You are on page 1of 13

ผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ท่มี ีต่อทักษะกระบวนการ

ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
THE EFFECTS OF INQUIRY LEARNING CYCLE ON SCIENCE PROCESS SKILLS
OF MATHAYOM SUKSA 5 STUDENTS
วันทนา งาเนียม1* และ พรสิริ เอี่ยมแก้ว2
Wantana Nganiem1* and Pornsiri Eiamguaw2
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ 398 ถ.สวรรค์วถิ ี ต.ปากน�้าโพ อ.เมือง จ. นครสวรรค์ 600001, 2, 3
Nakhon Sawan Rajabhat University 398, Sawanwithi Road, Muang District, Nakhon Sawan, 600001, 2, 3
*Corresponding author E-mail: wantananganiem11@gmail.com
(Received: 20 Mar, 2021; Revised: 1 Jun, 2021, Accepted: 6 Jun, 2021)

บทคัดย่อ
การวิจยั ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ 1) เปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา
ปีที่ 5 ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 2) เปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้กับเกณฑ์ร้อยละ 75 ของคะแนนเต็ม
กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ของโรงเรียนแห่งหนึ่งในสังกัดส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 41 จ�านวน 40 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการ
จัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ เรื่อง การเคลื่อนที่และแรง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จ�านวน 6 แผน
2) แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลีย่ ร้อยละ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และ
ทดสอบสมมติฐานโดยใช้การทดสอบทีกรณีกลุ่มตัวอย่างไม่เป็นอิสระกัน (t-test for dependent samples) และทดสอบที
กรณีกลุ่มตัวอย่าง 1 กลุ่ม (t-test for One Sample)
ผลการวิจยั พบว่า นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 มีทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนด้วยการจัดการ
เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้สูงกว่าก่อนเรียน และมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 ของ
คะแนนเต็ม อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ค�าส�าคัญ: การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้, ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

1
นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์
2
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์
วารสารบัณฑิตวิจัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH
56 ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2564) Vol. 12 No. 1 (January - June 2021)

ABSTRACT
The objectives of this research were to compare the science process skills of the students before and after
learning through the inquiry learning cycle and to compare their science process skills against the 75% criterion of
the total scores. The multi-stage sampling method was applied to select 40 Mathayom Suksa 5 students as the
sample group from a school under the Secondary Educational Service Area Office 41. The research instruments
consisted of six lesson plans on Motion and Force, and a science process skill assessment. The data were statistically
analyzed for mean, percentage and standard deviation, and the t-test for dependent samples and for one sample
was utilized to test the hypotheses.
The results revealed that the students’ science process skills after leaning were higher and higher than
the 75% criterion, which was statistically significant at the .05 level.

KEYWORDS: Inquiry Learning Cycle, Science Process Skill


วารสารบัณฑิตวิจัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH
ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2564) Vol. 12 No. 1 (January - June 2021) 57

