You are on page 1of 13

นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย


ประเภทของนวัตกรรม
ประเภทของการใชนวัตกรรมการศึกษาในประเทศไทย

                  ประเภทของนวัตกรรมการศึกษาพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.
2542   ไดมีบทบัญญัติที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรมการศึกษาไวหลายมาตรา
มาตราที่สำคัญ คือ มาตรา 67
รัฐตองสงเสริมใหมีการวิจัยและพัฒนาการผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งการติดตาม
ตรวจสอบและประเมินผลการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
เพื่อใหเกิดการใชที่คุมคาและเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรูของคนไทยและในมาตรา 22
"การจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดและถือวาผูเรียนมีควา
มสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตนเองไดและถือวาผูเรียนมีความสำคัญที่สุด
กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ"
การดำเนินการปฏิรูปการศึกษาใหสำเร็จไดตามที่ระบุไวในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542
ดังกลาว จำเปนตองทำการศึกษาวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาใหมๆ
ที่จะเขามาชวยแกไขปญหาทางการศึกษาทั้งในรูปแบบของการศึกษาวิจัย
การทดลองและการประเมินผลนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่นำมาใชวามีความเหมาะสมมากนอยเพียงใด
นวัตกรรมที่นำมาใชทั้งที่ผานมาแลวและที่จะมีในอนาคตมีหลายประเภทขึ้นอยูกับการประยุกตใชนวัตกรรมใน
ดานตางๆ ในที่นี้จะขอกลาวคือ นวัตกรรม 5 ประเภท คือ 

1. นวัตกรรมการศึกษาที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษา

เปนนวัตกรรมที่มีขอบเขต เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาทุกดาน
ตั้งแตหลักสูตร การเรียนการสอน สื่อและเทคโนโลยี
ทางการศึกษา การวัดและประเมินผล และการบริหาร ทัศนา
แขมมณี (2526 : 13) และวาทิต ระถี
(2531) ไดแบงประเภทนวัตกรรมการศึกษาออกเปน 5 ดาน คือ
1. นวัตกรรมทางดานหลักสูตร
แนวคิดการสอนแบบ ไฮสโคป
หลักการ
โปรแกรมไฮสโคปเนนการเรียนรูแบบลงมือกระทำผานมุมเลนที่หลากหลาย ดวยสื่อและ กิจกรรมที่เหมาะ
สมกับพัฒนาการของเด็ก และการแกปญหาอยางกระตือรือรน
ทฤษฎีที่มีอิทธิพล
ในระยะเริ่มตน การพัฒนาโปรแกรมไฮสโคปใชทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญา (Cognitive Theory) ของเปยเจต
(Piaget) เปนพื้นฐานโดยเฉพาะการสรางองคความรูของผูเรียนซึ่งเนน การเรียนรูแบบลงมือกระทำ (Active
Learning) ระยะตอมามีการผสมผสานทฤษฎี และแนวคิดอื่นๆ เชน ทฤษฎีของอีริกสัน (Erikson)
ในเรื่องการใหโอกาสเด็กเปนผูริเริ่มการเลนหรือกิจกรรมตางๆ อยางอิสระและทฤษฎีของ ไวกอตสกี้ (Vygotsky)
ในเรื่อง ปฏิสัมพันธและการใชภาษา เปนตน
การเรียนรูแบบลงมือกระทำ (Active Learning)
หลักการที่สําคัญของไฮสโคปในระดับปฐมวัย คือ การเรียนรูแบบลงมือกระทํา ซึ่งถือวาเปน พื้นฐานสําคัญ
ในการพัฒนาเด็ก การเรียนรูแบบลงมือกระทําจะเกิดขึ้นอยางมีประสิทธิภาพมาก
ที่สุดในโปรแกรมที่พัฒนาเด็กอยาง เหมาะสมกับพัฒนาการ การเรียนรูแบบลง มือกระทํา หมายถึง
การเรียนรูซึ่งเด็กไดจัดกระทํากับวัตถุ ไดมีปฏิสัมพันธ กับบุคคล ความคิดและเหตุการณ จนกระทั่ง
สามารถสรางองคความรูดวย ตนเอง (Hohmann and Weikart,1995) ทั้งนี้ องคประกอบของ
การเรียนรูแบบลงมือกระทํา ไดแก
1. การเลือกและตัดสินใจ เด็กจะเปนผูริเริ่มกิจกรรมจากความสนใจและความตั้งใจของตนเอง
เด็กเปนผูเลือกวัสดุอุปกรณ และตัดสินใจวา จะใชวัสดุอุปกรณนั้นอยางไร การที่เด็กมีโอกาสเลือกและตัดสินใจทํา
ใหเด็กเกิดการเรียนรูดวยตน เองมากกวาไดรับการถายทอดความรูจากผูใหญ ดังนั้นผูใหญที่
ตระหนักถึงความสำคัญเรื่อง การเลือก และการตัดสินใจตองจัดใหเด็กมีอิสระที่จะเลือกไดตลอด
