย
วางแผนการใช้ หลักสูตรและกาหนดบทบาทหน้ าที่ข องผู้เกี่ยวข้ องกับการใช้ หลักสูตร ผลการวาง
แผนการใช้ หลักสูตร เป็ นไปตามตารางที่ 19

ตารางที่ 19 แผนการใช้ หลักสูตรการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ าง


นวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นของนักเรียนมัธยมศึกษา
จังหวัดหนองบัวลาภู

กิจกรรม รายละเอียดการดาเนินงาน ผูม้ ีบทบาทเกี่ยว


ก่อนการใช้หลักสูตร
1. ทาหนังสือขออนุญาต 1. ผู้วิจัยเขียนคาร้ องเพื่อขอ 1. ผู้วิจัย
โรงเรียนเพื่อนาหลักสูตร อนุญาตนาหลักสูตรเข้ าไปใช้ ใน 2. อาจารย์ท่ปี รึกษา
ไปใช้ ในโรงเรียนและ โรงเรียนกลุ่มเป้ าหมายและแต่งตั้ง 3. เจ้ าหน้ าที่ฝ่ายวิชาการ
แต่งตั้งผู้ช่วยผู้วิจัย ผู้ช่วยผู้วิจัย ที่กลุ่มงานวิชาการ คณะศึกษาศาสตร์
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2. ประสานโรงเรียนกลุ่ม 2. ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการนา 1. ผู้วิจัย
เพื่อทาความเข้ าใจ หลักสูตรที่ผ้ วู ิจัยพัฒนาขึ้น และ 2. ครูผ้ สู อน (ผู้ช่วยผู้วิจัย)
เกี่ยวกับการนาหลักสูตร จุดมุ่งหมายในการนามาใช้ ในโรง 3. หัวหน้ างานวิชาการ
ไปใช้ ในโรงเรียน กลุ่มเป้ าหมาย จานวน 6 โรงเรียน 4. ผู้บริหารโรงเรียน
3. ประสานครูผ้ สู อนที่ทา 3. ติดต่อประสานงานครูผ้ สู อน 1. ผู้วิจัย
หน้ าที่เป็ นผู้ช่วยผู้วิจัย เพื่อวางแผนและนัดหมายการ 2. ครูผ้ สู อน (ผู้ช่วยผู้วิจัย)
ทางานร่วมกัน
4. ประชุมผู้ช่วยผู้วิจัย 4. ประชุมวางแผน เขียนแผนการ 1. ผู้วิจัย
เตรียมการใช้ หลักสูตร ดาเนินงาน และทาความเข้ าใจใน 2. ครูผ้ สู อน (ผู้ช่วยผู้วิจัย)
จานวน 6 โรงเรียน หลักสูตรที่ผ้ วู ิจัยพัฒนาขึ้น
5. รับสมัครนักเรียนเข้ า 5. รับสมัครนักเรียนที่มีความสนใจ 1. ผู้วิจัย
ร่วมชุมชน (สมัครใจ) เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ชี้แจง 2. ครูผ้ สู อน (ผู้ช่วยผู้วิจัย)
และปฐมนิเทศนักเรียน วัตถุประสงค์ของการทากิจกรรม 3. นักเรียน
เกี่ยวกับหลักสูตร ตามโครงสร้ างของหลักสูตร ชี้แจง
เอกสาร บทบาท ภาระงานหรือ
กิจกรรมที่จะต้ องดาเนินการในช่วง
ของการใช้ หลักสูตร
180

ตารางที่ 19 แผนการใช้ หลักสูตรการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ าง


นวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นของนักเรียนมัธยมศึกษา
จังหวัดหนองบัวลาภู (ต่อ)

กิจกรรม รายละเอียดการดาเนินงาน ผูม้ ีบทบาทเกี่ยวข้อง


ระหว่างใช้หลักสูตร
6. จัดกิจกรรมตาม 7. ดาเนินการจัดกิจกรรมการ 1. ครูผ้ สู อน (ผู้ช่วยผู้วิจัย)
โครงสร้ างหลักสูตรที่ได้
เรียนรู้ จานวน 5 หน่วยการเรียนรู้ 2. นักเรียน
กาหนดไว้ ตามโครงสร้ างหลักสูตรที่กาหนด
7. นิเทศหรือเยี่ยมชั้น
8. ดาเนินการเยี่ยมชั้นเรียน เพื่อ 1. ครูผ้ สู อน (ผู้ช่วยผู้วิจัย)
เรียนในโรงเรียน สังเกตกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ 2. นักเรียน
กลุ่มเป้ าหมายจานวน 6เพื่อประเมินการจัดกิจกรรมต่าง ๆ 3. ผู้วิจัย
โรงเรียน ตามวัตถุประสงค์ท่กี าหนดไว้ โดย
การสังเกต สัมภาษณ์ ใน
บรรยากาศที่ไม่เป็ นทางการ
8. สะท้อนผลระหว่าง 9. ดาเนินการสะท้อนผลหลัง 1. ครูผ้ สู อน (ผู้ช่วยผู้วิจัย)
การใช้ หลักสูตร การจัดกกิจกรรม ผู้วิจัยเก็บ 2. ผู้วิจัย
รวบรวมข้ อมูลที่เกิดขึ้นจาก
กระบวนการใช้ หลักสูตรทั้งจากการ
สังเกต การสัมภาษณ์ มานาเสนอ
ให้ ผ้ เู กี่ยวข้ องได้ รับทราบ
9. ประเมินผลนวัตกรรม 10. ผู้ช่วยผู้วิจัย ตรวจประเมิน 1. ครูผ้ สู อน (ผู้ช่วยผู้วิจัย)
ของนักเรียน นวัตกรรมของนักเรียนในช่วง 2. นักเรียน
สัปดาห์สุดท้ายของการจัดกิจกรรม
ซึ่งเป็ นกิจกรรมการนาเสนอ
นวัตกรรม
10. วัดระดับความคิด 11. นาแบบทดสอบความคิด 1. ครูผ้ สู อน (ผู้ช่วยผู้วิจัย)
สร้ างสรรค์หลังใช้ สร้ างสรรค์ (TCT – DP) ให้ 2. นักเรียน
หลักสูตร นักเรียนทาการทดสอบหลังใช้
หลักสูตร
181

ตารางที่ 19 แผนการใช้ หลักสูตรการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ าง


นวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นของนักเรียนมัธยมศึกษา
จังหวัดหนองบัวลาภู (ต่อ)

กิจกรรม รายละเอียดการดาเนินงาน ผูม้ ีบทบาทเกี่ยวข้อง


หลังใช้หลักสูตร
11. ประชุมสรุปผลการ 12. ดาเนินการประชุมสรุปผล 1. ครูผ้ สู อน (ผู้ช่วยผู้วิจัย)
ใช้ หลักสูตรร่วมกับผู้ช่วย รวบรวมข้ อมูลจากกระบวนการใช้ 2. ผู้วิจัย
ผู้วิจัย หลักสูตรทั้งจากการสังเกต มา
นาเสนอให้ ผ้ ูเกี่ยวข้ องได้ รับทราบ
12. เขียนรายงานการใช้ 13. เขียนรายงานผลการใช้ 1. ผู้วิจัย
หลักสูตรและนาข้ อมูล หลักสูตร นาผลที่ได้ เสนอต่อ 2. อาจารย์ท่ปี รึกษา
รายงานย้ อนกลับไปยัง โรงเรียนเพื่อพิจารณาการนา 3. ครูผ้ สู อน (ผู้ช่วยผู้วิจัย)
โรงเรียนกลุ่มเป้ าหมาย หลักสูตรไปใช้ ในโรงเรียนอย่าง 2. ผู้บริหารโรงเรียน
ต่อเนื่องในปี การศึกษาถัดไป

3.1.2 การเตรียมครูผสู ้ อนเพือ่ เป็ นผูช้ ่วยผูว้ ิจัย


ผู้ วิ จั ย ได้ ด าเนิ น การติ ด ต่ อ ประสานงานกั บ ครู ผ้ ู ส อนในโรงเรี ย นระดั บ ชั้ น
มัธยมศึกษาในจังหวัดหนองบัวลาภู โดยแบ่งเป็ นโรงเรียนขนาดใหญ่ จานวน 2 โรงเรียน ขนาด
กลาง จานวน 2 โรงเรียน และขนาดเล็ก จานวน 2 โรงเรียน ๆ ละ 1 คน รวม 6 คน เข้ าร่วมเป็ น
ผู้ช่วยผู้วิจัย ในการนาหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นไปใช้ ในโรงเรียน จากนั้นผู้วิจัยได้ มีการสนทนาและร่วม
ประชุ ม แลกเปลี่ ย นโดยใช้ ช่ อ งทาง Online โดยการประชุ ม ทางไกล (ระหว่ า งวั น ที่ 15 – 27
มิถุนายน 2563) เนื่องจากช่วงเวลาดังกล่าวอยู่ในช่วงของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรน่ า 2019 (Covid-19) จึงจาเป็ นต้ องใช้ ช่องทางการสื่อสารแบบออนไลน์ โดยมี
ประเด็นในการประชุมเกี่ยวกับ บทบาทหน้ าที่ท่รี ับผิดชอบในการใช้ หลักสูตร กิจกรรมต่าง ๆ ที่จะ
เกิดขึ้นในระหว่างการใช้ หลักสูตร โดยผู้วิจัยและผู้ช่วยผู้วิจัยร่วมกันซักถามในข้ อที่ยังสงสัย เพื่อ
สร้ างความเข้ าใจเกี่ยวกับรูปแบบและกิจกรรมการเรียนรู้ การมอบหมายภาระงานให้ กับนักเรียนใน
ระหว่างการใช้ หลักสูตร ตลอดจนข้ อแนะนาในการนานักเรียนไปศึกษานอกสถานที่ ในจุดที่เป็ น
แหล่งเรียนรู้ตามภูมิปัญญาท้องถิ่นของแต่ละโรงเรียน โดยผู้วิจัยได้ จัดส่งเอกสารประกอบหลักสูตร
ตลอดจนหนังสื อขอความอนุ เ คราะห์ ต่าง ๆ ไปยังโรงเรียนกลุ่ม เป้ าหมาย ทางไปรษณีย์ และ
กาหนดช่องทางการสื่อสารโดยใช้ แอพพลิเคชั่นไลน์ เป็ นช่องทางในการดาเนินการ
182

3.1.3 การนาหลักสูตรเข้าสู่โรงเรียนกลุ่มเป้ าหมาย


ผู้ วิ จั ย ได้ ด าเนิ น การจั ด ส่ ง เอกสารประกอบหลั ก สู ต ร ไปยั ง โรงเรี ย น
กลุ่มเป้ าหมายโดยทางไปรษณีย์ และทาการสื่อสารกับผู้ช่วยผู้วิจัยด้ วยการประชุมทางไกล (VDO
Conference) เนื่องจากช่วงเวลาดังกล่าวอยู่ในช่วงของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรั ส โคโรน่ า 2019 (Covid-19) พร้ อ มกั น นั้ น ได้ ป ระสานความร่ ว มมื อ ไปยั ง หั ว หน้ า กลุ่ ม
บริหารงานวิชาการทางโทรศัพท์ ถึงขั้นตอนและวิธีการที่ผ้ ชู ่วยผู้วิจัย จะดาเนินการนาหลักสูตรไปใช้
ในโรงเรียน โดยในช่วงสัปดาห์ท่ี 1 ของการเปิ ดภาคเรียน ผู้ช่วยผู้วิจัยดาเนินการรับสมัครนักเรียน
ที่มี ค วามสนใจ จ านวน 20 คน โดยคละชั้ น ตามความสมั ค รใจตามหลั ก การของการส่ง เสริม
ความคิดสร้ างสรรค์ท่ใี ห้ นักเรียนมีอิสระในการเลือกเข้ าร่วมกิจกรรมด้ วยตนเองตามความสนใจ
แต่ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) จาเป็ นที่ต้อง
เลือกนักเรียนห้ องใดห้ องหนึ่งที่สารวจแล้ วพบว่ามีความประสงค์และสมัครใจเข้ าร่วมกิจกรรมตาม
โครงสร้ างของหลักสูตรที่พัฒนาขึ้น ดังนั้นผู้ช่วยผู้วิจัย จึงมีนักเรียนที่สนใจเป็ นกลุ่ม ๆ ละ 20 คน
ตามกรอบของการวิจัย และผู้ช่วยผู้วิจัยดาเนินการจัดกิจกรรมตามโครงสร้ างของหลักสูตรและ
กาหนดการที่ได้ ร่วมวางแผนกับผู้วิจัยไว้ ก่อนหน้ า โดยผู้วิจัยจะลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมกิจกรรมการ
เรียนการสอนเป็ นระยะ ๆ ตามแผนที่กาหนดไว้
3.2 ขั้น ตอนที่ 2 ผู ้ช่ ว ยผู ้วิ จั ย น าหลัก สู ต รไปใช้ใ นโรงเรี ย นกลุ่ ม เป้ าหมาย โดยมี
ผลการวิจัยดังต่อไปนี้ ผู้ช่วยผู้วิจัยทั้ง 6 คน ในโรงเรียนกลุ่มเป้ าหมาย ดาเนินการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ตามโครงสร้ างของหลักสูตรที่ผ้ ูวิจัยพัฒนาขึ้น โดยผู้วิจัยมีการกากับติดตามและเยี่ยมชั้น
เรียนเพื่อรับฟั งผลการใช้ หลักสูตร ตลอดจนสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น จากนั้นผู้วิจัยและผู้ช่วยผู้วิจัย
ร่วมประเมินและสะท้ อนผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามโครงสร้ างของหลักสูตร รวมถึงวางแผน
ปรับปรุงในหน่วยการเรียนรู้น้นั ๆ ตามลาดับ ดังแสดงในภาพที่ 13
1. วางแผนการนา
หลักสูตรไปใช้ ใน
โรงเรียน

2. จัดกิจกรรมตาม
5. ปรับปรุงกิจกรรม
โครงสร้ างและแผนที่
เพื่อความเหมาะสม
วางไว้

4. สะท้ อนผลการจัด 3. สังเกตและเยี่ยม


กิจกรรม ชั้นเรียน

ภาพที่ 13 ขั้นตอนการดาเนินการจัดกิจกรรมตามโครงสร้ างหลักสูตร หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 – 5


183

3.2.1 ผลการดาเนินการ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 การสร้างแรงบันดาลใจ