บทน�า ก�าหนดและควบคุมตัวแปร ทักษะการทดลอง และทักษะ


วิทยาศาสตร์เป็นเครือ่ งมือส�าคัญต่อการพัฒนา การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป ทักษะเหล่านีเ้ หมาะ
คุณภาพชีวติ และเป็นรากฐานทีส่ า� คัญของการพัฒนาประเทศ ส�าหรับนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย เป้าหมาย
การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จึงต้องบ่มเพาะ ของการจัดการเรียนรู้ควรเน้นการใช้ทักษะกระบวนการ
ให้ผู้เรียนเข้าใจอย่างลึกซึ้งและมองวิทยาศาสตร์เป็น ทางวิทยาศาสตร์ในการแสวงหาความรูต้ า่ ง ๆ ทีน่ อกเหนือ
วิถีชีวิต (Shortland, & Gregory, 1991 อ้างถึงใน ประสาท จากการเนือ้ หาวิชาในบทเรียนซึง่ เป็นเป้าหมายสูงสุดของ
เนืองเฉลิม, 2558) และต้องจัดการเรียนการสอนใน การเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เพราะไม่เพียงแต่ผู้เรียนจะได้
ทุกระดับชัน้ และเน้นให้นกั เรียนคิดเป็น ท�าเป็น และแก้ปญ
ั หา ฝึกการใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อสร้าง
อย่างมีระบบ สอดคล้องแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ความรู้ความเข้าใจเนื้อหาวิชาที่เรียนเท่านั้น แต่ยังได้น�า
แห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560 – 2564 มีวัตถุประสงค์ ไปใช้แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ�าวันอีกด้วย ดังนั้น
เพื่อให้คนไทยทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ ผู้สอนควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นทั้งความรู้และ
และพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต (ส�านักงาน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (สถาบันส่งเสริมการ
เลขาธิการสภาการศึกษา, 2560) การจัดเรียนการสอน สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2560ข)
วิทยาศาสตร์มุ่งเน้นให้ผู้เรียนให้มีความรู้ การคิดอย่าง จากผลการประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐาน
เป็นระบบ การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ รวมทั้ง สากล (Programme for International Student Assessment:
การประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาผ่าน PISA) ของประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2561 พบว่าผลการ
กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองโดยใช้กระบวนการทาง ประเมินการรูเ้ รือ่ งวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) นักเรียน
วิทยาศาสตร์ เพือ่ ให้ผเู้ รียนได้พฒ
ั นาทักษะด้านวิทยาศาสตร์ ที่มีช่วงอายุ 15 ปี มีคะแนนต�่ากว่าค่าเฉลี่ยที่องค์การเพื่อ
และเทคโนโลยีอย่างเต็มศักยภาพและเป็นไปตามธรรมชาติ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization
(กระทรวงศึกษาธิการ, 2560) for Economic Co-operation and Development) ก�าหนด
หลักสูตรกลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ฉบับ จึงต้องมีการพัฒนาการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์อย่างเร่งด่วน
พ.ศ. 2551 และฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560 มุ่งหวังให้ผ้เู รียน (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2564)
ได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วยการเชื่อมโยงความรู้กับทักษะ โดยข้อสอบวิทยาศาสตร์ใน PISA ปี พ.ศ. 2561 ได้กา� หนด
กระบวนการในการค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรูผ้ า่ น กรอบโครงสร้างการประเมินสมรรถนะทีเ่ น้นการใช้ทกั ษะ
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และแก้ปัญหา ให้ผู้เรียน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้
มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติ การแก้ปัญหาปรากฎการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นซึ่ง
จริงและเหมาะสมกับระดับชั้น (กระทรวงศึกษาธิการ, อธิบายและตรวจสอบด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2560) การพัฒนาผู้เรียนให้มที ักษะและกระบวนการทาง ประกอบด้วย การประเมินและออกแบบกระบวนการ
วิทยาศาสตร์ต้องใช้เวลาบ่มเพาะเพื่อสร้างความช�านาญ สืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ การแปลความ
ในการศึกษาหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนมี หมายข้อมูลและการใช้ประจักษ์พยานเชิงวิทยาศาสตร์
ความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ คิดเป็น ท�าเป็นและแก้ปญ ั หาใน คิดเป็นร้อยละ 51.63 ของข้อสอบทั้งหมด การอธิบาย
ชีวติ ประจ�าวันได้ (ประสาท เนืองเฉลิม, 2558) การจัดการ ปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์คิดเป็นร้อยละ 48.37
เรียนรู้วิทยาศาสตร์จึงควรพัฒนาทั้งความรู้และปลูกฝัง ของข้อสอบทัง้ หมด ดังนัน้ สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์จงึ มี
กระบวนการแสวงหาความรูท้ างวิทยาศาสตร์ให้กบั ผูเ้ รียน ความส�าคัญอย่างมาก เพราะเป็นการแสดงความสามารถ
ไปพร้อมกัน โดยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนในการอธิบายปรากฏการณ์เชิงวิทยาศาสตร์
ทีเ่ ป็นทักษะซับซ้อนมี 5 ทักษะ ประกอบด้วย ทักษะการตัง้ (Explain Phenomena Scientifically) การประเมินและ
สมมติฐาน ทักษะการก�าหนดนิยามเชิงปฏิบตั กิ าร ทักษะการ ออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
วารสารบัณฑิตวิจัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH
58 ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2564) Vol. 12 No. 1 (January - June 2021)