ทั้งวันขณะที่ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันไมใชเฉพาะ ในชวงเวลาเลนเสรีเทานั้น
2. สื่อ ในหองเรียนที่เด็กเรียนรูแบบลงมือกระทำจะมีเครื่องมือ และวัสดุอุปกรณที่ หลากหลาย เพียงพอ
และเหมาะสมกับระดับอายุของเด็ก เด็กตองมีโอกาสและมีเวลา เพียงพอ ที่จะเลือกใชวัสดุอุปกรณอยางอิสระ
เมื่อเด็กใชเครื่องมือหรือวัสดุอุปกรณตาง ๆ เด็กจะมีโอกาส เชื่อมโยงการ กระทำตาง ๆ
การเรียนรูในเรื่องของความสัมพันธ และมีโอกาส ในการแกปญหา มากขึ้นดวย
3. การใชประสาทสัมผัสทั้ง 5 การเรียนรูดวยการลงมือกระทำเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับประสาทสัมผัสทั้ง 5
การใหเด็กไดสำรวจ และจัดกระทำกับวัตถุโดยตรงทำใหเด็กรูจักวัตถุ หลังจากที่เด็กคุนเคยกับวัตถุ
แลวเด็กจะนำวัตถ
ุตาง ๆ มาเกี่ยวของกันและเรียนร ูเรื่องความสัมพันธ ผูใหญมีหนาที่จัดใหเด็กคนพบความสัมพันธ 
เหลานี้ดวยตนเอง
4. ภาษาจากเด็ก สิ่งที่เด็กพูดจะสะทอนประสบการณและความเขาใจของเด็ก ในหอง เรียนที่เด็กเรียนรู
แบบลงมือกระทําเด็กมักจะเลาวาตน กําลังทําอะไร หรือทําอะไรไปแลวใน แตละวัน เมื่อเด็กมีอิสระในการใชภาษา
เพื่อสื่อความคิดและรูจักฟงความคิด เห็นของผูอื่น เด็กจะเรียนรูวิธีการพูด ที่เปนที่ยอมรับของผูอื่น ไดพัฒนาการ
คิดควบคู ไปกับการพัฒนา ความเชื่อมั่นในตนเองดวย
5. การสนับสนุนจากผูใหญ ผูใหญในหองเรียนการเรียนรูแบบลงมือกระทําตองสรางความสัมพันธกับเด็ก
สังเกตและคนหา ความตั้งใจ ความสนใจของเด็ก ผูใหญควรรับฟงเด็ก สงเสริมใหเด็กคิดและ ทําสิ่งตาง ๆ ดวยตน
เอง ในหองเรียนที่เด็กเรียนรูแบบ ลงมือกระทํา เด็กจะเผชิญกับประสบการณสําคัญ ซํ้าแลวซํ้า
อีกในชีวิตประจําวันอยาง เปนธรรมชาติ ประสบการณสําคัญเปนกุญแจที่จําเปนในการสราง องคความรูของ
เด็กเปนเสมือนกรอบความคิด ที่จะทําความเขาใจการเรียนรูแบบลงมือ กระทํา เราสามารถใหคําจํากัดความไดวา
ประสบการณสําคัญเปนสวนหนึ่งของ ความรูที่เด็กจะตองหามา ใหไดโดยการปฏิสัมพันธกับวัตถุ คน
แนวคิดและเหตุการณ สำคัญตางๆ อยางหลากหลาย ประสบ การณสำคัญเปนกรอบ
ความคิดใหกับผูใหญในการเขาใจการเรียนรูของเด็ก สามารถวางแผน การจัดประสบ
การณเพื่อสงเสริมและประเมินพัฒนาการของเด็กอยางเหมาะสม
ดร.เดวิด ไวคารท (Dr.David Weikart) ประธานมูลนิธิวิจัยการศึกษาไฮสโคป (High/Scope Educational
Research Foundation) เปนผูริเริ่มและรวมกับคณะนักวิชาการและนักวิจัย อาทิ แมรี่ โฮแมน (Mary
Hohmann) และ ดร.แลรี่ ชไวฮารต (Dr.Larry Schweinhart) พัฒนาขึ้นจาก โครงการเพอรี่ พรี สคูล (Perry
Preschool Project) ตั้งแตพ.ศ.2505 ซึ่งเปนหนึ่งในโครงการ Head Start เพื่อชวยเหลือ
เด็กดอยโอกาสใหมีการศึกษาที่เหมาะสม และประสบความสําเร็จ ในชีวิต
มูลนิธิวิจัยการศึกษาไฮสโคปไดศึกษาเปรียบเทียบเด็ก 3 กลุม ประกอบดวยกลุมที่ ไดรับการสอน จากครูโดยตรง
(Direct Instruction) กลุมเนอรสเซอรี่แบบดั้งเดิม (Traditional Nursery) และกลุมที่ไดรับ
ประสบการณโปรแกรมไฮสโคป จากการศึกษาติดตามเด็กเหลานี้ ตั้งแต ระดับปฐมวัยจนถึงอายุ 29 ป
พบวากลุมที่เรียนดวยโปรแกรมไฮสโคปมีปญหาพฤติกรรม ทางสังคม-อารมณ เชน การถูกจับขอหาลักขโมย
ทำรายผูอื่น บกพรองทางอารมณ และลมเหลว ในชีวิตนอยกวาอีก 2 กลุม ดังนั้น โปรแกรมนี้จึงพิสูจนไดวาชวย
ปองกันอาชญากรรรม เพิ่มพูน ความสำเร็จทางการศึกษาและผลผลิตตลอดชีวิต (Weikart and others, 1978
และ Schweinhart, 1988 และ 1997)
นอกจากนี้ มูลนิธิฯ ไดพัฒนาระบบการฝกอบรมบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ เรียนรูไดงาย เผยแพรในประเทศสหรัฐ
อเมริกาและประเทศตาง ๆ ทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา ครูจำนวนมากกวา 33,000 คน ไดรับ
การฝกอบรมในเรื่องไฮสโคป และจากการสำรวจสมาชิก มากกวา 200,000 คน
ของสมาคมการศึกษาปฐมวัยแหงชาติ (NAEYC) พบวา รอยละ 28 ของสมาชิกไดรับการฝกอบรมในเรื่องไฮสโคป