หน่ ว ยการเรี ย นรู้ ท่ี 1 การสร้ า งแรงบัน ดาลใจ ประกอบด้ ว ยแผนการจั ดการ
เรียนรู้ท่ี 1 – 2 มีเป้ าหมายเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ตัวอย่างให้ เห็นคุณค่าและเกิดแรงบันดาลใจ
ในการสร้ างนวั ต กรรม ด าเนิ น การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ โดยผู้ ช่ ว ยผู้ วิ จั ย จากโรงเรี ย น
กลุ่มเป้ าหมายทั้งหมด 6 โรงเรียน ใช้ เวลา 2 ชั่วโมง เก็บรวบรวมข้ อมูล ประเมินผลการจัดกิจกรรม
โดยการสังเคราะห์บันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้และการสะท้ อนผลการจัดกิจกรรมในรูปแบบ
การประชุมออนไลน์เนื่องจากช่วงเวลาดังกล่าวอยู่ในช่วงของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ปรากฏผลดังนี้
1) การจัดกิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู ้
แผนการจั ด การเรี ย นรู้ ท่ี 1 เรื่ อ ง ปฐมนิ เ ทศ ด าเนิ น การจั ด กิ จ กรรมให้
นักเรียนมีส่วนร่ วม และให้ ผ้ ูเรีย นได้ รับ ทราบแนวทางการดาเนิ น การ จุ ดประสงค์ข องการจั ด
กิจกรรม และหลังจากนั้นผู้ช่วยผู้วิจัยชวนนักเรียนทากิจกรรมตามขั้นตอนของใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง
ชาวนายุคใหม่ เป็ นกิจกรรมที่ฝึกให้ นักเรียนได้ แ สดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นที่กาหนด และ
เพื่อฝึ กทักษะกระบวนการคิดสร้ างสรรค์ โดยการอ่านอย่างสร้ างสรรค์ (Creative Reading Skill)
ซึ่งกิจกรรมมุ่งส่งเสริมให้ นักเรียนรู้จักคิด แสดงความคิดเห็น แสดงความรู้สึกนึกคิดต่อเรื่องที่อ่าน
เนื้อหาที่กาหนดให้ นัก เรียนอ่านเกี่ยวกับการปลูกพืชไร้ ดิน (Hydroponics) โดยจัดเป็ นกิจ กรรม
กลุ่ม ให้ นักเรียนอ่านเนื้อหาและแสดงความคิดเห็นในกลุ่มพร้ อมทั้งหาข้ อสรุปเพื่อเตรียมประเด็น
เกี่ยวกับวิธีการปลูกข้ าวโดยไม่ ต้องปลูกในนาข้ าว พร้ อมวาดภาพประกอบตามจินตนาการและ
นาเสนอนวัตกรรม ดังภาพที่ 14

ภาพที่ 14 นวัตกรรมนักเรียนในการทดสอบความคิดสร้ างสรรค์


184

แผนการจั ด การเรี ย นรู้ ท่ี 2 เรื่ อ ง สร้ า งแรงบั น ดาลใจ เมื่ อ เรี ย นจบตาม
แผนการจัดการเรียนรู้นักเรียนสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ตัวอย่ างให้ เห็นคุณค่ าและเกิดแรง
บันดาลใจในการสร้ างนวัตกรรม กิจกรรมเริ่มด้ วยผู้ช่วยผู้วิจัยเชิญนักเรียนรุ่นพี่ในโรงเรียน ณ เวลา
ปั จจุ บันมาเล่ าถึ งประสบการณ์ การทากิจ กรรม และการทาโครงงานหรื อสิ่ง ประดิ ษฐ์ ท่ีป ระสบ
ความสาเร็จ พร้ อมทั้งจัดเวทีหรือโอกาสให้ นักเรียนรุ่นพี่และนักเรียนปัจจุบันได้ พูดคุย ซักถาม ให้
เกิดแนวความคิดและแรงบันดาลใจในการทากิจกรรมหรือการสร้ างสรรค์นวัตกรรม หลังจากนั้นครู
ชวนนักเรียนทากิจกรรมฝึ กความคิดสร้ างสรรค์ตามขั้นตอนของใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง คิดหาเหตุผล
เพื่อฝึ กทักษะกระบวนการให้ เหตุผล โดยมีสถานการณ์ท่กี าหนดให้ อย่างน้ อย 5 สถานการณ์ พร้ อม
ทั้งแบ่งนักเรียนเป็ นกลุ่ม ๆ ละ 3 – 5 คน ศึกษาสถานการณ์ ระดมความคิดเห็น และเตรียมการ
ในการนาเสนอหน้ าชั้นเรียน
2) การสังเกตกระบวนการสร้างนวัตกรรมของนักเรียนระหว่างเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง ปฐมนิเทศ กิจกรรมในครั้งนี้นับได้ ว่าเป็ น
ครั้งแรกที่ผ้ ูช่วยผู้วิจัยกับนักเรียนที่เลือกลงทะเบียนกิจกรรมชุมนุมได้ พบกัน ครูและนักเรียนต่าง
แนะนาตัวเพื่อทาความรู้จักกันและสร้ างความคุ้นเคย นักเรียนแต่ละคนมีความตื่นเต้ นและให้ ความ
ร่ วมมือเป็ นอย่ างดี โดยมีนักเรียนบางกลุ่มที่เกิ ดความสงสัยและสอบถามผู้ช่วยผู้วิ จัยเกี่ ย วกั บ
แบบทดสอบ ว่ าให้ ทาเพื่ออะไร มีผลต่ อคะแนนไหม ต้ องเขียนอย่ างไร วาดรูปอะไรได้ บ้าง ใช้
ปากกาได้ ไหม แอบดูเพื่อนได้ ไหม ซึ่งนักเรียนจะมีความกังวล แต่ผ้ ูช่วยผู้วิจัยได้ กาชับและอธิบาย
ขั้นตอนพร้ อมทั้งแนวปฏิบัติจนสามารถดาเนินการได้ ตามเวลาที่กาหนด การร่วมกิจกรรมตามใบ
กิจกรรมที่ 1 นักเรียนอ่านบทความที่แจกให้ อย่างตั้งใจ และร่วมแสดงความคิดเห็นในกลุ่ม โดย
สังเกตได้ ว่านักเรียนจะยังไม่กล้ าแสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่เนื่องจากบางกลุ่มเป็ นเพื่อนสมาชิก
คนใหม่จากต่างโรงเรียน ยังไม่ค้ ุนชินและอยู่ในช่วงของการปรับตัว สามารถนาเสนอนวัตกรรมได้
ดังตัวอย่างของนวัตกรรม ดังภาพที่ 15

ภาพที่ 15 นวัตกรรมนักเรียนกิจกรรมที่ 1 เรื่อง วิธีการปลูกข้ าวโดยไม่ต้องปลูกในนาข้ าว


185

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 เรื่อง สร้ างแรงบันดาลใจ กิจกรรมเป็ นการรับฟั ง


การเล่าเรื่องของรุ่นพี่ท่ปี ระสบความสาเร็จในโรงเรียน นักเรียนมีความตื่นเต้ นและบรรยากาศผ่อ
นคลาย เนื่องจากรุ่นพี่ท่มี าเล่าประสบการณ์ เป็ นคนที่นักเรียนรู้จัก นักเรียนตั้งใจฟังเป็ นอย่างดี มี
ค าถามระหว่ างผู้ ฟังและผู้ พูด ผู้ ช่ ว ยผู้ วิ จั ย คอยให้ ค วามช่ ว ยเหลือ และค าแนะนา ช่ ว ยควบคุม
กิจกรรมให้ ดาเนินผ่านไปได้ เป็ นอย่างดี คาถามส่วนมากจะเป็ นเกี่ยวกับ “ทาสิ่งประดิษฐ์ อ ะไร”
“ทายากไหม” “ใช้ เงินมากไหม” “ไปประกวดที่ไหน” เหล่านี้เป็ นต้ น ซึ่งนักเรียนที่ซักถามจะคลาย
ความกังวลและร่วมกิจกรรมเป็ น อย่างดี หลังจากนั้นผู้ช่วยผู้วิจัยแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็ น 3 – 5
คนเพื่อทากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง คิดหาเหตุผล นักเรียนแต่ละกลุ่มได้ รับสถานการณ์ท่ี
กาหนด เริ่มสังเกตเห็นภาวะผู้นา เนื่องจากว่าเงื่อนไขของกิจกรรมจาเป็ นต้ องมีตัวแทนในการอ่าน
สถานการณ์ให้ เพื่อน ๆ ในกลุ่มฟั ง สังเกตเห็นบทบาทของการแสดงความคิดเห็น เสนอแนะ และ
รับฟั งความคิดเห็นของเพื่อนในกลุ่ม จากการเสนอตัวเป็ นผู้นา หรือมีเพื่อนเสนอตัว บางกลุ่มส่ง
เสียงสนุ กสนานในการเลือกผู้นา และกิจกรรมในกลุ่มเกิดกระบวนการกลุ่มอย่ างเป็ นธรรมชาติ
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและเขียนเหตุผลได้ เหมาะสมพร้ อมทั้งนาเสนอนวัตกรรมหน้ าชั้น
เรียนได้ อย่างสมบูรณ์ จะเห็นได้ จากตัวอย่างของนวัตกรรมที่นักเรียนร่วมกันทางาน ดังภาพที่ 16

ภาพที่ 16 นวัตกรรมนักเรียนกิจกรรมที่ 2 เรื่อง การเขียนแสดงเหตุผลจากสถานการณ์ท่กี าหนด

3) การประเมินผลการจัดกิจกรรม
หน่ วยการเรีย นรู้ท่ี 1 การสร้ างแรงบันดาลใจ ประกอบด้ วย 2 แผนการ
จัดการเรียนรู้ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ซึ่งเป็ นช่วงเริ่มต้ นของการใช้ หลักสูตร โดยทั้ง 6 กลุ่มเป้ าหมาย
ดาเนินการตามช่วงของวันและเวลาที่เหมาะสม นอกจากนั้นในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้นักเรียน
จะมี น วั ต กรรมจากการท ากิ จ กรรมตามใบกิ จ กรรมและได้ รั บ การประเมิ น ในทุ ก ชั่ ว โมงเรี ย น
ประกอบด้ วยการประเมินนวัตกรรมจากใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง ชาวนายุคใหม่ ซึ่งกลวิธีการฝึ กคิด
สร้ างสรรค์ คือ การอ่านอย่ างสร้ างสรรค์ (Creative Reading Skill) และใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อ ง
คิดหาเหตุผล มีกลวิธีการฝึ กคิดสร้ างสรรค์ คือ การฝึ กหาเหตุผล (Paradoxes) ดังตารางที่ 20
186

ตารางที่ 20 ค่าเฉลี่ยผลการประเมินนวัตกรรม หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 การสร้ างแรงบันดาลใจ


ใบกิจกรรมที่ 1 – 2

จานวน ค่าเฉลี่ยคะแนนประเมินนวัตกรรม
นักเรียน กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 2
โรงเรียนกลุ่มเป้ าหมาย
ที่เข้า แปล แปล
̅
𝑿 S.D. ̅
𝑿 S.D.
ร่วม ผล ผล
นาวังศึกษาวิช 20 9.35 1.31 ผ 10.05 1.61 ผ
กุดดินจี่วิทยาคม 20 9.85 1.46 ผ 10.15 1.53 ผ
ดงมะไฟวิทยาคม 20 9.15 1.57 ผ 10.20 1.58 ผ
ฝั่งแดงวิทยาสรรค์ 20 9.35 1.31 ผ 9.75 1.80 ผ
ภูซางใหญ่วิทยาคม 20 9.96 1.70 ผ 10.05 1.23 ผ
หนองสวรรค์วิทยาคาร 20 9.35 1.53 ผ 10.10 1.37 ผ
120 9.50 1.48 ผ 10.05 1.52 ผ

จากตารางที่ 20 พบว่านักเรียนร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอน
ของกิจกรรมที่ 1 และ 2 และดาเนินการระดมความคิดเห็น สรุปข้ อมูล ตลอดจนการนาเสนอ
นวัตกรรมในท้ ายชั่วโมงของการจัดกิจกรรม โรงเรียนกลุ่มเป้ าหมายทั้ง 6 โรงเรียน มีค่าเฉลี่ยของ
คะแนนการประเมิน นวัตกรรม กิจกรรมที่ 1 เรื่อง ชาวนายุคใหม่ อยู่ในเกณฑ์ ผ่าน มีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 9.50 และกิจกรรมที่ 2 เรื่อง คิดหาเหตุผล อยู่ในเกณฑ์ ผ่าน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 10.05
จากการประเมิ น นวั ต กรรมของนั ก เรี ย นที่เ กิ ด จากกระบวนการส่ ง เสริ ม
ความคิดสร้ างสรรค์ท้งั 2 กิจกรรม คือ ชาวนายุคใหม่ และ คิดหาเหตุผล ซึ่งทั้งสองกิจกรรมมุ่ง
ส่งเสริมให้ นักเรียนเกิดทักษะการอ่านอย่างสร้ างสรรค์ (Creative Reading Skill) และการฝึ กหา
เหตุ ผ ล (Paradoxes) โดยทั้ง สองกลวิ ธี ฝึ กนั้ น เป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของกระบวนการฝึ กฝนความคิ ด
สร้ างสรรค์ ผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ผ่าน ในด้ านความรู้พบว่านักเรียนมีความรู้ความเข้ าใจใน
กิ จ กรรม เข้ า ใจและตระหนั ก ถึ ง ความส าคั ญ ของภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ที่ มี ค วามเชื่ อ มโยงกั บ
กระบวนการสร้ างนวัตกรรม ในด้ านทักษะกระบวนการ นักเรียนเกิดกระบวนการกลุ่ม มีความ
เข้ าใจในบทบาทหน้ าที่ของแต่ละคน นอกจากนั้นในด้ านเจตคติ นักเรียนรู้จักการยอมรับฟั งความ
คิดเห็นของผู้อ่ืน มีความเสียสละในการทางาน เกิดความสามามัคคีในกลุ่ม และการทางานตาม
เวลาที่กาหนดโดยไม่มีพฤติกรรมการแข่งขันเกิดขึ้นในชั้นเรียน ทุกกลุ่มให้ เกียรติซ่ึงกันและกันใน
การนาเสนอนวัตกรรมหน้ าชั้นเรียน โดยคานึงถึงบทบาทของการเป็ นผู้พูดและผู้ฟังได้ เป็ นอย่างดี
187