(Evaluate and Design Scientific Enquiry) และการแปลความ (Exploration Phase) 4) ขั้นอธิบาย (Explanation Phase)
หมายข้อมูลและการใช้ประจักษ์พยานในเชิงวิทยาศาสตร์ 5) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration Phase) 6) ขั้นประเมิน
(Interpret Data and Evidence Scientifically) เพือ่ ตอบสนอง ผล (Evaluation Phase) 7) ขั้นน�าความรู้ไปใช้ (Extension
และแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างสมเหตุสมผลในการเผชิญ Phase) (ประสาท เนืองเฉลิม, 2558) ทั้ง 7 ขั้น เป็นวิธี
สถานการณ์ที่หลากหลายในชีวิตจริง (สถาบันส่งเสริม การที่ช่วยให้ผู้สอนวางแผนจัดกิจกรรมให้เกิดการเรียนรู้
การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2560ก) จากข้อมูล แบบสืบ เสาะหาความรู ้ ไ ด้ ง ่ า ยเพราะมีก ารก� า หนด
การจัดการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา ขั้นตอนการสอนที่เน้นลักษณะส�าคัญของการสืบเสาะ
ปีที่ 5 ในส�านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 41 ทางวิทยาศาสตร์ไว้แล้ว (สุทธิดา จ�ารัส, 2558) และ
พบว่า การจัดการเรียนรูไ้ ม่สอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะ
ของผู้เรียน เป็นการถ่ายทอดความรู้และเนือ้ หาอย่างเดียว กระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยใช้การเรียนรู้แบบ
ใช้การบรรยายมากกว่าการลงมือปฏิบัติจริง ส่งผลให้ สืบเสาะหาความรู้ (7E) พบว่า การจัดการเรียนรู้แบบ
ผู้เรียนขาดความกระตือรือร้นในการเรียน มองไม่เห็น สืบเสาะหาความรู้ (7E) สามารถพัฒนาทักษะกระบวนการ
ความสัมพันธ์ของเนื้อหากับชีวิตประจ�าวัน การพัฒนา ทางวิทยาศาสตร์ของผู้เรียนได้ (นภารัตน์ ศรีค�าเวียง,
ทักษะการคิดและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2558; ปริศนา อิ่มพรหม, 2562)
ไม่เป็นไปตามเป้าหมายของการจัดการ (กลุ่มนิเทศ จากปั ญ หาและความส� า คั ญ ดั ง ที่ ก ล่ า วมา
ติดตามและประเมินผล, 2562) สอดคล้องกับส�านักงาน ข้างต้น จึงเห็นควรที่จะมีการพัฒนาทักษะกระบวนการ
เลขาธิการสภาการศึกษา (2560) ได้กล่าวไว้ว่าปัญหา ทางวิทยาศาสตร์ของผู้เรียนโดยน�าการจัดการเรียนรู้แบบ
เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ คือ สืบเสาะหาความรู้ (7E) มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนรู้แบบบรรยายไม่เน้นการฝึกปฏิบัติ วิชาวิทยาศาสตร์ เพื่อมุ่งพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการจดบันทึกและท่องจ�าซึง่ ส่งผลต่อ วิทยาศาสตร์ให้กับผู้เรียน และจะเป็นประโยชน์ต่อผู้สอน
การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของผูเ้ รียน ส�าหรับน�าไปใช้พัฒนาการจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระ
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้เป็นการจัดการ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้เป็นไปอย่างมี
เรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ประสิทธิภาพ
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อมีการคิดอย่าง
เป็นระบบ มีเหตุผล และสามารถประเมินความเข้าใจของ วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ตนได้ (กุลิสรา จิตรชญาวณิช, 2562) ซึ่งไอเซนคราฟ 1. เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทาง
ได้เสนอรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและ
เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจรวมทั้งสนุกกับการเรียน หลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
มุ่งเน้นการถ่ายโอนการเรียนรู้และให้ความส�าคัญเกีย่ วกับ 2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทาง
การตรวจสอบความรู้เดิมของผู้เรียนและการประยุกต์ วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้
สิ่งที่ได้เรียนรู้ไปสู่การสร้างประสบการณ์ของตนเอง รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้กับเกณฑ์
(Eisenkraft, 2003 อ้างถึงใน ประสาท เนืองเฉลิม, 2558) ร้อยละ 75 ของคะแนนเต็ม
โดยใช้ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
สมมุติฐานการวิจัย
ซึง่ เป็นรากฐานทีส่ า� คัญของทฤษฎีคอนสตรัคติวสิ ต์ (Piaget,
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการ
1983 อ้างถึงใน ทิศนา แขมมณี, 2562) ประกอบด้วย 7 ขัน้
จัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ มีทกั ษะกระบวนการ
คือ 1) ขั้นตรวจสอบความรู้เดิม (Elicitation Phase) 2) ขั้น
วิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
เร้าความสนใจ (Engagement Phase) 3) ขั้นส�ารวจค้นหา
วารสารบัณฑิตวิจัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH
ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2564) Vol. 12 No. 1 (January - June 2021) 59