และรอยละ 44 ใชโปรแกรมไฮสโคปในบาง
บริบทดวย (Schweinhart, 1997)
                         นวัตกรรมทางดานหลักสูตร เปนการใชวิธีการใหมๆ
ในการพัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองกับสภาพแวดลอมในทองถิ่นและตอบสนองความตองการสอนบุคคลใหมากขึ้น
เนื่องจากหลักสูตรจะตองมีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ
เพื่อใหสอดคลองกับความกาวหนาทางดานเทคโนโลยีเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและของโลก
นอกจากนี้การพัฒนาหลักสูตรยังมีความจำเปนที่จะตองอยูบนฐานของแนวคิดทฤษฎี
และปรัชญาทางการจัดการสัมมนาอีกดวย
การพัฒนาหลักสูตรตามหลักการและวิธีการดังกลาวตองอาศัยแนวคิดและวิธีการใหมๆ
ที่เปนนวัตกรรมการศึกษาเขามาชวยเหลือจัดการใหเปนไปในทิศทางที่ตองการ
นวัตกรรมทางดานหลักสูตรในประเทศไทย ไดแก การพัฒนาหลักสูตรดังตอไปนี้
1. หลักสูตรแบบบูรณาการ (Integrated Curriculum)
เปนการบูรณาการสวนประกอบของหลักสูตรเขาดวยกันทางดานวิทยาการในสาขาตางๆ
การศึกษาทางดานจริยธรรมและสังคม โดยมุงใหผูเรียนเปนคนดีสามารถใชประโยชนจากองคความรูในสาขาตางๆ
ใหสอดคลองกับสภาพสังคมอยางมีจริยธรรม
2. หลักสูตรรายบุคคล เปนแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อการศึกษาตามอัตภาพ
เพื่อตอบสนองแนวความคิดในการจัดการศึกษารายบุคคล
ซึ่งจะตองออกแบบระบบเพื่อรองรับความกาวหนาของเทคโนโลยีดานตางๆ
3. หลักสูตรกิจกรรมหรือประสบการณ (Activity or Experience Curriculum) เปนหลักสูตรที่มุงเนน
กระบวนการในการจัดกิจกรรมและประสบการณใหกับผูเรียนเพื่อนำไปสูความสำเร็จ เชน
กิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรียนมีสวนรวมในบทเรียน ประสบการณการเรียนรูจากการสืบคนดวยตนเอง เปนตน
4. หลักสูตรทองถิ่น เปนการพัฒนาหลักสูตรที่ตองการกระจายการบริหารจัดการการมีออกสูทองถิ่น
เพื่อใหสอดคลองกับศิลปวัฒนธรรมสิ่งแวดลอมและความเปนอยูของประชาชนที่มีอยูในแตละทองถิ่น
แทนที่หลักสูตรในแบบเดิมที่ใชวิธีการรวมศูนยการพัฒนาอยูในสวนกลาง
และ
- การจัดหลักสูตรการศึกษาผูใหญแบบเบ็ดเสร็จ (Function Literacy)
- การจัดหลักสูตรเพื่อใหผูเรียนเรียนรู ตามลำดับขั้นจนบรรลุเปาหมาย (Mastery Learning Curriculum)
- หลักสูตรแบบเอกัตภาพ (Individualized Curriculum)
                    ความหมายการสอนภาษาแบบองครวม (Whole Language Approach) หมายถึง
การสอนภาษาที่เปนไปตามธรรมชาติ เนนสื่อที่มีความหมาย
ผูเรียนสามารถใชประสบการณเดิมชวยทำใหเขาใจสื่อที่อานไดรวดเร็วขึ้น
การสอนจะไมแยกสอนสวนยอยของภาษาทีละสวนแตเนนใหเขาใจในภาพรวมกอน
แลวจึงเรียนรูดานโครงสรางภาษาภายหลัง ผูเรียนสามารถสรางสรรคภาษาของตนเองอยางอิสระ
ผูสอนตองยอมรับความแตกตางดานการออกเสียงที่เปนสำเนียงภาษาถิ่น(dialects) ในเบื้องตน
แลวจึงพัฒนาใหถูกตองในโอกาสตอไป การสอนภาษาแบบองครวมจะเนนการนำรวมวรรณกรรมตาง ๆ
ที่ดีมาเปนสื่อการสอน เพื่อใหผูเรียนไดรับประสบการณภาษาที่หลากหลาย
สามารถนำไปเปนแบบอยางการใชภาษาของตนเองและใชไดในสังคมอยางมีประสิทธิภาพ
ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนภาษาแบบองครวมจึงเนนผูเรียนเปนสำคัญและยึดหลักการประชาธิปไตยในชั้นเรียน
ลักษณะสำคัญของการสอนแบบองครวม
- เนนความเขาใจเนื้อเรื่องมากกวาการทองจําตัวหนังสือผานสนทนาโตตอบ
-การคาดคะเนโดยการเดาในขณะอาน เขียน และสะกด เปนสิ่งที่ยอมรับได
-มีหนังสือ วัสดุสิ่งพิมพตาง ๆ ใหเด็กเปนผูเลือกอยางหลากหลาย
- ครูแนะนําสอนการอานในกลุมใหญมักใชหนังสือเลมใหญเห็นชัดเจนทั่วกัน
- ครูสอนการอานอยางมีความหมาย สนุกในกลุมยอย และรูจักวิธีการใชหนังสือ
- ใหเด็กกลุมยอยผลัดกันอาน แลกเปลี่ยนกัน ออกเสียงดัง
-ใหเด็กไดเขียน ขีดเขี่ย วาดภาพ ถายทอดสิ่งที่เรียนรู
- ครูตรวจสอบสภาพการเขียนของเด็กแตละคน เพื่อใหเด็กพัฒนาการเขียนได