4) การสะท้อนผลการจัดกิจกรรมร่วมกับผูช้ ่วยผูว้ ิจัย


จากการจัดกิจกรรมในหน่ วยที่ 1 เรื่อง การสร้ างแรงบันดาลใจ พบว่ า ใน
ด้ านความรู้ นักเรียนได้ รับความรู้เกี่ยวกับความสาคัญของการพัฒนานวัตกรรม การสร้ างแรงจูงใจ
ในการคิดหาสภาพปัจจุบันปัญหา โดยมีตัวแบบที่เป็ นนักเรียนรุ่นพี่มาเล่าประสบการณ์ อีกทั้งได้
ร่วมแสดงความคิดเห็นอย่างหลากหลายต่อสถานการณ์ท่กี าหนด ด้ านกระบวนการ นักเรียนได้ ร่วม
กิจกรรมกลุ่ม มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในกลุ่ม ใช้ ทกั ษะการสื่อสาร การรับฟังความคิดเห็นของ
สมาชิกและในด้ านเจตคติ นักเรียนมีทัศนคติท่ดี ีต่อการร่วมกิจกรรม ให้ ความร่วมมือตามขั้นตอน
ของการจัดกิจกรรมอย่างเคร่งครัด
3.2.2 ผลการดาเนินการ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 การสืบค้นข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 การสืบค้ นข้ อมูล ประกอบด้ วยแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3
– 4 มีเป้ าหมายอยู่ 3 ประการ ได้ แก่ 1) สืบค้ นข้ อมูล จากเครื อข่ายอิ นเตอร์เ น็ต ตระหนั ก ถึ ง
จริยธรรมในการใช้ ข้อมูลอย่างสร้ างสรรค์ 2) อธิบายเกี่ยวกับกระบวนการคิดสร้ างสรรค์ 3) อธิบาย
และสร้ างองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้ องถิ่นในจังหวัดหนองบัวลาภู ดาเนินการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้โดยผู้ช่วยผู้วิจัย จากโรงเรียนกลุ่มเป้ าหมายทั้งหมด 6 โรงเรียน ใช้ เวลา 2 ชั่วโมง เก็บ
รวบรวมข้ อมูล ประเมินผลการจัดกิจกรรม
1) การจัดกิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู ้
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 การสืบค้ นข้ อมูล โดยมีเป้ าหมายเพื่อให้ นักเรียน
มีทกั ษะการสืบค้ นข้ อมูลจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ต และตระหนักถึงจริยธรรมในการใช้ ข้อมูลอย่ าง
สร้ างสรรค์ กิจกรรมเริ่มต้ นด้ วยการเตรียมนักเรียนให้ มีความพร้ อมโดยการใช้ เพลงเพื่อฝึ กให้
นักเรียนมีสมาธิหลังจากนั้นผู้ช่วยผู้วิจัยให้ ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งภูมิปัญญาท้ องถิ่นที่ใกล้ เคียงกับ
บริบทของโรงเรียนโดยใช้ ส่อื และเทคโนโลยีท่เี หมาะสม พร้ อมชวนนักเรียนทากิจกรรมตามขั้นตอน
ของใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง พินิจ พิจารณา เพื่อฝึ กการคิดพิจารณาลักษณะของวัตถุสิ่งของ โดยการ
สอนให้ นักเรียนพิจารณาพิจารณาถึงลักษณะต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ท้งั ของมนุษย์ สัตว์ และสิ่งของใน
ลักษณะที่แตกต่างไปกว่าที่เคยคิด รวมทั้งในลักษณะที่คาดไม่ถึง โดยแบ่งนักเรียนเป็ นกลุ่ม ๆ ละ
3 – 5 คน และแจกวัตถุ สิ่งของที่เลือกไว้ ให้ นักเรียนร่วมกันพิจารณา ระดมความคิดเห็น เขีย น
ระบุสิ่งที่สังเกตเห็นภายนอก พร้ อมทั้งเขียนรูปภาพประกอบ และนาเสนองาน
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับความคิดสร้ างสรรค์มี
เป้ าหมายเพื่อให้ นักเรียนสามารถอธิบายและสร้ างองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นในจังหวัด
หนองบัวลาภูหรือแหล่งภูมิปัญญาใกล้ โรงเรียน กิจกรรมที่มีความท้าทายของนักเรียนคือ การแบ่ง
ให้ ผ้ ูเรียนช่วยกันระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับข้ อความที่กาหนด โดยมีเงื่อนไขว่าข้ อความที่กาหนด
จะมีความเหมือ นกั นและต่ างกัน อย่ างไร พร้ อมทั้งเขียนความเหมือ นและความต่ างจากความ
คิดเห็นของสมาชิกในกลุ่ม นอกจากนั้นผู้ช่วยผู้วิจัยยังให้ ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งภูมิปัญญาท้ องถิ่นที่
อยู่ใกล้ ๆ โรงเรียนให้ นักเรียนร่วมกันพิจารณาเลือกเป็ นแหล่งเรียนรู้ตามโครงการสอน
188

2) การสังเกตกระบวนการสร้างนวัตกรรมของนักเรียนระหว่างเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 การสืบค้ นข้ อมูล ในขั้นเร้ าความสนใจ โดยนา
นักเรียนให้ ความร่ วมมือในการเตรียมตัว โดยการนั่งสมาธิโดยผู้ช่วยผู้วิจัยเปิ ดเพลงบรรเลงให้
นักเรียนฟั ง นักเรียนนั่งนิ่งด้ วยความสงบและเป็ นระเบียบเรียบร้ อย หลังจากนั้นเริ่มกิจกรรมที่ 3
แบ่งนักเรียนเป็ นกลุ่ม พร้ อมทั้งนาใยบวบ และผ้ าทอมือ ซึ่งเป็ นสินค้ าจากชุมชน ให้ นักเรียนได้
สังเกตหลังจากนั้นช่วยกันระดมความคิดเห็นข้ อเสนอแนะ นักเรียนให้ ความร่วมมือเป็ นอย่างดี โดย
รู้บทบาทและหน้ าที่ของตนเอง ซึ่งนักเรียนบางคนคุ้นเคยกับกิจกรรม นักเรียนแสดงความคิดเห็น
อย่างสนุกสนาน ในขณะที่มีตัวแทนหนึ่งคนเขียนข้ อมูลจากแนวคิดของสมาชิกลงในใบกิจกรรมที่
แจกให้ หลังจากนั้นให้ ตัวแทนนาเสนอ นักเรียนดาเนินการได้ อย่างมั่นใจมากขึ้น โดยตัวแทนที่
ออกมานาเสนอจะเป็ นคนใหม่และเรียงสลับกันไปโดยให้ มีโอกาสได้ แสดงออกอย่างทั่วถึง เมื่อจบ
การนาเสนอนักเรียนในชั้นเรียนให้ กาลังใจโดยการปรบมือ แสดงความยินดีกับเพื่อนที่ถูกเลือกให้
ไปนาเสนอ กิจกรรมถัดไปเป็ นการนาเสนอเนื้อหาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนโดยบูรณาการกับภูมิปัญญา
ท้องถิ่น ด้ วยภาพจากอินเตอร์เน็ต นักเรียนให้ ความสนใจและตื่นเต้ นกับแหล่งเรียนรู้ ซึ่งหลายคนรู้
มาว่าจะต้ องได้ ออกเดินทางไปศึกษาแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ในพื้นที่ใกล้ โรงเรียน โดยภาพรวมนักเรียน
มีความสนใจในกิจกรรมและสามารถสร้ างนวัตกรรมตามเงื่อนไขที่กาหนด

ภาพที่ 17 นวัตกรรมนักเรียนกิจกรรมที่ 3 เรื่อง พินิจ พิจารณา


แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 เรื่อง ภูมิปัญญาท้ องถิ่นกับความคิดสร้ างสรรค์
กิจกรรมเริ่มต้ นโดยนาเข้ าสู่บทเรียนด้ วยใบกิจกรรมที่ 4 เรื่อง เหมือนหรือต่าง ผู้ช่วยผู้วิจัยแบ่ ง
นักเรียนออกเป็ นกลุ่ม ๆ ละ 3 – 5 คน พบว่านักเรียนรู้บทบาทและหน้ าที่ของตนเองเป็ นอย่างดี
ง่ายต่อการกากับชั้นเรียน โดยส่วนใหญ่นั กเรียนจะนั่งเป็ นกลุ่มเดิมเป็ นปกติ ผู้ช่วยผู้วิจัยแจกใบ
กิจกรรมพร้ อมทั้งอธิบายขั้นตอนการดาเนินการ นักเรียนตั้งใจฟั งและปฏิบัติตามอย่างเคร่ งครั ด
และเป็ นไปตามเวลาที่ก าหนด พร้ อ มทั้ง น าเสนอนวัต กรรม ผู้ ช่ ว ยผู้ วิ จั ย ชวนนั ก เรี ย นคิ ด และ
แสวงหาภูมิปัญญาท้องถิ่นใกล้ ตัวของนักเรียน นักเรียนต่างร่วมแสดงความคิดเห็นต่อภูมิปัญญาใน
ท้องถิ่นของตนเอง หลังจากนั้นแบ่งกลุ่มและจาแนกภูมิปัญญาตามเกณฑ์ท่นี ักเรียนเลือก พร้ อมทั้ง
189

แสดงความคิดเห็น ผู้ช่วยผู้วิจัยนาเสนอข้ อเท็จจริงเกี่ยวกับประเภทของภูมิปัญญาท้ องถิ่น สร้ าง


ความเข้ าใจที่ถูกต้ องให้ กับนักเรียน นักเรียนได้ นวัตกรรมที่เกิดจากการระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับ
เงื่อนไขที่กาหนด เป็ นการเปรียบเทียบสิ่งของหรือสถานการณ์ ดังภาพประกอบที่ 18

ภาพที่ 18 นวัตกรรมนักเรียนกิจกรรมที่ 4 เรื่อง เหมือนหรือต่าง


3) การประเมินผลการจัดกิจกรรม
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เรื่อง การสืบค้ นข้ อมูล มี
กิจกรรมตามใบกิจกรรม 2 กิจกรรม และมีการประเมิน นวัตกรรม ประกอบด้ วยใบกิจกรรมที่ 3
เรื่อง พินิจ พิจารณา กลวิธีการฝึ กคิดสร้ างสรรค์ คือ การพิจารณาลักษณะ (Attributes) และใบ
กิจกรรมที่ 4 เรื่อง เหมือนหรือต่าง กลวิธีการฝึ กคิดสร้ างสรรค์ การเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย
ตารางที่ 21 ค่าเฉลี่ยผลการประเมินนวัตกรรม หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 การสืบค้ นข้ อมูล
ใบกิจกรรมที่ 3 – 4

จานวน ค่าเฉลี่ยคะแนนประเมินนวัตกรรม
นักเรียน กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 4
โรงเรียนกลุ่มเป้ าหมาย
ที่เข้า แปล แปล
𝑿̅ S.D. 𝑿̅ S.D.
ร่วม ผล ผล
นาวังศึกษาวิช 20 9.90 1.62 ผ 10.60 1.43 ผ
กุดดินจี่วิทยาคม 20 10.25 1.41 ผ 9.65 1.69 ผ
ดงมะไฟวิทยาคม 20 9.70 1.89 ผ 9.50 1.67 ผ
ฝั่งแดงวิทยาสรรค์ 20 9.80 1.61 ผ 10.40 1.54 ผ
ภูซางใหญ่วิทยาคม 20 9.55 1.64 ผ 10.20 1.40 ผ
หนองสวรรค์วิทยาคาร 20 9.40 1.98 ผ 10.00 1.45 ผ
120 9.77 1.69 ผ 10.06 1.53 ผ
190

จากตารางที่ 21 พบว่านักเรียนร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอน
ของกิจกรรมที่ 3 และ 4 และดาเนินการระดมความคิดเห็น สรุปข้ อมูล ตลอดจนการนาเสนอ
นวัตกรรมในท้ ายชั่วโมงของการจัดกิจกรรม โรงเรียนกลุ่มเป้ าหมายทั้ง 6 โรงเรียน มีค่าเฉลี่ยของ
คะแนนการประเมิน นวัตกรรม กิจกรรมที่ 3 เรื่อ ง พินิจ พิจารณา อยู่ในเกณฑ์ ผ่าน มีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 9.77 และกิจกรรมที่ 4 เรื่อง เหมือนหรือต่าง อยู่ในเกณฑ์ ผ่าน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 10.06
จากการประเมิ น นวั ต กรรมของนั ก เรี ย นที่เ กิ ด จากกระบวนการส่ ง เสริ ม
ความคิดสร้ างสรรค์ท้งั 2 กิจกรรม ซึ่งทั้งสองกิจกรรมมุ่งส่งเสริมให้ นักเรียนเกิดทักษะการพิจารณา
ลักษณะ (Attributes) และการฝึ กเปรียบเทียบอุปมา อุปมัย (Analogies) ผลการประเมินอยู่ใ น
เกณฑ์ผ่าน ในด้ านความรู้พบว่ านักเรียนมีความรู้ความเข้ าใจเกี่ยวกับการสืบค้ นข้ อมูลในระบบ
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต การคัดเลือกข้ อมูลที่มีความน่าเชื่อถือมาใช้ ประกอบการคิดสินใจ มีความ
เข้ าใจในภูมิปัญญาท้ องถิ่น สามารถวิเคราะห์ภมู ิปัญญาท้องถิ่นในเขตอาเภอที่ตนเองอาศัยอยู่ จัด
หมวดหมู่ ข องแหล่ ง เรี ย นรู้ ท่ีเ ป็ นภูมิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ได้ อ ย่ า งชั ด เจน ในด้ า นกระบวนการสร้ า ง
นวัตกรรม นักเรียนร่วมกิจกรรมกลุ่ม รู้บทบาทหน้ าที่ข องแต่ล ะคนในกลุ่ม ดาเนินการอย่า งเป็ น
ระบบ แบ่งภาระหน้ าที่ มีการนาเสนอนวัตกรรมโดยการหมุนเวียนคนนาเสนอเพื่อเป็ นการฝึ กฝน
และให้ โอกาสอย่างเสมอภาคในกลุ่ม นอกจากนั้นในด้ านเจตคติ นักเรียนเกิดความตระหนักและให้
ความส าคัญกับแหล่ ง เรี ยนรู้ท่ีเป็ นภูมิปัญ ญาท้ องถิ่ น ของนักเรียน ผ่านกระบวนการวิ เ คราะห์
สังเคราะห์ข้อมูลที่ได้ จากการสืบค้ นด้ วยเทคโลยี เกิดความรู้สึกรักและหวงแหนภูมิปัญญาท้ องถิ่น
ของตนเอง สังเกตได้ จากการแสดงออกทางความคิดเกี่ยวกับภูมิปัญญาในท้ องถิ่นของนักเรียนเอง
นอกจากนั้นนักเรียนยังรู้จักการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่นื มีความเสียสละในการทางาน เกิด
ความสามัคคีในกลุ่ม ทุกกลุ่มให้ เกียรติซ่งึ กันและกันในการนาเสนอนวัตกรรมหน้ าชั้นเรียน
4) การสะท้อนผลการจัดกิจกรรมร่วมกับผูช้ ่วยผูว้ ิจัย
การจัดกิจกรรมตามโครงสร้ างหน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 การสืบค้ นข้ อมูล ผู้วิจัย
ดาเนินการประชุมสะท้ อนผลหลังการจัดกิจกรรมร่วมกับผู้ช่วยผู้วิจัยทั้ง 6 โรงเรียน โดยการรับฟั ง
เสียงสะท้อนและผลที่เกิดขึ้น ตลอดจนข้ อเสนอแนะต่าง ๆ เกี่ยวกับการนาหลักสูตรไปใช้ ในหน่ วย
การเรียนรู้ท่ี 2 พบว่า
จุดเด่นในหน่วยการเรียนรู้ดังกล่าวเป็ นหน่วยการเรียนรู้ท่นี ักเรียนจะต้ องใช้
เครื่องมือในการสืบค้ นข้ อมูล ซึ่งเป็ นเครื่องมือที่นักเรียนมีความถนัดและชื่นชอบรวมทั้งมี ความ
พร้ อมในการใช้ งานได้ เป็ นอย่างดี สังเกตได้ จากการเตรียมโทรศัพท์และเติมเงินในโทรศัพท์เพื่อ
เปิ ดสัญญาณอินเตอร์เน็ตในการสืบค้ นข้ อมูล นักเรียนสามารถเข้ าถึงข้ อมูลทางอินเตอร์เน็ตได้ อย่าง
รวดเร็ว และผู้ช่วยผู้วิจัยได้ ให้ ข้อคิดเกี่ยวกับการเลือกใช้ ข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ และการคัดลอก
ข้ อมูลโดยคานึงถึงจริยธรรมในการนาข้ อมูล ไปใช้ ในการอ้ างอิง นักเรียนสามารถแชร์ข้ อมูล และ
สื่อสารกันในช่องทางที่กาหนด จากพฤติกรรมดังกล่าวแสดงให้ เห็นว่านักเรียนเป็ นผู้มีทกั ษะในการ
191