2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการ คะแนนเต็ม ผู้วิจัยก�าหนดกรอบแนวคิดในการวิจัยไว้


จัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ มีทกั ษะกระบวนการ ดังภาพที่ 1
วิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 ของ

การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
(Eisenkraft, 2003 อ้างถึงใน ประสาท เนืองเฉลิม, ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5
2558) 1. ทักษะการตัง้ สมมติฐาน
ประกอบด้วย 7 ขัน้ ได้แก่ 2. ทักษะการก�าหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ
1. ขั้นตรวจสอบความรู้เดิม 3. ทักษะการก�าหนดและควบคุมตัวแปร
2. ขั้นเร้าความสนใจ 4. ทักษะการทดลอง
3. ขั้นส�ารวจค้นหา 5. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
4. ขั้นอธิบาย
5. ขั้นขยายความรู้
6. ขั้นประเมินผล
7. ขั้นน�าความรู้ไปใช้

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

วิธีด�าเนินการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
การวิจัยครัง้ นี้ เป็นการวิจัยเชิงทดลองเบื้องต้น 1. แผนการจัดการเรียนรูแ้ บบสืบเสาะหาความรู้
(Pre-experiment Design) แบบกลุ่มทดลองกลุ่มเดียว โดย รายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง การเคลื่อนที่และแรง
ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ประชากร การสร้างและหาคุณภาพของเครื่องมือ
นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 ของโรงเรียนแห่ง 1. แผนการจัดการเรียนรูแ้ บบสืบเสาะหาความรู้
หนึ่งในส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 41 รายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง การเคลื่อนที่และแรง ของ
(ก�าแพงเพชร – พิจิตร) ที่ศึกษาภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 มีขั้นตอนดังนี้
2563 จ�านวน 8 โรงเรียน มีจ�านวนนักเรียน 599 คน 1.1 ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และแนวทาง
กลุ่มตัวอย่าง การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ และเทคนิคการ
นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 ของโรงเรียนแห่ง เขียนแผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้จาก
หนึง่ ในส�านักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาเขต 41ภาค เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จ�านวน 40 คน ได้มาจาก 1.2 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขัน้ ตอน (Multistage Random พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช
Sampling) โดยใช้โรงเรียนเป็นหน่วยในการสุ่มด้วยวิธีจับ 2560) มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชีว้ ัด และสาระการเรียนรู้
ฉลาก ได้โรงเรียนกลุม่ ตัวอย่าง 1 โรงเรียน แล้วใช้หอ้ งเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 เรือ่ ง การเคลือ่ นที่
เป็นหน่วยในการสุ่มด้วยวิธกี ารจับฉลาก ได้นกั เรียนทีเ่ ป็น และแรง
กลุ่มตัวย่าง จ�านวน 40 คน
วารสารบัณฑิตวิจัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH
60 ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2564) Vol. 12 No. 1 (January - June 2021)