3. นวัตกรรมสื่อการสอน(และเทคโนโลยีการศึกษา)
                      เนื่องจากมีความกาวหนาของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรเครือขายและเทคโนโลยี
โทรคมนาคม
ทำใหนักการศึกษาพยายามนำศักยภาพของเทคโนโลยีเหลานี้มาใชในการผลิตสื่อการเรียนการสอนใหมๆ
จำนวนมากมาย ทั้งการเรียนดวยตนเองการเรียนเปนกลุมและการเรียนแบบมวลชน
ตลอดจนสื่อที่ใชเพื่อสนับสนุนการฝกอบรม ตัวอยาง นวัตกรรมสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา ไดแก
่ - คอมพิวเตอรชวยสอน (CAI : Computer-Assisted Instruction)
- มัลติมีเดีย (Multimedia)
- การประชุมทางไกล (Tele Conference)
- วีดีทัศนแบบมีปฎิสัมพันธ (Interactive Media/Video)
- บทเรียนสำเร็จรูป (Programed Instruction)
- เครื่องชวยสอน(Teaching Machine)
- วิทยุและโทรทัศนชวยสอน (Teaching By Radio and TV)
- ชุดการสอน (Learning Packages)
4. นวัตกรรมทางดานการประเมินผล
เปนนวัตกรรมที่ใชเปนเครื่องมือเพื่อการวัดผลและประเมินผลไดอยางมีประสิทธิภาพและทำไดอยางรวดเร็ว
รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน ดวยการประยุกตใชโปรแกรมคอมพิวเตอรมาสนับสนุนการวัดผล
ประเมินผลของสถานศึกษา ครู อาจารย ตัวอยาง นวัตกรรมทางดานการประเมินผล ไดแก
- การพัฒนาคลังขอสอบ
- การลงทะเบียนผานทางเครือขายคอมพิวเตอร และอินเตอรเน็ต
- การใชบัตรสมารทการด เพื่อการใชบริการของสถาบันศึกษา
- การใชคอมพิวเตอรในการตัดเกรด
- การวัดผลแบบอิงกลุมและแบบอิงเกณฑ (Formative and Summative Evaluation)
- การประเมินผลเพื่อแกขอ บกพรอง (Diagnostic Evaluation)
- การเลื่อนชั้นโดยอัตโนมัติ (Automatic Promotion)
- การประเมินผลกอนเรียน (Pre-test)
นวัตกรรมทางดานการประเมินผลนับเปนเรื่องที่มีการพัฒนาอยางตอเนื่อง
แตก็มีเหมือนบางสถาบันการศึกษาเทานั้นที่สามารถใหบริการได
เนื่องจากบางสถาบันยังไมมีความพรอมดานอุปกรณ เครือขายคอมพิวเตอร และขาดบุคลากร
ที่มีความอำนวยดานการออกแบบระบบและการพัฒนาเครือขาย
ซึ่งตองอาศัยระยะเวลาอีกชวงหนึ่งที่จะพัฒนาระบบใหเหมาะสมกับการใชงานในสถาบัน
5. นวัตกรรมการบริหารจัดการ
                 เปนการใชนวัตกรรมที่เกี่ยวของกับการใชสารสนเทศมาชวยในการบริหารจัดการ เพื่อการ
ตัดสินใจของผูบริหารการศึกษาใหมีความรวดเร็วทันเหตุการณ ทันตอการเปลี่ยนแปลงของโลก
นวัตกรรมการศึกษาที่นำมาใชทางดานการบริหาร เชน
- การจัดการศึกษาแบบเปด (Open University)
- การจัดการศึกษาตามแนวมานุษยนิยม (Humanistic Education)
- การจัดตารางสอนแบบยืดหยุน (Flexible Scheduling)
- การจัดการศึกษานอกโรงเรียน (Non-Formal Education)
- การจัดโรงเรียนหมูบานเด็ก (Summer Hill School)
- การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School Within School)
- การจัดโรงเรียนแบบไมแบงชั้น (Non-Graded School)
- การเกณฑเด็กสองกลุมอายุ
และจะเกี่ยวของกับระบบการจัดการฐานขอมูลในหนวยงานสถานศึกษา เชน ฐานขอมูล นักเรียน นักศึกษา
ฐานขอมูล คณะอาจารยและบุคลากร ในสถานศึกษา ดานการเงิน บัญชี พัสดุ และครุภัณฑ
ฐานขอมูลเหลานี้ตองการออกระบบที่สมบูรณมีความปลอดภัยของขอมูลสูง
นอกจากนี้ยังมีความเกี่ยวของกับสารสนเทศภายนอกหนวยงาน เชน ระเบียบปฏิบัติ กฎหมาย พระราชบัญญัติ
ที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษา ซึ่งจะตองมีการอบรม
เก็บรักษาและออกแบบระบบการสืบคนที่ดีพอซึ่งผูบริหารสามารถสืบคนขอมูลมาใชงานไดทันทีตลอดเวลา
การใชนวัตกรรมแตละดานอาจมีการผสมผสานที่ซอนทับกันในบางเรื่อง
ซึ่งจำเปนตองมีการพัฒนารวมกันไปพรอมๆ กันหลายดาน
การพัฒนาฐานขอมูลอาจตองทำเปนกลุมเพื่อใหสามารถนำมาใชรวมกันไดอยางมีประสิทธิภาพ
            นวัตกรรมทางดานหลักสูตร นวัตกรรมทางดานหลักสูตร เปนการใชวิธีการใหมๆ
ในการพัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองกับสภาพแวดลอมในทองถิ่นและตอบสนองความตองการสอนบุคคลใหมากขึ้น
เนื่องจากหลักสูตรจะตองมีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอเพื่อใหสอดคลองกับความกาวหนาทางดานเทคโนโลยีเศรษฐกิ
จและสังคมของประเทศและของโลก
นอกจากนี้การพัฒนาหลักสูตรยังมีความจำเปนที่จะตองอยูบนฐานของแนวคิดทฤษฎีและปรัชญาทางการจัดการสัม
มนาอีกดวย การพัฒนาหลักสูตรตามหลักการและวิธีการดังกลาวตองอาศัยแนวคิดและวิธีการใหมๆ
ที่เปนนวัตกรรมการศึกษาเขามาชวยเหลือจัดการใหเปนไปในทิศทางที่ตองการ
นวัตกรรมทางดานหลักสูตรในประเทศไทย ไดแก การพัฒนาหลักสูตรดังตอไปนี้
1.หลักสูตรบูรณาการ เปนการบูรณาการสวนประกอบของหลักสูตรเขาดวยกันทางดานวิทยาการในสาขาตางๆ
การศึกษาทางดานจริยธรรมและสังคม โดยมุงใหผูเรียนเปนคนดีสามารถใชประโยชนจากองคความรูในสาขาตางๆ
ใหสอดคลองกับสภาพสังคมอยางมีจริยธรรม
2.หลักสูตรรายบุคคล เปนแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อการศึกษาตามอัตภาพ
เพื่อตอบสนองแนวความคิดในการจัดการศึกษารายบุคคล
ซึ่งจะตองออกแบบระบบเพื่อรองรับความกาวหนาของเทคโนโลยีดานตางๆ
3.หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ เปนหลักสูตรที่มุงเนน
กระบวนการในการจัดกิจกรรมและประสบการณใหกับผูเรียนเพื่อนำไปสูความสำเร็จ เชน
กิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรียนมีสวนรวมในบทเรียน ประสบการณการเรียนรูจากการสืบคนดวยตนเอง เปนตน
4.หลักสูตรทองถิ่น เปนการพัฒนาหลักสูตรที่ตองการกระจายการบริหารจัดการออกสูทองถิ่น
เพื่อใหสอดคลองกับศิลปวัฒนธรรมสิ่งแวดลอมและความเปนอยูของประชาชนที่มีอยูในแตละทองถิ่น
แทนที่หลักสูตรในแบบเดิมที่ใชวิธีการรวมศูนยการพัฒนาอยูในสวนกลาง
2.นวัตกรรมการเรียนการสอน
2. นวัตกรรมการเรียนการสอน
การเรียนกาารสอนเรกจิโอ เอมีเลียการจัดการเรียนการสอนแบบเรกจิโอ
เอมีเลียการจัดการศึกษาตามแนวคิดเรกจิโอ
เอมิเลียเปนรูปแบบหนึ่งของการจัดประสบการณการเรียนรูสำหรับเด็ก ปฐมวัยที่พัฒนามาจากความเชื่อวา
การเรียนการสอนนั้นไมใชการ ถายโอนขอมูลความรูจากผูสอนไปสูผูเรียน
การสอนในเด็กปฐมวัยจึงไมใชการมองวาเด็กเปนแกวที่วางเปลา ที่ครูจะเทน้ำตามความตองการของครูลงไป สูเด็ก
นักการศึกษาที่เรกจิโอ เอมีเลียเปรียบเทียบ การเรียนรูของเด็กและการสอนของครูเปนการผสมผสาน
ของวัตถุจากแกวทั้งสองใบรวมกัน การเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพจะเกิดขึ้นก็ตอเมื่อเด็กไดเรียนรูในสิ่งที่ตน สนใจ
เรียนรูภายใตการจัดสิ่งแวดลอมและกิจกรรมที่เหมาะสม กับพัฒนาการของเด็กแตละคน
ปรัชญาของ เรกจิโอ เอมิเลีย
มองวาเด็กแตละคนเต็มไปดวยพลังและความสามารถตั้งแตแรกเกิด และมุงหวังที่จะเปนคนเกงและคนดี
เด็กมีวิถีของการเรียนรูเปนไปตามระยะ ของพัฒนาการในแตละวัย
เด็กมีความสามารถที่จะแสดงออกในทิศทางเพื่อที่จะสัมพันธและสื่อสารกับผูอื่นรวมถึงสิ่งตางๆ รอบตัว
หลักสูตร
ไมมีการกําหนดเนื้อหาแนนอนชัดเจน วิธีปฏิบัติคือแตละโรงเรียนใน Reggio Emilia
จะรวบรวมรายชื่อหัวขอโครงการที่คาดวาจะสัมพันธกับความสนใจของเด็ก
โครงการที่เตรียมอยูในมือครนั้นจะมีทั้งโครงการระยะสั้นและโครงการระยะยาว
แตถาเด็กสนใจในเรื่องที่อยูนอกเหนือรายการหัวขอที่ครูกําหนดไวลวงหนา กิจกรรม โครงการ
ในหองเรียนก็จะปรับเปลี่ยนไปตามความสนใจของเด็ก
สภาพการจัดกิจกรรมและประสบการณจะลื่นไหลไปตามสภาวการณที่สนองความสนใจของเด็กในขณะนั้น
เชนหัวขอโครงการ "สิ่งปลูกสราง" (building) เมื่อเสร็จสิ้นโครงการอาจปรากฏชิ้นงานของเด็กเปนกระทอม เสาสูง
บานเชาแบบหองชุด หรืออื่นๆ ตามจินตนาการและการสรางสรรคจากเด็ก
วิธีการจัดการเรียนการสอน
การเรียนการสอนแบบเรกจิโอเอมีเลียเปนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสำคัญหรือการสอนที่เนนเด็กเปนฐาน
โดยเด็กเองเปนคนคิดหัวขอโครงการที่ตองการเรียนดวยตัวเอง โดยมีขั้นตอนของการจัดการเรียนการสอนดังนี้