สืบค้ นและการสื่อสารได้ เป็ นอย่างดี ตลอดจนการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้ อมูลที่ได้ มารวมทั้ง


การรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่นื จนเกิดการสังเคราะห์งานตามที่ได้ รับมอบหมายได้ เป็ นอย่างดี
นอกจากนั้นประเด็นด้ านปั ญหาและอุปสรรค พบว่าในขณะทางานนั้น บาง
โรงเรียนที่เป็ น กลุ่มเป้ าหมายยังไม่ มีความพร้ อมในเรื่องของอุปกรณ์ประกอบที่จะอานวยความ
สะดวกให้ นักเรียนนาข้ อมูลที่ผ่านกระบวนการสังเคราะห์แล้ ว นาเสนอสู่หน้ าชั้นเรียน เช่น จอทีวี
หรือเครื่องฉายโปรเจคเตอร์ แต่ ท้ังนี้ผ้ ูช่วยผู้วิจัยได้ ให้ นักเรียนนาเสนอในรูปแบบของกระดาษ
ชาร์ท หรือใช้ วิธีการแชร์ข้อมูลในกลุ่มไลน์ หรือกลุ่มเฟสบุคของนักเรียน ซึ่งได้ รับข้ อเสนอแนะจาก
การสะท้อนผลว่า นักเรียนสามารถเข้ าถึงการสืบค้ นและเตรียมนาเสนอนวัตกรรมในรูปแบบของสื่อ
มัลติมีเดียแล้ ว แต่อุปกรณ์ในการเผยแพร่ยังไม่ มีความพร้ อม ผู้ช่วยผู้วิจัยได้ แนะนาให้ นัก เรีย น
จัดทาข้ อมูลแล้ วอัพโหลดข้ อมูลขึ้นในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพื่อที่จะสามารถนาเผยแพร่ในช่องทาง
ของกลุ่ ม ที่ก าหนดได้ แต่ ถึ ง อย่ า งไรในการด าเนิ น การช่ ว งของการวิ จั ย นั ก เรี ย นได้ น าเสนอ
นวั ต กรรมด้ ว ยการเขี ย นข้ อ มู ล ลงในกระดาษชาร์ ท ที่ แ จกให้ และน าเสนอหน้ า ชั้ น เรี ย น ดั ง
ภาพประกอบที่ 19

ภาพที่ 19 การนาเสนอแนวคิดหรือนวัตกรรมของนักเรียนในรูปแบบแผนผัง

3.2.3 ผลการดาเนินการ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 3 การศึกษาแหล่งภูมิปัญญา


หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 การศึกษาแหล่งภูมิปัญญา ประกอบด้ วยแผนการจัดการ
เรียนรู้ท่ี 5 – 6 มีเป้ าหมายให้ นักเรียนอธิบายพร้ อมทั้งสร้ างองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้ องถิ่น
ในจังหวัดหนองบัวลาภู และสามารถระบุปัญหาตลอดจนสร้ างแนวคิดการออกแบบนวัตกรรมจาก
การสังเคราะห์ภูมิปัญญาท้ องถิ่น ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยผู้ช่วยผู้วิจัย จากโรงเรียน
กลุ่มเป้ าหมายทั้งหมด 6 โรงเรียน ใช้ เวลา 4 ชั่วโมง เก็บรวบรวมข้ อมูล ประเมินผลการจัดกิจกรรม
โดยผู้วิจัยรวบรวมข้ อมูลจากการสังเคราะห์บันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้และการสะท้อนผลการ
จัดกิจกรรมในรูปแบบออนไลน์เนื่องจากช่วงเวลาดังกล่าวอยู่ในช่วงของสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ปรากฏผลดังนี้
192

1) การจัดกิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู ้
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 – 6 เรื่อง กรณีศึกษาภูมิปัญญาท้ องถิ่น 1 – 2
กิจกรรมที่ท้าทายของนักเรียนคือการศึกษานอกสถานที่ โดยการเดินทางไปยังแหล่ งเรียนรู้ภูมิ
ปัญญาท้องถิ่นที่อยู่ใกล้ บริเวณโรงเรียน เป็ นกิจกรรมที่นักเรียนให้ ความสนใจและเฝ้ ารอด้ วยความ
ตั้งใจ ดาเนินการโดยผู้ช่วยผู้วิจัยร่วมกันวางแผนกับผู้ท่มี ีส่วนเกี่ยวข้ อง และดาเนินการตามแผน
เมื่อนักเรียนเข้ าศึ กษาเรี ยนรู้ จะมี การสะท้ อ นผลการศึ กษา เพื่อให้ นักเรียนเกิด แนวคิ ดในการ
สร้ างสรรค์ นวัตกรรม ทั้งนี้ในกิจกรรมดังกล่ าวได้ นาเทคโนโลยีมาช่ วยในการบันทึกข้ อมูล และ
นาเสนอข้ อมูลต่าง ๆ ตามความเหมาะสม นอกจากนั้นผู้ช่วยผู้วิจัยชวนนักเรียนทากิจกรรมตาม
ขั้นตอนของใบกิจกรรมที่ 5 เรื่อง เรื่องเล่าจากภาพ เพื่อฝึ กการระบุความคลาดเคลื่อนไปจากความ
เป็ นจริง (Discrepancies) เป็ นการแสดงความคิดเห็น ระบุ บ่งชี้สิ่งที่คลาดเคลื่อนจากความจริง
หรือขาดตกบกพร่อง ผิดปกติ หรือสิ่งที่ยังไม่สมบูรณ์ และใบกิจกรรมที่ 6 เรื่อง สัตว์ในจินตนาการ
เพื่อฝึ กทักษะการคิดล่วงหน้ าหรือการคาดการณ์อนาคตตามจินตนาการและข้ อมูลที่มีอยู่ในพื้นที่
2) การสังเกตกระบวนการสร้างนวัตกรรมของนักเรียนระหว่างเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 – 6 เรื่อง กรณีศึกษาภูมิปัญญาท้ องถิ่น 1 – 2
กิจกรรมการศึกษานอกสถานที่ นักเรียนมีความตื่นเต้ นและมีการเตรียมตัวเป็ นอย่างดี นักเรียนมา
ตามเวลที่ นั ด หมาย เตรี ย มวั ส ดุ อุ ป กรณ์ พ ร้ อ ม ทั้ ง เครื่ อ งบั น ทึ ก วี ดี โ อ กล้ อ งถ่ า ยภาพ หรื อ
โทรศัพท์มือถือ อีกทั้งนักเรียนมีการเตรียมตัวเรื่องเนื้อหาและรายละเอียดของสถานที่ท่จี ะไปศึกษา
เรียนรู้มาก่อนล่วงหน้ า ในระหว่างเดินทางนักเรียนมีการพูดคุยกันเกี่ยวกับสถานที่และความสาคัญ
ของแหล่ งเรียนรู้ มีการทากิจกรรมนันทนาการเพื่อสร้ างความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่ างนักเรีย นต่ า ง
ระดับชั้น สังเกตเห็นความเสียสละ และการบริการเพื่อนร่วมเดินทาง ซึ่งเป็ นมิติสัมพันธ์ทางสังคม
ที่เกิดขึ้นในระหว่ างการเดินทาง ตลอดจนเสียงหั วเราะและความผ่อนคลายในหลาย ๆ มุมมอง
แสดงให้ เห็นถึงความพร้ อมที่จะเรียนรู้ในแหล่งเรียนรู้ท่กี าหนด ระหว่างการศึกษาดูงานนักเรียนให้
ความเคารพกับวิทยากรและสถานที่อย่างเหมาะสม ปฎิบัติตามระเบียบและข้ อแนะนาของสถานที่
นั้น ๆ รวมทั้งร่วมกิจกรรมกับวิทยากรตามความเหมาะสม นอกจากนั้นยังสังเกตเห็นนักเรียนใช้
เครื่ อ งมื อ ในการเก็บ รวบรวมข้ อ มู ล เช่ น โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ ส าหรั บ ถ่ า ยภาพทั้ ง ภาพนิ่ ง และ
ภาพเคลื่อนไหว จัดเก็บข้ อมูลเพื่อนาไปสะท้ อนผลหลังจากศึกษาในแหล่งเรียนรู้เรียบร้ อยแล้ ว
กิจกรรมสุดท้ายเป็ นการสะท้อนผลพบว่านักเรียนให้ ความร่วมมือ และกล้ าแสดงความคิดเห็นอย่ าง
หลากหลาย เนื่องจากเป็ นสถานการณ์ท่นี ักเรียนได้ พบเห็น สัมผัส และเรียนรู้จากสภาพจริง เกิด
เป็ นความรู้และประสบการณ์ท่สี ามารถนาไปต่อยอดในการสร้ างแนวคิดและต้ นแบบของนวัตกรรม
ที่จะมาช่วยส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมของภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ คงอยู่
193

ภาพที่ 20 นวัตกรรมนักเรียนกิจกรรมที่ 5 เรื่อง เล่าจากภาพ

ภาพที่ 21 กิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้ภมู ิปัญญาท้องถิ่น (1)


194

ภาพที่ 22 กิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้ภมู ิปัญญาท้องถิ่น (2)

ภาพที่ 23 นวัตกรรมนักเรียนจากการสะท้อนผลแล้ วเกิดแบบร่างนวัตกรรม


195

ภาพที่ 24 นวัตกรรมนักเรียนกิจกรรมที่ 6 เรื่อง สัตว์ในจินตนาการ

3) การประเมินผลการจัดกิจกรรม
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 เรื่อง การศึกษาภูมิปัญญา
ท้ องถิ่น มีกิจกรรมที่ดาเนินการตามใบกิจกรรม จานวน 2 กิจกรรม และมีการประเมินผลการจัด
กิจกรรมประกอบด้ วยใบกิจกรรมที่ 5 เรื่อง เล่าจากภาพ ซึ่งกลวิธีการฝึ กคิดสร้ างสรรค์ คือ บอกสิ่ง
ที่คลาดเคลื่ อนจากความจริง (Discrepancies) และใบกิจกรรมที่ 6 เรื่อง สัตว์ในจินตนาการ มี
กลวิธีการฝึ กคิดสร้ างสรรค์ คือ การเปลี่ยนแปลง (Examples of Change) ดังแสดงในตารางที่ 22

ตารางที่ 22 ค่าเฉลี่ยผลการประเมินนวัตกรรม หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 การศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น


ใบกิจกรรมที่ 5 – 6

จานวน ค่าเฉลี่ยคะแนนประเมินนวัตกรรม
นักเรียน กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 6
โรงเรียนกลุ่มเป้ าหมาย
ที่เข้า แปล แปล
𝑿̅ S.D. ̅
𝑿 S.D.
ร่วม ผล ผล
นาวังศึกษาวิช 20 9.95 1.57 ผ 10.75 1.57 ผ
กุดดินจี่วิทยาคม 20 9.70 1.45 ผ 10.30 1.45 ผ
ดงมะไฟวิทยาคม 20 10.15 1.35 ผ 10.10 1.35 ผ
ฝั่งแดงวิทยาสรรค์ 20 9.65 1.66 ผ 9.95 1.66 ผ
ภูซางใหญ่วิทยาคม 20 9.70 1.56 ผ 10.65 1.56 ผ
หนองสวรรค์วิทยาคาร 20 9.65 1.60 ผ 10.50 1.60 ผ
120 9.80 1.53 ผ 10.38 1.53 ผ
196