1.3 สร้างแผนการจัดการเรียนรู้และออกแบบ 3 ท่าน ประเมินความเหมาะสมแผนการจัดการเรียนรู้


กิจกรรม เรื่อง การเคลื่อนที่และแรง โดยใช้การจัดการ โดยก�าหนดเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนนเป็น 5 ระดับ
เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 6 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง (บุญชม ศรีสะอาด, 2560) พบว่า แผนการจัดการเรียนรู้
รวม 12 ชั่วโมง แล้วเสนออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ทีส่ ร้างขึน้ มีความเหมาะสมมากทีส่ ดุ ( =4.89, S.D.=0.17)
เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง 1.5 น�าแผนการจัดการเรียนรู้ฯ ที่ผ่านการ
1.4 น�าแผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ ประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญไปปรับปรุงแก้ไขตามค�าแนะน�า
หาความรู้ เรื่อง การเคลื่อนที่และแรง เสนอผู้เชี่ยวชาญ แล้วน�าไปเก็บข้อมูลต่อไป แสดงตัวอย่างดังตารางที่ 1
ด้านหลักสูตรและการสอน ด้านเนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร์

ตารางที่ 1 ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ต�าแหน่ง ระยะทางและการกระจัด จ�านวน 2 ชั่วโมง
สาระส�าคัญ การเคลื่อนที่ของวัตถุ ระยะทาง (Distance) เป็นการอธิบายการเปลี่ยนต�าแหน่งด้วยความยาวตามเส้นทางที่วัตถุเคลื่อนที่
เป็นปริมาณสเกลาร์ท่มี ีแต่ขนาดไม่มที ิศทาง การกระจัด (Displacement ) เป็นการอธิบายการเปลี่ยนต�าแหน่งจากต�าแหน่งเริ่มต้นหรือ
จุดอ้างอิงไปยังต�าแหน่งสุดท้ายเป็นปริมาณเวกเตอร์ที่ต้องบอกทัง้ ขนาดและทิศทาง
ทักษะกระบวนการ
ขั้นตอนการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนการสอน
ทางวิทยาศาสตร์
ขั้นที่ 1 ครูสนทนากับนักเรียนเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุต่าง ๆ ที่พบในชีวิตประจ�าวันมีอะไร -
ขัน้ ตรวจสอบความรูเ้ ดิม บ้าง และมีปริมาณใดเข้ามาเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของวัตถุบ้าง
ขั้นที่ 2 1. ครูนา� คลิปวีดโี อการเคลือ่ นทีข่ องเราให้นกั เรียนดู แล้วตัง้ ค�าถามเพือ่ น�าเข้าสู่กจิ กรรม -
ขั้นเร้าความสนใจ 2. ครูตั้งค�าถามให้นักเรียนตอบ ดังนี้
2.1 รถ A และ B มีต�าแหน่งเริ่มต้นจากวีดีโอที่ดู และเมื่อเวลาผ่านไป 10 นาที รถ A
และ B มีตา� แหน่งเปลีย่ นแปลงไป จะสามารถบอกได้หรือไม่วา่ รถใดมีการเคลือ่ นที่
เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนัน้
2.2 นักเรียนอธิบายการเคลื่อนทีแ่ ละเปลี่ยนต�าแหน่งของวัตถุโดยเปรียบเทียบระยะ
ห่างจากจุดอ้างอิงได้อย่างไร มีปริมาณอะไรบ้างที่เกี่ยวข้อง
ขั้นที่ 3 1. นักเรียนร่วมกันอภิปรายต�าแหน่ง ระยะทาง และการกระจัด เหมือนหรือต่างกัน 1. ทั ก ษะการตั้ ง
ขั้นส�ารวจค้นหา 2. นักเรียนศึกษาใบกิจกรรมที่ 1.1 ระยะทางและการกระจัด สมมติฐาน
3. ครูใช้ค�าถามกระตุ้นความคิดเพื่อความเข้าใจด้านตัวแปร 2. ทักษะการก�าหนด
3.1 การทดลองนีม้ อี ะไรเกีย่ วข้องบ้าง (สิง่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการทดลองนีเ้ รียกว่าตัวแปร และควบคุมตัวแปร
เช่น เส้นทางการเดินของมด ขนาดของกระดาษ จ�านวนมด 3. ทักษะการก�าหนด
3.2 การทดลองนี้เราต้องจัดอะไรให้ต่างกัน (สิ่งที่จัดให้ต่างกันเรียกว่าตัวแปรต้น: นิยามเชิงปฏิบัตกิ าร
เส้นทางการเดินของมด) 4. ทักษะการทดลอง
3.3 สิ่งที่นักเรียนติดตามดูคืออะไร (ตัวแปรตาม: ระยะทาง และการกระจัด)
3.4 การทดลองนี้ต้องการศึกษาการเคลื่อนที่ของมดต้องควบคุมอะไรเพื่อให้ได้ผล
ตามที่เราต้องการ (ตัวแปรควบคุม:จ�านวนมดที่ใช้ในการทดลอง 1 ตัว และมี
ขนาดใกล้เคียงกัน)
วารสารบัณฑิตวิจัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH
ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2564) Vol. 12 No. 1 (January - June 2021) 61