1. ขั้นเตรียม ถึงแมวาเด็กจะมีบทบาทในการเปนผูเลือก แตการเตรียมสวนหนึ่งนั้น
เปนของครู สิ่งที่ครูเตรียมไดแก เตรียมสื่อและอุปกรณสรางสรรคสำหรับงานศิลปะเด็ก จัดเตรียม
หัวขอโครงการที่คาดวาเด็กจะสนใจทั้งระยะสั้น ระยะยาว สำหรับใหเด็กเลือกหรือไมมีความเห็นวาจะเรียนอะไร
2. ขั้นดำเนินการ ครูนำประเด็นใหเด็กคิดหัวขอที่สนใจดวยการนำเสนอปญหาที่เด็ก
คิดแกไข ถามแลวใหแนวทางซึ่งจะนำไปสูการกำหนดหัวขอเรื่องที่จะเรียน โดยครูอาจใชวิธีสังเกต
ความสนใจของเด็กและนำมาแนะนำหัวขอใหกับเด็กเมื่อเห็นวาสำคัญ หัวขอที่เรียนอาจเปนความ
สนใจของครูและความตองการทางวิชาชีพที่เห็นวาเด็กตองเรียน
ความสนใจรวมกันระหวางครูกับเด็กหรือบางหัวขออาจนำมาจากความสนใจของผูปกครองหรือชุมชน
3. ขั้นสอน เมื่อมีหัวขอโครงการแลวครูตั้งคำถามที่จะนำไปสูการดำเนินงานตามขั้นตอนการเรียนรูคือ
- ขั้นวางแผนงานใหเด็กหาคำตอบวา อยากรูอะไรบาง จะใชเครื่องมืออะไรในการ
สื่อความคิด และจะดำเนินการอยางไร ระหวางนี้ครูตองบันทึกความเห็นของเด็ก
แนวทางการดำเนินการของเด็กแลวนำไปวิเคราะหรวมกัน
- ขั้นดำเนินการ เด็กออกหาคำตอบตามแผนการที่กำหนด ครูบันทึกความกาวหนา
ของเด็กโดยจัดทำสารนิทัศนจากผลงานของเด็กลวนนำมาเสนอเปนงานเชิงศิลปะแสดง เชน ภาพถายที่เกี่ยวของ
ภาพวาดของเด็ก สิ่งประดิษฐ สิ่งกอสราง ภาพปน วัสดุที่เด็กเก็บมาศึกษาก็สามารถนำมาแสดงเปนผลงานได
ซึ่งในขั้นนี้ตองสงเสริมใหเด็กสังเกต ใชกระบวนการคิด
สรางสรรคแลวสื่องานออกมาตามระดับความสามารถของเด็กเพื่อเสนอใหผูอื่นทราบ
- ขั้นสรุป นำเสนอเปนนิทรรศการใหดูไวเพื่อใหเห็นการการทำกิจกรรมของเด็กและความกาวหนาของเด็ก
4. การประเมินผล จากการคิดคนอยางอิสระของเด็กในหัวขอหรือโครงการที่เด็กสนใจ
เด็กจะซึมซับสิ่งที่เด็กเรียนรูจากความคิดของตนเองและเสนอออกมาเปนงานศิลปะ
แกปญหาและเพิ่มสาระจากการโตตอบปญหาอภิปรายกับครูไปสูการปรับผลงานศิลปะ
และบันทึกซ้ำอีกครั้งจากการไดเห็นของจริงวาเปนสิ่งของ ธรรมชาติ และชุมชนและปรับความรูอีกครั้ง
ผลงานศิลปะทุกชิ้นของเด็กเปนภาพสะทอนการเรียนรูที่ลุมลึกและประทับในจิตใจงานที่ครูสามารถนำมาประเมินไ
ดแก การแสดงออกทางความคิดดวยงานศิลปะของเด็ก ผลการเรียนรูจากการคนหาคำตอบของเด็ก
ผลงานของเด็ก
การจัดสิ่งแวดลอม
สิ่งแวดลอมเปนสวนหนึ่งที่ยิ่งใหญสำหรับการมองเห็นของเด็กและเกิดความรูสึกตอหองเรียนเรียกไดวา สิ่ง
แวดลอมในโรงเรียนเปนครูคนที่สามของเด็ก สถานที่ในโรงเรียนเรกจิโอเอมิเลียตองสวยงาม
ครูตองจัดบรรยากาศของหองเรียนใหเหมาะกับการเรียน สิ่งแวดลอมตางๆตองเหมาะกับการเรียน
สิ่งแวดลอมตางๆจึงตองสามารถใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ยั่วยุ
เชิญชวนใหเด็กไดคนพบสิ่งตางๆและสามารถแกปญหา มีสถานที่ที่ใหเด็กไดทำกิจกรรมกลุมเล็กบอยๆ
เพื่อฝกการทำงานรวมกันรวมทั้งตองมีพื้นที่ใหเด็กแสดงผลงานและสะสมผลงานของเด็ก
จึงกลาวไดวาการจัดสภาพแวดลอมภาพนอกหองเรียนและภายในหองเรียนที่สะทอนถึงความพิถีพิถันของการออก
แบบที่เอื้ออำนวยตอการเรียนรูของเด็กอยางสนุกสนาน มุมกิจกรรมแตละมุมโตะที่จัดวางวัสดุอุปกรณตางๆ
ลวนทาทายและเชิญชวนใหเด็กเขาไปคนหาเรียนรู ทำกิจกรรมตามความสนใจของเด็กไดตลอดเวลา
บทบาทของครู
ครูเปนผูมีบทบาทยางมากในการกระตุนใหเด็กเรียนรูดวยการกระทำและสื่อใหครูทราบดวยงานศิลปะ
บทบาทของครูดำเนินการมีดังนี้
1.ครูเปนผูอำนวยการการเรียนรูใหแกเด็ก กระตุนใหเด็กสื่อความคิดออกมาเปนงานศิลปะ
พรอมสนับสนุนใหจัดสิ่งแวดลอมเปนงานศิลปะจากผลงานของเด็ก
2.ครูคือผูสรางบรรยากาศของการเรียน
3.ครูเปนผูมีสวนรวมกระทำตามแนวคิดของเด็กดวยความเชื่อที่วาเด็กมีศักยภาพและความสามารถสูงพอที่จะแสดง
ออกดวยการกระทำดวยตัวเอง
4.ครูคือผูใชศักยภาพความสามารถของครูในการประสานการคนหาประสบการณของเด็ก
5. ครูเปนผูประเมินความคิดเห็นเด็ก ติดตาม ตั้งสมมุติฐานวาตอไปเด็กจะพบอะไร จะเกิดการเรียนรูอะไร