จากตารางที่ 22 พบว่านักเรียนร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอน
ของกิจกรรมที่ 5 และ 6 และดาเนินการระดมความคิดเห็น สรุปข้ อมูล ตลอดจนการนาเสนอ
นวัตกรรมในท้ ายชั่วโมงของการจัดกิจกรรม โรงเรียนกลุ่มเป้ าหมายทั้ง 6 โรงเรียน มีค่าเฉลี่ยของ
คะแนนการประเมินนวัตกรรม กิจกรรมที่ 5 เรื่อง เล่าจากภาพ อยู่ในเกณฑ์ ผ่าน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
9.80 และกิจกรรมที่ 6 เรื่อง สัตว์ในจินตนาการ อยู่ในเกณฑ์ ผ่าน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 10.38
จากการประเมิ น นวั ต กรรมของนั ก เรี ย นที่เ กิ ด จากกระบวนการส่ ง เสริ ม
ความคิดสร้ างสรรค์ท้ัง 2 กิจกรรม คือ เรื่องเล่ าจากภาพ และ สัตว์ในจินตนาการ ซึ่งทั้งสอง
กิจกรรมมุ่งส่งเสริมให้ นักเรียนเกิดทักษะการบอกสิ่งที่คลาดเคลื่อนจากความจริง (Discrepancies)
และฝึ กการยอมรับการเปลี่ยนแปลง (Examples of Change) โดยทั้งสองกลวิธีฝึกนั้นเป็ นส่วนหนึ่ง
ของกระบวนการฝึ กฝนความคิดสร้ างสรรค์ ผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ผ่าน ในด้ านความรู้พบว่า
นักเรียนมีความรู้ความเข้ าใจเกี่ยวกับกระบวนการและขั้นตอนการไปศึกษาแหล่งเรียนรู้ภมู ิปัญญา
ท้ องถิ่น มีข้อมูลสาคัญเกี่ยวกับแหล่งเรียนรู้ในท้ องถิ่น ในด้ านทักษะกระบวนการสร้ างนวัตกรรม
นักเรียนสามารถวางแผนการดาเนินการ เกี่ยวกับการไปศึกษาแหล่งเรียนรู้ รู้จักวิธีการสืบค้ นข้ อมูล
และเลือกใช้ ข้ อมูลได้ อย่ างถูกต้ อง การประสานงานกับผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้ อง การวางแผนร่ วมกัน
ภายในกลุ่ม ตลอดจนการนาเทคโนโลยีมาใช้ ในการเก็บรวบรวมข้ อมูล เช่น การบันทึกภาพนิ่ง การ
บันทึกภาพเคลื่อนไหว เพื่อนาข้ อมูลกลับมาสะท้ อนผลหลังจากกลับจากแหล่ งเรียนรู้ในแต่ ล ะ
ชั่วโมง และยังพบเห็นพฤติกรรมการร่วมกิจกรรมกลุ่ม ได้ อย่างมีความเข้ าใจในบทบาทหน้ าที่ของ
แต่ละคนในกลุ่ม ดาเนินการอย่างเป็ นระบบ แบ่งภาระหน้ าที่ความรับผิดชอบ นอกจากนั้นในด้ าน
เจตคติ นักเรียนเกิดความตระหนักและให้ ความสาคัญกับแหล่งเรียนรู้ท่เี ป็ นภูมิปัญญาท้ องถิ่นของ
นักเรียน ผ่านกระบวนการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลที่ได้ จากการสืบค้ นด้ วยเทคโลยี เกิดความรู้สึก
รักและหวงแหนภูมิปัญญาท้ องถิ่นของตนเอง สังเกตได้ จากการให้ ความร่วมมือ ตั้งใจรับฟั งการ
บรรยาย การสอบถาม การแสดงความคิดเห็น การสนทนาสะท้ อนผลหลังจากกิจกรรมการศึกษา
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น ตลอดจนการนาเสนอนวัตกรรมของนักเรียน การเขียนแบบร่างนวัตกรรม
ที่เป็ นแนวความคิดในการวางแผนการสร้ างนวัตกรรมในอนาคต
4) การสะท้อนผลการจัดกิจกรรมร่วมกับผูช้ ่วยผูว้ ิจัย
จากการจัดกิจกรรมในหน่ วยการเรียนรู้ท่ี 3 การศึกษาภูมิปัญญาท้ องถิ่น
ผู้ช่วยผู้วิจัยได้ ร่วมสะท้อนผลการดาเนินการ โดยพบว่าด้ านการจัดกิจกรรม เป็ นกิจกรรมที่นักเรียน
ทุกคนในกลุ่มตั้งตารอคอย การเดินทางไปร่วมศึกษาแหล่งเรียนรู้ในท้ องถิ่น นักเรียนตื่นตัวและ
เตรียมการเป็ นอย่างดี จากพฤติกรรมดังกล่าวแสดงให้ เห็นว่ากิจกรรมที่อยู่ในโครงสร้ างหลักสูตร
เป็ นกิจกรรมที่นักเรียนพึงพอใจ นอกจากนั้นยังสังเกตเห็นความร่ วมมือของผู้ปกครองที่มาส่งบุตร
หลานในการร่วมกิจกรรม การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์และความห่วงใยในการเดินทาง ซึ่งแสดงให้
เห็นการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและกระบวนการเรียนรู้จะเป็ นกระบวนการที่คงทน ดังจะเห็นได้
จากคาพูดของผู้ปกครองที่สะท้อนว่า
197

“...เตรียมตัว เก็บสัมภาระ เตรียมชุด สมุด ปากกา ขอเงินแม่เติมโทรศัพท์มือถือ และ


ชาร์ตแบตเตอร์โทรศัพท์ ไว้ ต้งั แต่เมื่อวาน ตื่นเต้ นมากค่ะ คุณครู”
(ผู้ปกครอง A, สนทนา 8 สิงหาคม 2563)

“...คุณครูครับ ฝากสมุดบันทึก แบตเตอรี่สารองและถุงขนมกับนม ไปให้ ลูก กลัวเขา


หิวระหว่างเดินทาง และผมจะมารอรับลูกประมาณกี่โมงครับ”
(ผู้ปกครอง B, สนทนา 8 สิงหาคม 2563)

ด้ านพฤติกรรมนักเรียน กิจกรรมดังกล่ าวนักเรียนเป็ นผู้ดาเนินการและมี


ส่วนร่วมในการทางานเป็ นอย่างมาก นักเรียนในกลุ่มมีหัวหน้ า รองหัวหน้ า เลขานุการ รวมทั้งฝ่ าย
ต่าง ๆ ที่นักเรียนแต่งตั้งกันขึ้นอย่างไม่เป็ นทางการ ซึ่งแสดงให้ เห็นว่านักเรียนมีการวางแผนการ
ทางาน วางแผนการศึกษาแหล่งเรียนรู้อย่างเป็ นระบบ โดยการทางานที่จริงจัง จากสภาพจริง ย่อม
เกิดประสบการณ์และองค์ความรู้อย่างยั่งยืน
ข้ อ เสนอแนะของผู้ ช่ ว ยผู้ วิ จั ย ด้ า นงบประมาณการเดิ น ทาง เนื่ อ งจาก
โครงการดังกล่ าวเป็ นโครงการที่ผ้ ูวิจัยขอความร่ วมมือไปยังโรงเรียนเป้ าหมาย โดยไม่ ได้ ผ่ า น
ขั้นตอนของการวางแผนการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน หรือไม่ได้ อยู่ในแผนงานการดาเนินการ
ของโรงเรียน บางโรงเรียนมีข้อจากัดในเรื่องของงบประมาณในการเดินทางของนักเรียน และบาง
โรงเรี ย นสามารถสนั บ สนุ น ได้ ใ นบางส่ ว น จึ ง เป็ นภาระของครู ห รื อ ผู้ ช่ ว ยผู้ วิ จั ย ที่จ าเป็ นต้ อ ง
ดาเนินการและเกิดเป็ นค่ าใช้ จ่ายตามมา จึงมีข้ อเสนอเชิงนโยบายว่ า หากหลักสูตรดังกล่ าวถูก
น าไปใช้ ใ นโรงเรี ย นจ าเป็ นที่ จ ะต้ อ งน าโครงการเข้ า ไปบรรจุ ใ นแผนพั ฒ นาการศึ ก ษา หรื อ
แผนปฏิบัติการประจาปี เพื่อให้ มีการดาเนินงานตามแผน และมีเป้ าหมายในการพัฒนาคุณภาพ
ผู้ เ รี ย น ทั้ ง นี้ โดยผ่ า นคณะกรรมการสถานศึ ก ษาเพื่ อ ให้ ก ารสนั บ สนุ น ทั้ ง ทางนโยบายและ
งบประมาณ ส่วนในเรื่องของเวลาในการดาเนินการผู้ปกครองส่วนใหญ่ให้ ความร่วมมือโดยไม่ถื อ
ว่าเป็ นปัญหาและอุปสรรค ในการนานักเรียนไปศึกษาแหล่งเรียนรู้ใกล้ บ้านในช่วงของวันหยุดเสาร์
อาทิตย์ อีกทั้งยังเป็ นการให้ นักเรียนใช้ เวลาว่างให้ เกิดประโยชน์ ซึ่งบางครอบครัวไม่มีกิจกรรมให้
ลู ก หลานช่ ว ยงานในช่ ว งของวั น เสาร อาทิ ต ย์ จึ ง ท าให้ เ ด็ก มี เ วลาว่ า งและมี โ อกาสติ ด เกมส์
คอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือ ซึ่งสะท้อนได้ จากเสียงของผู้ปกครองในวันที่มาส่งนักเรียนขึ้นรถ
ไปเรียนรู้นอกสถานที่ ดังนี้

“...คุณครูพาไปดูงานทุกวันเสาร์ เลยไหมครับ ผมว่าดีนะ ลูกผมอยู่บ้านเสาร์ อาทิตย์


ไม่ได้ ทาอะไร ส่วนใหญ่กเ็ ล่นเกมส์ท้งั วัน ผมเห็นด้ ว ยและพร้ อมสนับสนุน หากมีกิจกรรมแบบนี้
เรื่อย ๆ จะได้ ดึงเวลาเล่นเกมส์ของลูกชายผมออกจากเขาบ้ าง...”
(ผู้ปกครอง C, สนทนา 8 สิงหาคม 2563)
198

นอกจากนั้นด้ านความรู้และภาระงานที่เกิดขึ้นเมื่อกลับมาจากศึกษาเรียนรู้
แหล่งเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น นักเรียนมีความตั้งใจมาก ทุกคนกลับมาแล้ วจะเปิ ดคลิปวีดีโอที่
แต่ละคนได้ บันทึกเอาไว้ ตามคาแนะนาของผู้ช่วยผู้วิจัย นักเรียนมีความสุข สนุกสนานกับข้ อมูลที่
นักเรียนเก็บมาระหว่างฟั งวิทยากรหรือศึกษาสภาพจริง นักเรียนส่วนใหญ่นาข้ อมูลเข้ าไปเก็บไว้ ใน
เฟสบุ๊คส่วนตัวในปริมาณที่ค่อนข้ างมาก และกิจกรรมการระดมความคิดเห็นก็เกิดภาระนวัตกรรม
ตามเป้ าหมายที่กาหนด ทั้งนี้ด้วยเทคโนโลยีท่นี ักเรียนใช้ ในการบันทึกข้ อมูล จะสามารถเก็บชุ ด
ความรู้ ท่ีผ่ า นกระบวนการเรี ย นรู้ เ อาไว้ ไ ด้ อ ย่ างคงทน และสามารถย้า เตื อ นความทรงจ าด้ วย
เทคโนโลยีการเตือนความจาของแอพพลิเคชั่นในโทรศัพท์มือถือ
3.2.4 ผลการดาเนินการ หน่วยที่ 4 การสร้างนวัตกรรม
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 การสร้ างนวัตกรรม ประกอบด้ วยแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี
7 – 8 มีเป้ าหมาย คือ การสร้ างนวัตกรรมหรือนวัตกรรมจากการสังเคราะห์ภมู ิปัญญาท้องถิ่นและ
นาเสนอนวัตกรรม ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยผู้ช่วยผู้วิจัย จากโรงเรียนกลุ่มเป้ าหมาย
ทั้งหมด 6 โรงเรียน ใช้ เวลา 8 ชั่วโมง เก็บรวบรวมข้ อมูล ประเมินผลการจัดกิจกรรม โดยผู้วิจัย
รวบรวมข้ อมูลจากการสังเคราะห์บั นทึก หลังแผนการจั ดการเรี ยนรู้ และการสะท้ อนผลการจั ด
กิจกรรมในรูปแบบออนไลน์เนื่องจากช่วงเวลาดังกล่าวอยู่ในช่วงของสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ปรากฏผลดังนี้
1) การจัดกิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู ้
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 7 – 8 เรื่อง กระบวนการสร้ างนวัตกรรม ใช้ เวลา
ในการจัดการเรียนการสอน จานวน 8 ชั่วโมง โดยมีเป้ าหมายเพื่อให้ นักเรียนสร้ างนวัตกรรมหรือ
นวัตกรรมจากการสังเคราะห์ภูมิปัญญาท้ องถิ่นและนาเสนอนวัตกรรม กิจกรรมดาเนินการโดยทุก
ๆ ชั่วโมง ผู้ช่วยผู้วิจัย นัดหมายนักเรียนรวมตัวกัน เพื่อเตรียมความพร้ อม โดยการใช้ ใบกิจกรรม
นาเข้ าสู่บทเรียนซึ่งแต่ละกิจกรรมจะมีข้นั ตอนที่ให้ นักเรียนแบ่งกลุ่ม ผู้ช่วยผู้วิจัยชี้แจงรายละเอียด
ระดมความคิด เห็น สะท้ อนผลและนาเสนอแนวคิด ต่ าง ๆ ก่อนที่จะเริ่มการทบทวน หรือการ
ติ ด ตามภาระงานที่ไ ด้ ม อบหมาย หรื อ ในบางครั้ ง ผู้ ช่ ว ยผู้ วิ จั ย อาจจะให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ หรื อ
คาแนะนาในการดาเนินการ สร้ างนวัตกรรม โดยเริ่มตั้งแต่การออกแบบนวัตกรรม การเตรียมวัสดุ
อุปกรณ์ การทดลองสร้ าง การทดสอบประสิทธิภ าพของนวัตกรรม ตลอดจนการทาต้ นแบบที่
สามารถนาไปสร้ างในจานวนที่มากขึ้นตามความต้ องการจาเป็ นของแต่ละนวัตกรรม โดยดาเนินการ
จนครบ 8 ชั่วโมงตามแผนการทางาน
2) การสังเกตกระบวนการสร้างนวัตกรรมของนักเรียนระหว่างเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 7 – 8 เรื่อง กระบวนการสร้ างนวัตกรรม ในทุก
ชั่ ว โมงของการจั ด การเรี ย นรู้ ผ้ ู ช่ ว ยผู้ วิ จั ย จะน าเข้ า สู่ บ ทเรี ย นด้ ว ยกิ จ กรรมส่ ง เสริ ม ความคิ ด
สร้ างสรรค์ จากใบกิจกรรมที่ 7 – 14 จานวน 8 กิจกรรม โดยภาพรวมนักเรียนมีความเข้ าใจใน
ขั้นตอนการทากิจกรรม ซึ่งจะมีข้นั ตอนอย่างคร่าว ๆ คือ การรับฟังเงื่อนไขที่กาหนดหลังจากนั้นจะ
199