ตารางที่ 1 (ต่อ)
ทักษะกระบวนการ
ขั้นตอนการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนการสอน
ทางวิทยาศาสตร์
4. ครูใช้ค�าถามกระตุ้นความคิด เพื่อความเข้าใจเกี่ยวกับการตัง้ สมมติฐาน -
นักเรียนคิดว่ามดแต่ละตัวมีเส้นทางเดินเหมือนกันหรือไม่ และมีลกั ษณะเป็นอย่างไร
(ค�าตอบอาจมาจากการคาดเดา การคาดคะเนด้วยความมีเหตุผล ค�าตอบที่ได้ว่า
สมมติฐาน)
5. ครูใช้ค�าถามกระตุ้นความคิด เพื่อความเข้าใจเกี่ยวกับนิยามเชิงปฏิบัติการ
จากการศึกษาเรื่องตัวแปร ถ้าให้ความหมายของตัวแปร คือ การนิยามตัวแปร
ยกตัวอย่าง เช่น มดตัวที่หนึ่งเคลื่อนที่ได้เร็วกว่ามดตัวที่สอง โดยดูจากเวลาและ
ความเร็วทีม่ ดทัง้ สองตัวเคลือ่ นที่ (ค�านิยามใดทีใ่ ห้แล้วมีความเข้าใจตรงกัน สามารถ
สังเกต วัดและตรวจสอบได้ง่าย เรียกว่า การนิยามเชิงปฏิบัตกิ าร)
6. ครูถามนักเรียนก่อนเริ่มการทดลอง ดังนี้
6.1 ปัญหาการทดลองนี้คืออะไร และจะตัง้ สมมติฐานการทดลองว่าอย่างไร
6.2 ตัวแปรในการทดลองนี้มีอะไรบ้าง
6.3 นักเรียนจะให้ความหมายของตัวแปรที่ก�าหนดขึ้นว่าอย่างไรบ้าง และมีวิธีการ
วัดตัวแปรนัน้ อย่างไร
ขั้นที่ 4 1. สุม่ นักเรียนให้ออกมามาน�าเสนอข้อมูลจากการปฏิบตั กิ จิ กรรมการทดลองหน้าชัน้ เรียน ทั ก ษะการตี ค วาม
ขั้นอธิบาย 2. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและหาข้อสรุปจากการทดลอง หมายข้อมูลและลง
3. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรมเรื่องระยะทางและการกระจัด ข้อมูลสรุป
โดยครูตงั้ ค�าถามเพือ่ เชือ่ มโยงความรูเ้ ดิมของนักเรียนกับผลการทดลองว่าจากลักษณะ
เส้นทางการเคลือ่ นทีข่ องมด สามารถอธิบายปริมาณใดทีเ่ กีย่ วกับการเคลือ่ นทีไ่ ด้บา้ ง