พรอมสนับสนุนใหเด็กบรรลุวัตถุประสงคที่ตองการ
เก็บขอมูลเด็กและเก็บผลงานเด็กเพื่อจัดสารนิทัศนการประเมินเด็ก
6.ครูเปนผูจัดการเวลาและโอกาสใหเด็กในการจัดผลงาน และพรอมที่นำผลงานเด็กมาเสนอเชิงศิลปะ
การนำไปใช
ขอจำกัดที่เปนขอสังเกตของการสอนแบบ เรกจิโอ เอมีเลีย คือ ใชเวลาในการเรียนแตละเรื่องนาน
ทำใหมีโอกาสเรียนไดนอยเรื่อง ขอบเขตของการเรียนรูแคบ สาระการเรียนรูไดมีเฉพาะเรื่องที่เรียนเทานั้น
ดังนั้นเพื่อใหเด็กพัฒนาครอบคลุมทุกดานครูควรบูรณาการความรูทางคณิตศาสตร การเขียน อาน
ในระหวางกระบวนการจัดกิจกรรมในโครงการดวย

ขอดีของการเรียนการสอนแบบ เรกจิโอ เอมิเลีย คือ การจัดกลุมเด็กเปนกลุมเล็ก


จะชวยเด็กในการเรียนรูสังคมเพิ่มขึ้น มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น สังเกตการณทำงานรวมกัน เกิดการยอมรับ
สรางความอดทน ทำใหเกิดพัฒนาการดานสังคม
นอกจากนี้การใชงานศิลปะเปนสื่อกลางในการถายทอดความรูสึกนึกคิดของเด็กออกมาเปนรูปธรรมแลว
ยังชวยขยายความคิดของเด็กใหกวางออกไปดวย ทำใหเด็กรูสักการสังเกตสิ่งตางๆ ในแงมิติสัมพันธ ฝกสายตา
การมอง การใชกลามเนื้อ สรางความรักความชอบในงานศิลปะใหกับเด็ก (กุลยา, 2545)
เปนการใชวิธีระบบในการปรับปรุงและคิดคนพัฒนาวิธีสอนแบบใหมๆ ที่สามารถตอบสนองการเรียนรายบุคคล
การสอนแบบผูเรียนเปนศูนยกลาง การเรียนแบบมีสวนรวม การเรียนรูแบบแกปญหา
การพัฒนาวิธีสอนจำเปนตองอาศัยวิธีการและเทคโนโลยีใหมๆ เขามาจัดการและสนับสนุนการเรียนการสอน
ตัวอยางนวัตกรรมที่ใชในการเรียนการสอน ไดแก การสอนแบบศูนยการเรียน การใชกระบวนการกลุมสัมพันธ
การสอนแบบเรียนรูรวมกัน และการเรียนผานเครือขายคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต การวิจัยในชั้นเรียน ฯลฯ
3. นวัตกรรมสื่อการสอน(และเทคโนโลยีการศึกษา)
เนื่องจากมีความกาวหนาของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรเครือขายและเทคโนโลยี โทรคมนาคม
ทำใหนักการศึกษาพยายามนำศักยภาพของเทคโนโลยีเหลานี้มาใชในการผลิตสื่อการเรียนการสอนใหมๆ
จำนวนมากมาย ทั้งการเรียนดวยตนเองการเรียนเปนกลุมและการเรียนแบบมวลชน
ตลอดจนสื่อที่ใชเพื่อสนับสนุนการฝกอบรม ตัวอยาง นวัตกรรมสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา ไดแก
่ - คอมพิวเตอรชวยสอน (CAI : Computer-Assisted Instruction)
- มัลติมีเดีย (Multimedia)
- การประชุมทางไกล (Tele Conference)
- วีดีทัศนแบบมีปฎิสัมพันธ (Interactive Media/Video)
- บทเรียนสำเร็จรูป (Programed Instruction)
- เครื่องชวยสอน(Teaching Machine)
- วิทยุและโทรทัศนชวยสอน (Teaching By Radio and TV)
- ชุดการสอน (Learning Packages)
                 เนื่องจากมีความกาวหนาของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรเครือขายและเทคโนโลยี
โทรคมนาคม
ทำใหนักการศึกษาพยายามนำศักยภาพของเทคโนโลยีเหลานี้มาใชในการผลิตสื่อการเรียนการสอนใหมๆ
จำนวนมากมาย ทั้งการเรียนดวยตนเองการเรียนเปนกลุมและการเรียนแบบมวลชน
ตลอดจนสื่อที่ใชเพื่อสนับสนุนการฝกอบรม ผานเครือขายคอมพิวเตอรตัวอยาง นวัตกรรมสื่อการสอน ไดแก -
คอมพิวเตอรชวยสอน (CAI) - มัลติมีเดีย (Multimedia) - การประชุมทางไกล (Teleconference) - ชุดการสอน
(Instructional Module) - วีดีทัศนแบบมีปฏิสัมพันธ (Interactive Video)
4.นวัตกรรมทางดานการประเมินผล
4. นวัตกรรมทางดานการประเมินผล
        
เปนนวัตกรรมที่ใชเปนเครื่องมือเพื่อการวัดผลและประเมินผลไดอยางมีประสิทธิภาพและทำไดอยางรวดเร็ว
รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน ดวยการประยุกตใชโปรแกรมคอมพิวเตอรมาสนับสนุนการวัดผล
ประเมินผลของสถานศึกษา ครู อาจารย ตัวอยาง นวัตกรรมทางดานการประเมินผล ไดแก
- การพัฒนาคลังขอสอบ
- การลงทะเบียนผานทางเครือขายคอมพิวเตอร และอินเตอรเน็ต
- การใชบัตรสมารทการด เพื่อการใชบริการของสถาบันศึกษา