เป็ นการแสดงความคิดเห็นทั้งแบบเดี่ยวและแบบกลุ่ม โดยใช้ กระบวนการกลุ่มเข้ ามามีส่วนช่ วยใน


การส่งเสริมสนับสนุ น และการรายงานผลกระบวนการสร้ างนวัตกรรม โดยจะมีการหมุ่นเวียน
บทบาทหน้ าที่การทางานซึ่งเป็ นการให้ โอกาสในการแสดงออกทางด้ านการสื่อสารของนักเรียน จาก
การสังเกตกระบวนการสร้ างนวัตกรรมของนักเรียนโดยรวมพบว่านักเรียนให้ ความร่วมมืออย่างดี
และต่อเนื่อง นอกจากนั้นยังพบพฤติกรรมที่นักเรียนแสดงออกทางความคิดอย่างอิสระ กล้ าคิด
กล้ าถาม อีกทั้งยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืนมากขึ้น ไม่ยึดติดกับความคิดเห็นของตนเอง และ
แสดงออกถึ ง ภาวะผู้ น าและผู้ ต ามในบางโอกาส หลั ง จากนั้ น ผู้ ช่ ว ยผู้ วิ จั ย จะสนทนาพู ด คุ ยกับ
นักเรียนถึงความก้ า วหน้ าในการทางาน อย่ างสม่ าเสมอ โดยให้ นักเรียนเล่ า ถึง นวั ต กรรมและ
พัฒนาการในการทางาน นักเรียนต่างแสดงความคิดเห็นกลุ่มพูด กล้ าตัดสินใจ และมีกระบวนการ
สร้ างนวัตกรรม มีการวางแผนอย่างเห็นได้ ชัดเจน โดยแสดงได้ ดังภาพประกอบที่ 25

ภาพที่ 25 ภาพกิจกรรมการปฏิบัติงาน สร้ างนวัตกรรมและกระบวนการสร้ างนวัตกรรม


200

ภาพที่ 26 นวัตกรรมนักเรียนกิจกรรมที่ 7 เรื่อง ถามให้ สุดโลก

ภาพที่ 27 นวัตกรรมนักเรียนกิจกรรมที่ 8 เรื่อง สืบหาข้ อมูลความสัมพันธ์

ภาพที่ 28 นวัตกรรมนักเรียนประกอบใบกิจกรรมที่ 9 เรื่อง โลกในอนาคต


201

ภาพที่ 29 นวัตกรรมนักเรียนกิจกรรมที่ 10 เรื่อง ยานพาหนะวิเศษ

ภาพที่ 30 นวัตกรรมนักเรียนกิจกรรมที่ 11 เรื่อง คิดกลับด้ าน

ภาพที่ 31 นวัตกรรมนักเรียนกิจกรรมที่ 12 เรื่อง สัตว์พันธ์ใหม่


202

ภาพที่ 32 นวัตกรรมนักเรียนกิจกรรมที่ 13 เรื่อง ภาพมหัศจรรย์

ภาพที่ 33 นวัตกรรมนักเรียนกิจกรรมที่ 14 เรื่อง สร้ างสรรค์คา

3) การประเมินผลการจัดกิจกรรม
การจัดกิจกรรมในหน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 การสร้ างนวัตกรรม กาหนดเวลาไว้ ท่ี
8 ชั่วโมง ให้ นักเรียนได้ ออกแบบ เตรียมอุปกรณ์ และดาเนินการตามกิจกรรมส่งเสริมความคิ ด
สร้ า งสรรค์ ในใบกิ จ กรรมที่ 7 -14 พร้ อ มทั้ ง มี ก ารประเมิ น ผลใบกิ จ กรรม และติ ด ตาม
ความก้ าวหน้ าในการสร้ างนวัตกรรม ในทุก ๆ ชั่วโมงของการเรียนรู้ ซึ่งมีผลการประเมินดังต่อไปนี้
203

ตารางที่ 23 ค่าเฉลี่ยผลการประเมินนวัตกรรม หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 การสร้ างนวัตกรรม


ใบกิจกรรมที่ 7 – 8

จานวน ค่าเฉลี่ยคะแนนประเมินนวัตกรรม
โรงเรียน
นักเรียน กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมที่ 8
กลุ่มเป้ าหมาย
เข้าร่วม 𝑿̅ S.D. แปลผล 𝑿 ̅ S.D. แปลผล
นาวังศึกษาวิช 20 10.75 1.48 ผ 10.20 1.48 ผ
กุดดินจี่วิทยาคม 20 10.40 1.50 ผ 9.90 1.50 ผ
ดงมะไฟวิทยาคม 20 10.20 1.51 ผ 9.95 1.51 ผ
ฝั่งแดงวิทยาสรรค์ 20 10.05 1.54 ผ 9.85 1.54 ผ
ภูซางใหญ่วิทยาคม 20 10.40 1.73 ผ 9.60 1.73 ผ
หนองสวรรค์วิทยาคาร 20 10.70 1.22 ผ 9.60 1.22 ผ
120 10.42 1.50 ผ 9.85 1.50 ผ

จากตารางที่ 23 ประกอบด้ วยการประเมิน นวัตกรรมจากใบกิจกรรมที่ 7


ถามให้ สุ ด โลก ซึ่ ง กลวิ ธี ก ารฝึ กคิ ด สร้ า งสรรค์ คื อ ถามยั่ ว ยุ แ ละกระตุ้ น ให้ ต อบ (Provocative
Questions) และใบกิจกรรมที่ 8 สืบหาข้ อมูล ความสัมพันธ์ มีกลวิธีการฝึ กคิดสร้ างสรรค์ สรุป
ข้ อมูล ตลอดจนการนาเสนอนวัตกรรมในท้ายชั่วโมงของการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ยของคะแนนการ
ประเมินนวัตกรรม กิจกรรมที่ 7 เรื่อง ถามให้ สุดโลก อยู่ในเกณฑ์ ผ่าน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 10.42
และกิจกรรมที่ 8 เรื่อง สืบหาข้ อมูลความสัมพันธ์ อยู่ในเกณฑ์ ผ่าน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 9.85

ตารางที่ 24 ค่าเฉลี่ยผลการประเมินนวัตกรรม หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 การสร้ างนวัตกรรม


ใบกิจกรรมที่ 9 – 10

จานวน ค่าเฉลี่ยคะแนนประเมินนวัตกรรม
โรงเรียน
นักเรียน กิจกรรมที่ 9 กิจกรรมที่ 10
กลุ่มเป้ าหมาย
เข้าร่วม 𝑿̅ S.D. แปลผล 𝑿 ̅ S.D. แปลผล
นาวังศึกษาวิช 20 9.95 1.28 ผ 10.60 1.28 ผ
กุดดินจี่วิทยาคม 20 9.90 1.45 ผ 10.25 1.45 ผ
ดงมะไฟวิทยาคม 20 9.75 1.52 ผ 10.20 1.52 ผ
ฝั่งแดงวิทยาสรรค์ 20 10.20 0.77 ผ 10.05 0.77 ผ
ภูซางใหญ่วิทยาคม 20 9.85 1.31 ผ 9.85 1.31 ผ
หนองสวรรค์วิทยาคาร 20 9.55 1.64 ผ 10.25 1.64 ผ
120 9.87 1.33 ผ 10.20 1.33 ผ
204

จากตารางที่ 24 ประกอบด้ วยการประเมิน นวัตกรรมจากใบกิจกรรมที่ 9


เรื่ อ ง โลกในอนาคต ซึ่ ง กลวิ ธี ก ารฝึ กคิ ด สร้ างสรรค์ คื อ การพั ฒ นาตน ( Adjustment of
Development) และใบกิจกรรมที่ 10 เรื่อง ยานพาหนะวิเศษ มีกลวิธีการฝึ กคิดสร้ างสรรค์ คือ การ
ประเมินสถานการณ์ (Evaluate Situations) พบว่ านักเรียนร่ วมกิจกรรมการเรียนการสอนตาม
ขั้นตอนของกิจกรรมที่ 9 และ 10 และดาเนินการระดมความคิดเห็น สรุปข้ อมูล ตลอดจนการ
นาเสนอนวัตกรรมในท้ ายชั่วโมงของการจัดกิจกรรม โรงเรียนกลุ่มเป้ าหมายทั้ง 6 โรงเรียน มี
ค่าเฉลี่ยของคะแนนการประเมินนวัตกรรม กิจกรรมที่ 9 เรื่อง โลกในอนาคต อยู่ในเกณฑ์ ผ่าน มี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 9.87 และกิจกรรมที่ 10 เรื่อง ยานพาหนะ อยู่ในเกณฑ์ ผ่าน มีค่าเฉลี่ยเท่า กับ
10.20

ตารางที่ 25 ค่าเฉลี่ยผลการประเมินนวัตกรรม หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 การสร้ างนวัตกรรม


ใบกิจกรรมที่ 11 – 12

จานวน ค่าเฉลี่ยคะแนนประเมินนวัตกรรม
โรงเรียน
นักเรียน กิจกรรมที่ 11 กิจกรรมที่ 12
กลุ่มเป้าหมาย
เข้าร่วม 𝑿̅ S.D. แปลผล 𝑿 ̅ S.D. แปลผล
นาวังศึกษาวิช 20 11.10 1.17 ผ 10.75 1.17 ผ
กุดดินจี่วิทยาคม 20 10.30 1.81 ผ 10.10 1.81 ผ
ดงมะไฟวิทยาคม 20 10.20 1.58 ผ 9.90 1.58 ผ
ฝั่งแดงวิทยาสรรค์ 20 10.35 1.63 ผ 10.20 1.63 ผ
ภูซางใหญ่วิทยาคม 20 9.85 1.90 ผ 10.20 1.90 ผ
หนองสวรรค์วิทยาคาร 20 9.85 1.84 ผ 9.95 1.84 ผ
120 10.28 1.65 ผ 10.18 1.65 ผ

จากตารางที่ 25 ประกอบด้ วยการประเมินนวัตกรรมจากใบกิจกรรมที่ 11


เรื่อง คิดกลับด้ าน ซึ่งกลวิธีการฝึ กคิดสร้ างสรรค์ คือ การเปลี่ยนแปลงความเชื่อ (Examples of
Habit) และใบกิจกรรมที่ 12 เรื่อง สัตว์พันธ์ใหม่ มีกลวิธีการฝึ กคิดสร้ างสรรค์ คือ สร้ างสิ่งใหม่
จากโครงสร้ างเดิม (Organized Random Search) พบว่านักเรียนร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน
ตามขั้นตอนของกิจกรรมที่ 11 และ 12 และดาเนินการระดมความคิดเห็น สรุปข้ อมูล ตลอดจน
การนาเสนอนวัตกรรมในท้ ายชั่วโมงของการจัดกิจกรรม โรงเรียนกลุ่มเป้ าหมายทั้ง 6 โรงเรียน มี
ค่าเฉลี่ยของคะแนนการประเมินนวัตกรรม กิจกรรมที่ 11 เรื่อง คิดกลับ ด้ าน อยู่ในเกณฑ์ ผ่าน มี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 10.28 และกิจกรรมที่ 12 เรื่อง สัตว์พันธ์ใหม่ อยู่ในเกณฑ์ ผ่าน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
10.18
205

ตารางที่ 26 ค่าเฉลี่ยผลการประเมินนวัตกรรม หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 การสร้ างนวัตกรรม


ใบกิจกรรมที่ 13 – 14

จานวน ค่าเฉลี่ยคะแนนประเมินนวัตกรรม
โรงเรียน
นักเรียน กิจกรรมที่ 13 กิจกรรมที่ 14
กลุ่มเป้ าหมาย
เข้าร่วม 𝑿̅ S.D. แปลผล 𝑿 ̅ S.D. แปลผล
นาวังศึกษาวิช 20 9.95 1.57 ผ 10.10 1.57 ผ
กุดดินจี่วิทยาคม 20 9.95 1.64 ผ 9.65 1.64 ผ
ดงมะไฟวิทยาคม 20 10.10 1.33 ผ 10.30 1.33 ผ
ฝั่งแดงวิทยาสรรค์ 20 9.75 1.59 ผ 10.35 1.59 ผ
ภูซางใหญ่วิทยาคม 20 9.50 1.61 ผ 9.85 1.61 ผ
หนองสวรรค์วิทยาคาร 20 10.15 1.39 ผ 10.10 1.39 ผ
120 9.90 1.52 ผ 10.06 1.52 ผ