ขั้นที่ 5 1. นักเรียนค้นคว้ารายละเอียดเพิม่ เติมเกีย่ วกับต�าแหน่ง ระยะทาง และการกระจัด จาก ทั ก ษะการตี ค วาม
ขั้นขยายความรู้ แหล่งความรู้ต่าง ๆ แล้วน�าข้อมูลทีไ่ ด้มาอภิปรายร่วมกันในชัน้ เรียน โดยครูตงั้ ค�าถาม หมายข้อมูลและลง
น�าให้นักเรียนตอบประกอบการค้นคว้า ข้อมูลสรุป
1.1 ระยะทางเป็นอธิบายการเปลี่ยนต�าแหน่งว่าอย่างไร(การเปลี่ยนต�าแหน่งด้วย
ความยาวตามเส้นทางที่วัตถุเคลื่อนที่)
1.2 การกระจัดอธิบายการเปลี่ยนต�าแหน่งว่าอย่างไร (การเปลี่ยนต�าแหน่งจาก
ต�าแหน่งเริ่มต้นหรือจุดอ้างอิงไปยังต�าแหน่งสุดท้าย)
ขั้นที่ 6 1. นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่าจากหัวข้อที่เรียนและการปฏิบัตกิ จิ กรรม มีประเด็นใด ทั ก ษะการตี ค วาม
ขั้นประเมินผล ที่ยังไม่เข้าใจหรือสงสัย ถ้ามีครูอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ หมายข้อมูลและลง
2. ครูให้นักเรียนท�าใบงาน เรื่อง ระยะทางและการกระจัดจากนัน้ ครูและนักเรียนร่วม ข้อมูลสรุป
กันตรวจและแก้ไขข้อผิดพลาด
ขั้นที่ 7 1. ครูให้นักเรียนยกตัวอย่าง การบอกต�าแหน่ง ระยะทาง และ การกระจัด ที่พบในชีวิต ทั ก ษะการตี ค วาม
ขั้นน�าความรู้ไปใช้ ประจ�าวัน แล้วร่วมกันอภิปรายว่า และน�าเสนอผลการอภิปรายหน้าชั้นเรียน หมายข้อมูลและลง
2. แบ่งนักเรียนเป็นกลุม่ แต่ละกลุม่ ไปส�ารวจว่าในชีวติ ประจ�าวัน มีการบอกต�าแหน่ง ระยะ ทาง ข้อมูลสรุป
และการกระจัดไปใช้ประโยชน์อะไรบ้าง น�าข้อมูลที่ได้มาจัดท�าเป็นสื่อรูปแบบต่าง ๆ
วารสารบัณฑิตวิจัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH
62 ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2564) Vol. 12 No. 1 (January - June 2021)