- การใชคอมพิวเตอรในการตัดเกรด
- การวัดผลแบบอิงกลุมและแบบอิงเกณฑ (Formative and Summative Evaluation)
- การประเมินผลเพื่อแกขอ บกพรอง (Diagnostic Evaluation)
- การเลื่อนชั้นโดยอัตโนมัติ (Automatic Promotion)
- การประเมินผลกอนเรียน (Pre-test)
นวัตกรรมทางดานการประเมินผลนับเปนเรื่องที่มีการพัฒนาอยางตอเนื่อง
แตก็มีเหมือนบางสถาบันการศึกษาเทานั้นที่สามารถใหบริการได
เนื่องจากบางสถาบันยังไมมีความพรอมดานอุปกรณ เครือขายคอมพิวเตอร และขาดบุคลากร
ที่มีความอำนวยดานการออกแบบระบบและการพัฒนาเครือขาย
ซึ่งตองอาศัยระยะเวลาอีกชวงหนึ่งที่จะพัฒนาระบบใหเหมาะสมกับการใชงานในสถาบัน
       
 เปนนวัตกรรมที่ใชเปนเครื่องมือเพื่อการวัดผลและประเมินผลไดอยางมีประสิทธิภาพและทำไดอยางรวดเร็ว
รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน ดวยการประยุกตใชโปรแกรมคอมพิวเตอรมาสนับสนุนการวัดผล
ประเมินผลของสถานศึกษา ครู อาจารย ตัวอยาง นวัตกรรมทางดานการประเมินผล ไดแก -
การพัฒนาคลังขอสอบ - การลงทะเบียนผานทางเครือขายคอมพิวเตอร และอินเตอรเน็ต -
การใชบัตรสมารทการด เพื่อการใชบริการของสถาบันศึกษา - การใชคอมพิวเตอรในการตัดเกรด - ฯลฯ
5. นวัตกรรมการบริหารจัดการ
                 เปนการใชนวัตกรรมที่เกี่ยวของกับการใชสารสนเทศมาชวยในการบริหารจัดการ เพื่อการ
ตัดสินใจของผูบริหารการศึกษาใหมีความรวดเร็วทันเหตุการณ ทันตอการเปลี่ยนแปลงของโลก
นวัตกรรมการศึกษาที่นำมาใชทางดานการบริหาร เชน
- การจัดการศึกษาแบบเปด (Open University)
- การจัดการศึกษาตามแนวมานุษยนิยม (Humanistic Education)
- การจัดตารางสอนแบบยืดหยุน (Flexible Scheduling)
- การจัดการศึกษานอกโรงเรียน (Non-Formal Education)
- การจัดโรงเรียนหมูบานเด็ก (Summer Hill School)
- การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School Within School)
- การจัดโรงเรียนแบบไมแบงชั้น (Non-Graded School)
- การเกณฑเด็กสองกลุมอายุ
และจะเกี่ยวของกับระบบการจัดการฐานขอมูลในหนวยงานสถานศึกษา เชน ฐานขอมูล นักเรียน นักศึกษา
ฐานขอมูล คณะอาจารยและบุคลากร ในสถานศึกษา ดานการเงิน บัญชี พัสดุ และครุภัณฑ
ฐานขอมูลเหลานี้ตองการออกระบบที่สมบูรณมีความปลอดภัยของขอมูลสูง
นอกจากนี้ยังมีความเกี่ยวของกับสารสนเทศภายนอกหนวยงาน เชน ระเบียบปฏิบัติ กฎหมาย พระราชบัญญัติ
ที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษา ซึ่งจะตองมีการอบรม
เก็บรักษาและออกแบบระบบการสืบคนที่ดีพอซึ่งผูบริหารสามารถสืบคนขอมูลมาใชงานไดทันทีตลอดเวลา
การใชนวัตกรรมแตละดานอาจมีการผสมผสานที่ซอนทับกันในบางเรื่อง
ซึ่งจำเปนตองมีการพัฒนารวมกันไปพรอมๆ กันหลายดาน
การพัฒนาฐานขอมูลอาจตองทำเปนกลุมเพื่อใหสามารถนำมาใชรวมกันไดอยางมีประสิทธิภาพ
                   เปนการใชนวัตกรรมที่เกี่ยวของกับการใชสารสนเทศมาชวยในการบริหารจัดการ เพื่อการ
ตัดสินใจของผูบริหารการศึกษาใหมีความรวดเร็วทันเหตุการณ ทันตอการเปลี่ยนแปลงของโลก
นวัตกรรมการศึกษาที่นำมาใชทางดานการบริหารจะเกี่ยวของกับระบบการจัดการฐานขอมูลในหนวยงานสถานศึก
ษา เชน ฐานขอมูล นักเรียน นักศึกษา ฐานขอมูล คณะอาจารยและบุคลากร ในสถานศึกษา ดานการเงิน บัญชี
พัสดุ และครุภัณฑ ฐานขอมูลเหลานี้ตองการออกระบบที่สมบูรณมีความปลอดภัยของขอมูลสูง
นอกจากนี้ยังมีความเกี่ยวของกับสารสนเทศภายนอกหนวยงาน เชน ระเบียบปฏิบัติ กฎหมาย พระราชบัญญัติ
ที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษา ซึ่งจะตองมีการอบรม
เก็บรักษาและออกแบบระบบการสืบคนที่ดีพอซึ่งผูบริหารสามารถสืบคนขอมูลมาใชงานไดทันทีตลอดเวลา
การใชนวัตกรรมแตละดานอาจมีการผสมผสานที่ซอนทับกันในบางเรื่อง
ซึ่งจำเปนตองมีการพัฒนารวมกันไปพรอมๆ กันหลายดาน
การพัฒนาฐานขอมูลอาจตองทำเปนกลุมเพื่อใหสามารถนำมาใชรวมกันไดอยางมีประสิทธิภาพ

You might also like