จากตารางที่ 26 ประกอบด้ วยการประเมินนวัตกรรมจากใบกิจกรรมที่ 13


เรื่อง ภาพมหัศจรรย์ ซึ่งกลวิธีการฝึ กคิดสร้ างสรรค์ คือ การมองภาพในมิติต่าง ๆ (Visual Skill)
และใบกิจกรรมที่ 14 เรื่อง สร้ างสรรค์คา มีกลวิธีการฝึ กคิดสร้ างสรรค์ คือ พัฒนาการเขียนอย่าง
สร้ างสรรค์ (Creative Writing Skill) พบว่านักเรียนร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้ นตอน
ของกิจกรรมที่ 13 และ 14 และดาเนินการระดมความคิดเห็น สรุปข้ อมูล ตลอดจนการนาเสนอ
นวัตกรรมในท้ ายชั่วโมงของการจัดกิจกรรม โรงเรียนกลุ่มเป้ าหมายทั้ง 6 โรงเรียน มีค่าเฉลี่ยของ
คะแนนการประเมินนวัตกรรม กิจกรรมที่ 13 เรื่อง ภาพมหัศจรรย์ อยู่ ในเกณฑ์ ผ่าน มีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 9.90 และกิจกรรมที่ 14 เรื่อง สร้ างสรรค์คา อยู่ในเกณฑ์ ผ่าน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 10.06
4) การสะท้อนผลการจัดกิจกรรมร่วมกับผูช้ ่วยผูว้ ิจัย
กิจกรรมการเรียนรู้หน่วยที่ 4 การสร้ างนวัตกรรม โดยผู้วิจัยออกแบบไว้ ใช้
เวลา 8 ชั่วโมง นับได้ ว่าเป็ นระยะเวลา 2 เดือนในการดาเนินการของนักเรียน โดยเริ่มตั้งการร่าง
แบบนวัตกรรม การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ การลงมือทาต้ นฉบับ การทดสอบ ตลอดจนการปรับปรุง
แก้ ไขนวัตกรรม จนสามารถใช้ งานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ในช่วงของกิ จกรรมการเรียนการ
สอน ผู้ช่วยผู้วิจัยจะดาเนินการตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ของแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ โดยเริ่ม
นาเข้ าสู่บทเรียนของแต่ละชั่วโมงโดยใช้ กิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้ างสรรค์ ตามใบกิจกรรมที่ 7
– 14 โดยดาเนินการตามเงื่อนไข นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิดเห็นสังเคราะห์กิจกรรมต่าง ๆ
จนสามารถนาเสนอนวัตกรรมตามใบกิจกรรมดังกล่าวข้ างต้ น หลังจากนั้นจะเป็ นกิจกรรมที่ผ้ ูช่วย
ผู้วิจัยแต่ละคนจะสอบถามนักเรียนแต่ละกลุ่ม หรือให้ แต่ละกลุ่มนาเสนอความก้ าวหน้ าของการ
ทางาน สิ่งประดิษฐ์ หรือนวัตกรรมของกลุ่ม ซึ่งตลอดระยะเวลา 2 เดือ นของการใช้ หลักสูตรใน
206

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 ผู้วิจัยได้ ออกเยี่ยมนิเทศกากับติดตามเป็ นระยะและมีการประชุมสรุปผลการ


ใช้ หลักสูตร ซึ่งมีผลการสะท้ อนดังนี้ ด้ านความรู้ นักเรียนแต่ละกลุ่มผ่านกระบวนการสังเคราะห์
องค์ความรู้และแนวคิด จนได้ ร่างนวัตกรรมเป็ นโมเดลของกลุ่ม และนาเสนอต่ อครูผ้ ูส อนหรือ
ผู้ช่วยผู้วิจัย เพื่อร่ วมกันพิจารณาถึงความเป็ นไปได้ พบว่ านักเรียนมีความกระตือรือร้ นในการ
ทางานตามแผนงานที่ร่วมกันกาหนดอย่ างมีเป้ าหมาย ซึ่งการทางานเกิดจากการแบ่ งหน้ าที่กัน
ภายในกลุ่ม พฤติกรรมดังกล่าวแสดงให้ เห็นว่านักเรียนมีความรู้ความเข้ าใจในกระบวนการสร้ าง
นวัตกรรมและสามารถบูรณาการแนวคิดร่วมกับภูมิปัญญาท้ องถิ่นได้ เป็ นอย่างดี โดยผู้ช่วยผู้วิจัย
กาชับกับนักเรียนถึงการใช้ ทรัพยากรในการสร้ างนวั ตกรรม จะต้ องไม่ เป็ นภาระค่ าใช้ จ่า ยของ
ผู้ปกครอง บางกลุ่มที่ออกแบบนวัตกรรมแล้ วพบว่ าวัสดุท่ีใช้ มีราคาแพงหรื อเป็ นวัส ดุท่ีหายาก
ผู้ช่วยผู้วิจัยได้ แนะนาให้ นักเรียนสร้ างเป็ นโมเดลหรือแบบจาลองจากกระดาษหรือเศษวัสดุท่เี หลือ
ใช้ มาทดแทน เพื่อป้ องกันปัญหาเรื่องค่าใช้ จ่ายในการสร้ างนวัตกรรม
ประเด็น เรื่ อ งปั ญ หาและอุ ป สรรค ข้ อ เสนอแนะที่ค วรปรั บปรุง แก้ ไขนั้น
พบว่า ในการดาเนินการของนักเรียนบางกลุ่ม มีการสร้ างนวัตกรรมที่เป็ นชิ้นใหญ่ หรืออุปกรณ์ใน
การสร้ างอยู่ในหลาย ๆ จุดที่ต้องใช้ งาน เช่น เครื่องเชื่อมโลหะ เครื่องสว่านเจาะไม้ เลื่อย หรือ
แม้ กระทั่งอุปกรณ์ไฟฟ้ าบางชนิด ซึ่งจะเคลื่อนย้ ายหรือนามาทางานในชั่วโมงเรียน นับได้ ว่าเป็ น
เรื่องที่ย่งุ ยาก นักเรียนจึงไม่นามาที่โรงเรียน แต่นักเรียนเลือกที่จะไปรวมกลุ่มกันทางานในช่วงของ
วั น หยุ ด เสาร์ อาทิต ย์ ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ นั ก เรี ย นต้ อ งเดิ น ทางออกจากบ้ า น มี นั ก เรี ย นบางกลุ่ ม ที่
ผู้ปกครองต้ องติดตามกลับบ้ าน หรือมีนักเรียนกลุ่มอื่น ๆ ที่ไม่ได้ เป็ นนักเรียนในกลุ่มเป้ าหมาย
กล่าวอ้ างและมาช่วยเพื่อนทางาน ทาให้ ผ้ ูปกครองไม่เข้ าใจในบางกรณี แต่เมื่อได้ คาตอบและคา
ชี้แจงจากผู้ช่วยผู้วิจัยก็คลายความสงสัย อีกทั้งผู้ช่วยผู้วิจัยไม่สามารถเห็นพัฒนาการในการทางาน
ของนักเรียน เพราะนักเรียนดาเนินการอยู่ท่บี ้ านซึ่งมีเครื่องมือในการประดิษฐ์ หรือสร้ างนวัตกรรม
ส่วนการรายงานความก้ าวหน้ าในชั้นเรียนเป็ นเพียงคาบอกเล่าจากนักเรียนว่าดาเนินการไปถึงไหน
อย่างไร หรือบางกลุ่มสามารถนาเสนอความก้ าวหน้ าจากภาพถ่ายได้ แต่กไ็ ม่สามารถที่จะให้ ความ
ช่วยเหลือหรือการแก้ ไขนวัตกรรมและให้ คาแนะนานวัตกรรมได้ เมื่อการกากับติดตามไม่เป็ นไป
ตามสภาพจริง นั่นคือไม่ได้ ช่วยแก้ ไขนวัตกรรมตามสถานการณ์ ส่งผลให้ บางนวัตกรรมไม่เป็ นไป
ตามแบบร่ างที่กาหนด ซึ่งนักเรียนหลายกลุ่มได้ ปรับเปลี่ยนนวัตกรรมไปตามสภาพและความ
เป็ นไปได้ ทั้งวัสดุอุปกรณ์และสภาพการทางาน และมีบางกลุ่มที่ต้องทานวัตกรรมเป็ นแบบจาลอง
แทนการทางานที่เป็ นนวัตกรรมจริง ดังภาพประกอบที่ 34
207

ภาพที่ 34 แบบจาลองนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์หรือนวัตกรรม

3.2.5 ผลการดาเนินการ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 5 การเผยแพร่นวัตกรรมสู่ชุมชน


หน่ วยการเรียนรู้ ท่ี 5 การเผยแพร่ นวัตกรรมสู่ชุมชน ประกอบด้ วยแผนการ
จัดการเรียนรู้ท่ี 9 – 10 มีเป้ าหมาย คือ เขียนรายงานผลการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญา
ท้องถิ่น จังหวัดหนองบัวลาภู และนาความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการนาเสนอนวัตกรรมไปวางแผนและ
จัดนิทรรศการได้ ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โ ดยผู้ช่วยผู้วิจัย จากโรงเรียนกลุ่มเป้ าหมาย
ทั้งหมด 6 โรงเรียน ใช้ เวลา 2 ชั่วโมง เก็บรวบรวมข้ อมูล ประเมินผลการจัดกิจกรรม
1) การจัดกิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู ้
แผนการจัดการเรี ยนรู้ ท่ี 9 เรื่อง เทคนิคการจัด ทารายงาน การนาเสนอ
นวัตกรรม ผลการเรียนรู้ท่ตี ้ องการให้ เกิดกับผู้เรียนคือ เขียนรายงานผลการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณา
การภูมิปัญญาท้องถิ่น และนาความรู้ ความเข้ าใจเกี่ยวกับเทคนิคการนาเสนอนวัตกรรมไปวางแผน
และจัดนิทรรศการได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยผู้ช่วยผู้วิจัยนาเข้ าสู่บทเรียนด้ วยกิจกรรมที่ 15 เรื่อง
เราต้ องรอด เพื่อฝึ กการใช้ ภาษาเพื่อการสื่อสารและวางแผน (Tolerance for Ambiguity) เป็ นการ
ฝึ กให้ นักเรียนมีความอดทนและพยายามที่จะค้ นหาคาตอบต่ อปั ญหาที่กากวมหรือเป็ นสองนัย
ลึกลับ หรือท้าทายความนึกคิดต่าง ๆ โดยผู้ช่วยผู้วิจัย กาหนดสถานการณ์จาลองให้ แล้ วให้ แต่ละ
กลุ่มวางแผนจัด การกั บเหตุการณ์ท่ีเกิ ดขึ้น ภายใต้ แรงกดดันที่ทุก คนต้ องการและเงื่ อ นไขที่ มี
ข้ อจากัด
208

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 10 ปั จฉิมนิเทศ เป้ าหมายที่ต้องการให้ เกิดกับ


นักเรียนคือ การนาความรู้ ความเข้ าใจเกี่ ยวกับเทคนิคการนาเสนอนวัตกรรมไปวางแผนและจั ด
นิทรรศการได้ อย่างมีประสิทธิภาพ กิจกรรมประกอบไปด้ วยการนาเข้ าสู่บทเรียนเพื่อเตรียมความ
พร้ อ มให้ กั บ นัก เรี ยน โดยใช้ กิ จ กรรมที่ 16 เรื่ อ ง เล่ า ข่ าวใส่ ไข่ เพื่ อ ฝึ กการจิน ตนาการ โดยมี
สถานการณ์ข่าวในชีวิตประจาวันให้ นักเรียนได้ อ่านและวิเคราะห์ โดยผู้ช่วยผู้วิจัยเตรียมข่า วที่มี
ข้ อเท็จจริงบางส่วน มาให้ นักเรียนวิเคราะห์ หาจุดที่มีความคลาดเคลื่อน ให้ นักเรียนแต่ล ะกลุ่ ม
ระดมความคิ ดเห็น เกี่ย วกับข่า วที่ก าหนดให้ หลังจากนั้น ชวนให้ นั ก เรี ย นได้ ส ะท้ อ นถึ งผลการ
ดาเนินงานทั้งหมดของโครงการตามหลักสูตรหรือการเข้ าร่วมกิจกรรมชุมนุม นักเรียนได้ ประโยชน์
อะไรบ้ าง มีความประทับใจในกิจกรรมใด หรือมีจุดที่ต้องมีการปรับปรุงอย่างไร ให้ นักเรียนแสดง
ความคิดเห็นอย่างเสรี ผู้ช่วยผู้วิจัยนาแบบทดสอบความคิดสร้ างสรรค์ (TCT – DP) ของ Jellen
and Urban (2005) ให้ นักเรียนได้ ทาการทดสอบตามขั้นตอนและตามคาแนะนา พร้ อมทั้งบรรยาย
ปิ ดโครงการและนัดหมายนักเรียนตามความเหมาะสม
2) การสังเกตกระบวนการสร้างนวัตกรรมของนักเรียนระหว่างเรียน
แผนการจัดการเรี ยนรู้ ท่ี 9 เรื่อง เทคนิคการจัด ทารายงาน การนาเสนอ
นวัตกรรม ผู้ช่วยผู้วิจัยได้ สังเกตเห็นการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการทากิจกรรมในการนาเข้ าสู่
บทเรียน หลังจากนั้นนักเรียนถูกแบ่งออกเป็ นกลุ่ม พบว่านักเรียนมีพัฒนาการในการเป็ นผู้นาและ
ผู้ตาม ทุกคนจะรู้บทบาทของตนเอง เนื่องจาก ดาเนินการมาแล้ ว 14 ครั้ง จึงทาให้ นักเรียนเข้ าใจ
ขั้นตอนและเป้ าหมายที่หลักสูตรต้ องการให้ นักเรียนกล้ าคิด กล้ าแสดงออกอย่างสร้ างสรรค์ โดยไม่
มีแรงกดดันจากภายนอกใด ๆ นักเรียนใช้ เวลาในการดาเนินการอย่างรวดเร็ว ในการระดมความ
คิดเห็นและการนาเสนอนวัตกรรมตามใบงานนักเรียนมีความมั่นใจเป็ นอย่างมาก นอกจากนั้นยัง
สังเกตเห็นการโต้ ตอบทางความคิดของเพื่อนนักเรียนในชั้นเรียน บรรยากาศเป็ นไปอย่ างเป็ น
ทางการและการเคารพในความคิดเห็นของเพื่อน ๆ ในชั้นเรียน ถึงแม้ จะมีบุคคลภายนอกซึ่งเป็ น
ผู้วิจัยเองเข้ าไปสังเกตการณ์ในชั้นเรียน นักเรียนก็ไม่ร้ ูสึกตื่นตระหนก หรือประหม่าแต่อย่างใด ทา
กิจกรรมร่วมกับผู้ช่วยผู้วิจัยอย่างเป็ นธรรมชาติ และสามารถนาเสนอนวัตกรรมได้ ดีเยี่ยม ตามภาพ
ที่ 35

ภาพที่ 35 นวัตกรรมนักเรียนกิจกรรมที่ 15 เรื่อง เราต้ องรอด


209

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 10 ปั จฉิมนิเทศ กิจกรรมในสัปดาห์สุดท้ าย บาง


โรงเรียนกลุ่มเป้ าหมายให้ นักเรียนนาเสนองานในชั้นเรียน แล้ วเชิญเพื่อนนักเรียนในห้ องใกล้ เคียง
มาร่ วมรับชมและรับฟั งการนาเสนอ โรงเรียนขนาดใหญ่จัดกิจกรรมในตอนเที่ยง เพื่อนาเสนอ
นวัตกรรม นักเรียนมีความตื่นเต้ น และมีการเตรียมการ ในการทางาน ตั้งแต่ ข้ันตอนของการ
วางแผน การแบ่งภาระงาน การดาเนินการต่าง ๆ ทั้งพิธีกร สถานที่ หรือแม้ กระทั่งเอกสารต่าง ๆ
ในการดาเนินการจัดแสดงนิทรรศการนวัตกรรม ซึ่งสังเกตเห็นความสามัคคี ความมีน้าใจของ
นักเรียน การให้ ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การมีปฎิสัมพันธ์ระหว่างครูและนักเรียน นักเรียน
รู้จักการประสานงานกับ ผู้ ท่ีมีส่ ว นเกี่ ยวข้ อ ง การขอความร่ วมมื อ การประชาสัมพันธ์ กิ จ กรรม
สามารถดาเนินการได้ สาเร็จ เห็นได้ จากภาพประกอบบางส่วนของกิจกรรม ดังภาพประกอบที่ 36

ภาพที่ 36 นวัตกรรมนักเรียนกิจกรรมที่ 16 เรื่อง เล่าข่าวใส่ไข่

ภาพกิจกรรมการนาเสนอนวัตกรรมของนักเรียนโรงเรียนกลุ่มเป้ าหมายทั้ง
6 โรงเรียน ซึ่งดาเนินการตามบริบทและสภาพความพร้ อมของนักเรียน ทั้งเวลา สถานที่ และปัจจัย
ต่าง ๆ ที่แตกต่างกัน ทั้งนี้มีเป้ าหมายเดียวกัน คือต้ องการให้ นักเรียนได้ นาเสนอผลการสังเคราะห์
ความรู้ท่บี ูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น ออกมาเป็ นผลิตภัณฑ์นักเรียน ดังภาพประกอบต่อไปนี้

ภาพที่ 37 การนาเสนอนวัตกรรมนักเรียนและการจัดแสดงนวัตกรรม
210

3) การประเมินผลการจัดกิจกรรม
ประกอบด้ วยการประเมินนวัตกรรมจากใบกิจกรรมที่ 15 เรื่อง เราต้ องรอด
ซึ่งกลวิธีการฝึ กคิดสร้ างสรรค์ คือ ค้ นหาคาตอบจากคาถามที่กากวม (Tolerance for Ambiguity)
และใบกิจกรรมที่ 16 เรื่อง เล่าข่าวใส่ไข่ มีกลวิธีการฝึ กคิดสร้ างสรรค์ คือ การฟั งอย่างสร้ างสรรค์
(Creative Listening Skill)

ตารางที่ 27 ค่าเฉลี่ยผลการประเมินนวัตกรรม หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 การเผยแพร่นวัตกรรม


สู่ชุมชน ใบกิจกรรมที่ 15 – 16

จานวน ค่าเฉลี่ยคะแนนประเมินนวัตกรรม
โรงเรียน
นักเรียน กิจกรรมที่ 15 กิจกรรมที่ 16
กลุ่มเป้าหมาย
เข้าร่วม 𝑿̅ S.D. แปลผล 𝑿 ̅ S.D. แปลผล
นาวังศึกษาวิช 20 9.95 1.61 ผ 10.65 1.61 ผ
กุดดินจี่วิทยาคม 20 10.40 1.19 ผ 10.40 1.19 ผ
ดงมะไฟวิทยาคม 20 10.20 1.54 ผ 10.60 1.54 ผ
ฝั่งแดงวิทยาสรรค์ 20 10.15 1.53 ผ 10.60 1.53 ผ
ภูซางใหญ่วิทยาคม 20 10.05 1.28 ผ 10.65 1.28 ผ
หนองสวรรค์วิทยาคาร 20 10.15 1.27 ผ 10.65 1.27 ผ
120 10.15 1.40 ผ 10.59 1.40 ผ

จากตารางที่ 27 พบว่านักเรียนร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอน
ของกิจกรรมที่ 15 และ 16 และดาเนินการระดมความคิดเห็น สรุปข้ อมูล ตลอดจนการนาเสนอ
นวัตกรรมในท้ ายชั่วโมงของการจัดกิจกรรม โรงเรียนกลุ่มเป้ าหมายทั้ง 6 โรงเรียน มีค่าเฉลี่ยของ
คะแนนการประเมิน นวัตกรรม กิจกรรมที่ 15 เรื่ อง เราต้ องรอด อยู่ในเกณฑ์ ผ่าน มีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 10.15 และกิจกรรมที่ 16 เรื่อง เล่าข่าวใส่ไข่ อยู่ในเกณฑ์ ผ่าน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 10.59
4) การสะท้อนผลการจัดกิจกรรมร่วมกับผูช้ ่วยผูว้ ิจัย
กิจกรรมการเรียนรู้ในหน่วยที่ 5 เรื่อง การเผยแพร่ นวัตกรรมสู่ชุมชน ผู้วิจัย
ออกแบบหน่ วยการเรียนรู้ใช้ เวลา 2 ชั่วโมง โดยเป้ าหมายของหน่ วยการเรียนรู้ คือ การเขียน
รายงานผลการดาเนินงานสร้ างนวัตกรรม และการนาเสนอต่อสาธารณะชน ในรูปแบบของการจัด
นิทรรศการ ตามบริบทและความพร้ อมของโรงเรียน ที่นาหลักสูตรไปใช้ จากการสะท้ อ นผลของ
ผู้ช่วยผู้วิจัยทั้ง 6 คน สามารถสรุปได้ ดังนี้ ด้ านความรู้ความเข้ าใจของนักเรียน พบว่ านักเรียน
สามารถจัดทารูปเล่มรายงานตามแบบฟอร์มที่กาหนดหรือประยุกต์ตามแบบฟอร์มที่เหมาะสม
นักเรียนดาเนินการได้ ตามช่วงเวลาที่กาหนด บางกลุ่มใช้ วิธีการเขียนด้ วยลายมือ บางกลุ่มใช้ วิธีการ
211

พิ ม พ์ ด้ ว ยโปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ซึ่ ง แสดงให้ เ ห็น ว่ า นั ก เรี ย นมี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจและใช้ ส่ื อ
เทคโนโลยีได้ อย่างดี นอกจากนั้นนักเรียนยังต้ องเตรียมการ การนาเสนอด้ วยเทคนิคต่าง ๆ ไม่ว่า
จะเป็ นการพูดนาเสนอ การสร้ างคลิปวีดีโอนาเสนอและอัพโหลดขึ้นในช่อง YouTube ที่นักเรียน
เป็ นสมาชิก การจัดป้ ายนิเทศ แผ่นพับการนาเสนอ นอกจากนั้นบางโรงเรียนยังสามารถจัดงานให้
เป็ นมหกรรมวิชาการ หรือมหกรรมเปิ ดบ้ านของโรงเรียน อีกทั้งนากิจกรรมดังกล่าวเข้ าไปเป็ นส่วน
หนึ่งของงานในชุมชน เพื่อเผยแพร่นวัตกรรมของนักเรียนอย่างกว้ างขวาง
ข้ อเสนอแนะที่ควรปรับปรุง และประเด็นเรื่องปัญหาอุปสรรค พบว่า ควรนา
หลักสูตรดังกล่าวจัดไว้ ในรายวิชาเพิ่มเติมที่นักเรียนสามารถเลือกเรียนได้ เป็ นระดับชั้น จัดเป็ น
รายวิชาที่มีการวัดผลประเมินผล เป็ นผลการเรียนของนักเรียน พร้ อมกันนั้นก็ส ามารถจัดงาน
นิทรรศการโดยขอใช้ งบประมาณตามแผนงานของโรงเรียน และโรงเรียนคัดเลือกนวัตกรรมที่ดี
และสามารถต่อยอดนวัตกรรมได้ มาเป็ นนวัตกรรมของโรงเรียนและจัดสรรงบประมาณสนับสนุน
ในการส่ง นวัต กรรมเข้ า ร่ ว มน าเสนอในเวทีภ ายนอก ซึ่งจะเป็ น การส่ ง เสริม ความเป็ นเลิ ศ ของ
นักเรียนและเป็ นนวัตกรรมที่เกิดจากผู้เรียนโดยแท้ จริง นวัตกรรมดังกล่าวจะกลายเป็ นแรงบันดาล
ใจให้ กับนักเรียนรุ่นต่อไป ซึ่งจะย้ อนกลับคืนสู่หน่วยการเรียนที่ 1 เรื่อง การสร้ างแรงบันดาลใจ
จากนักเรียนตัวอย่างหรือกระบวนการเรียนรู้จากตัวแบบ ที่เป็ นนักเรียนรุ่นพี่ และจะเป็ นวัฒนธรรม
การทางานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ต่อเนื่อง และยั่งยืน โดยนักเรียนสามารถลงทะเบียน
เรียนรู้ได้ ทุกคน และมีโอกาสที่จะดาเนินโครงการให้ เป็ นแนวปฏิบัติท่ีเป็ นเลิศของสถานศึกษา
ต่อไป
หลั ง จากที่ ผ้ ู ช่ ว ยผู้ วิ จั ย น าหลัก สู ต รไปใช้ เ ป็ นระยะเวลา 1 ภาคการเรียน
ในช่ วงสุดท้ ายมีกิจกรรมการเผยแพร่ นวัตกรรมนักเรียนโดยนักเรียนจัดนิทรรศการนาเสนอ มี
คณะกรรมการประเมินนวัตกรรมและนักเรียนคนอื่นๆ ร่วมกิจกรรมตลอดจนผู้ปกครองและชุมชน
เพื่อประเมินความสามารถในการสร้ างนวัตกรรม ซึ่งประเมินจากการประเมิน นวัตกรรมและการ
ประเมินกระบวนการสร้ างนวัตกรรมของนักเรียน นอกจากนั้นผู้ช่วยผู้วิจัยยังดาเนินการวัดระดับ
ความคิดสร้ างสรรค์หลังการใช้ หลักสูตรการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ าง
นวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้ องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู โดยใช้
แบบทดสอบความคิดสร้ างสรรค์ (TCT – DP) ของ Jellen and Urban (2005) โดยมีรายละเอียด
และผลการวัดระดับความคิดสร้ างสรรค์ ดังตารางที่ 28
212

ตารางที่ 28 ระดับความคิดสร้ างสรรค์ของนักเรียนหลังเข้ าร่วมกิจกรรมตามโครงสร้ างหลักสูตร

จานวน
โรงเรียนกลุ่มเป้ าหมาย ̅
𝑿 S.D. แปลผล
นักเรียน
นาวังศึกษาวิช 20 48.8 1.49 ระดับสูง
กุดดินจี่วิทยาคม 20 47.3 1.49 ปานกลาง
ดงมะไฟวิทยาคม 20 47.9 1.40 ปานกลาง
ฝั่งแดงวิทยาสรรค์ 20 49.7 1.42 ระดับสูง
ภูซางใหญ่วิทยาคม 20 50.4 1.53 ระดับสูง
หนองสวรรค์วิทยาคาร 20 49.7 1.54 ระดับสูง
120 48.9 1.48 ระดับสูง

จากตาราง 28 พบว่ า ผลการทดสอบวั ด ระดั บ ความคิ ด สร้ า งสรรค์ ข อง


นักเรียนหลังจากใช้ หลักสูตร ด้ วยแบบทดสอบความคิดสร้ างสรรค์ (TCT – DP) ของ Jellen and
Urban (2005) โดยทดสอบกับนักเรียนจานวน 6 โรงเรียน ๆ ละ 20 คน รวม 120 คน ตาม
ข้ อกาหนดของแบบทดสอบ โดยผู้ช่วยผู้วิจัย คะแนนเฉลี่ยรวมของระดับความคิดสร้ างสรรค์ในการ
ทดสอบครั้งนี้มีค่าเท่ากับ 48.9 เมื่อแปลค่าระดับความคิดสร้ างสรรค์ของนักเรียนกลุ่มเป้ าหมายอยู่
ในระดับ สูง

ตารางที่ 29 ผลการประเมินนวัตกรรมของนักเรียนที่เกิดจากการนาทักษะการคิดสร้ างสรรค์


มาสร้ างนวัตกรรม

จานวน
โรงเรียนกลุ่มเป้ าหมาย ̅
𝑿 S.D. แปลผล
นักเรียน
นาวังศึกษาวิช 20 79.8 3.72 ดีเยี่ยม
กุดดินจี่วิทยาคม 20 78.6 3.64 ดี
ดงมะไฟวิทยาคม 20 79.3 3.46 ดีเยี่ยม
ฝั่งแดงวิทยาสรรค์ 20 79.1 3.57 ดีเยี่ยม
ภูซางใหญ่วิทยาคม 20 78.6 3.57 ดี
หนองสวรรค์วิทยาคาร 20 79.5 3.54 ดีเยี่ยม
120 79.1 3.58 ดีเยี่ยม
213

จากตาราง 29 พบว่ า ผลการประเมินนวัตกรรมของนั ก เรียนหลังจากใช้


หลักสูตร โดยนักเรียนจัดแสดงนวัตกรรมและได้ รับการประเมินจากผู้ช่วยผู้วิจัยและผู้ท่ีมีส่ ว น
เกี่ยวข้ อง พบว่าคะแนนเฉลี่ยรวมของการประเมินนวัตกรรมมีค่าเท่ากับ 79.1 แปลค่าอยู่ในระดับ
ดีเยี่ยม

ตารางที่ 30 ผลการประเมินกระบวนการสร้ างนวัตกรรมของนักเรียนระหว่างการทากิจกรรม


การเรียนรู้ตามโครงสร้ างของหลักสูตร

จานวน
โรงเรียนกลุ่มเป้ าหมาย ̅
𝑿 S.D. แปลผล
นักเรียน
นาวังศึกษาวิช 20 4.3 0.26 มาก
กุดดินจี่วิทยาคม 20 4.2 0.23 มาก
ดงมะไฟวิทยาคม 20 4.5 0.25 มากที่สุด
ฝั่งแดงวิทยาสรรค์ 20 4.5 0.24 มากที่สุด
ภูซางใหญ่วิทยาคม 20 4.3 0.37 มาก
หนองสวรรค์วิทยาคาร 20 4.1 0.23 มาก
120 4.3 0.26 มาก

จากตาราง 30 พบว่ า ผลการประเมิ น กระบวนการสร้ า งนวั ต กรรมของ


นักเรียนหลังจากใช้ หลักสูตร โดยนักเรียนจัดแสดงนวัตกรรมและได้ รับการประเมินจากผู้ช่วยผู้วิจัย
และผู้ท่มี ีส่วนเกี่ยวข้ อง พบว่าคะแนนเฉลี่ยรวมของการประเมินนวัตกรรมครั้งนี้มีค่าเท่ากับ 4.3
เมื่อแปลค่า อยู่ในระดับ มาก

You might also like