2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2.4 สร้างเกณฑ์การให้คะแนนโดยประยุกต์


สร้างขึ้นตามแนวสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี, 2560ก) เป็นแบบเขียนตอบ มีขนั้ ตอนดังนี้ และเทคโนโลยี, 2560ก) แบบรูบริคสกอร์ ก�าหนดเกณฑ์
2.1 ศึ ก ษาหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารสร้ า ง การให้คะแนน 3 ระดับ
แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์จาก 2.5 น�าแบบประเมินและเกณฑ์การประเมิน
เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นแนวทาง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่สร้างขึ้นเสนอ
การสร้างแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอน ด้านเนื้อหา
2.2 ก�าหนดสถานการณ์ของแบบประเมิน วิชาวิทยาศาสตร์ 3 ท่าน ตรวจสอบความตรงเชิง
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ให้สอดคล้องกับ โครงสร้างขององค์ประกอบสถานการณ์กับการประเมิน
ความสามารถทักษะต่าง ๆ จ�านวน 3 สถานการณ์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แล้วน�ามาหา
ได้แก่ สถานการณ์ท่ี 1 ถ้าต้องการปาลูกดอกให้ตรงเป้า ค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item-Objective
ทีอ่ ยู่สงู จากพืน้ เป็นระยะทาง 1.5 เมตร จะต้องปาลูกดอก Congruence: IOC) (อนุวัติ คูณแก้ว, 2560) ได้ค่า IOC
ให้ท�ามุมกี่องศากับพื้น สถานการณ์ที่ 2 เมื่อน�าแก้ว ทั้งฉบับเท่ากับ 0.97
ที่บรรจุน�้าไปวางไว้บนแป้นไม้แล้วเหวี่ยงแป้นไม้ให้ 2.6 น� า แบบประเมิน ทั ก ษะกระบวนการ
เคลื่อนที่จะมีวิธีการเหวี่ยงอย่างไรที่ท�าให้นา�้ อยู่ในแก้ว ทางวิทยาศาสตร์ที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วไปทดลองใช้กับ
แล้วไม่หก และสถานการณ์ที่ 3 ลูกบอลจะกระเด้ง นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนแห่งหนึ่ง จ�านวน
ด้วยความสูงที่เพิ่มขึ้นหรือไม่ ถ้านัปล่อยลูกบอลจาก 36 คน ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง โดยมีผู้ช่วยวิจัย 1 คน แล้ว
ระดับความสูงที่เพิ่มขึ้น น�ามาหาค่าความเชื่อมั่นแบบหลายพฤติกรรม หลาย
2.3 สร้างแบบประเมินทักษะกระบวนการ ตัวอย่าง 2 ผู้ประเมิน เป็นการหาดัชนีความเห็นพ้องกัน
ทางวิทยาศาสตร์ 5 ทักษะ ได้แก่ 1) ทักษะการตั้ง ระหว่างผู้ประเมิน 2 คน ที่สังเกตหรือประเมินพฤติกรรม
สมมติฐาน 2) ทักษะการก�าหนดและควบคุมตัวแปร ของกลุ่มตัวอย่างหลายคน (Burry-Stock, Shaw, Laurie
3) ทักษะการก�าหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ 4) ทักษะการ and Chissom, 1996) มีค่าเท่ากับ 0.88 ซึ่งมีค่าเข้าใกล้
ทดลอง และ 5) ทักษะการตีความหมายและลงข้อมูล 1 แสดงว่าแบบประเมินกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
สรุป มีลักษณะเป็นแบบเขียนตอบสถานการณ์ละ 7 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นสูง
ประกอบด้วยข้อที่ 1 การตัง้ สมมติฐาน ข้อที่ 2 การก�าหนด 2. น�าแบบประเมินและเกณฑ์การประเมินทักษะ
และควบคุมตัวแปร ข้อที่ 3การก�าหนดนิยามเชิงปฏิบตั กิ าร กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ผ่านการหาคุณภาพ
ข้อที่ 4 การวางแผนการทดลองและเลือก วัสดุ อุปกรณ์ ไปใช้เก็บข้อมูลต่อไปดังตารางที่ 2
ข้อที่ 5 การปฏิบัติการทดลอง ข้อที่ 6 การบันทึกผล
การทดลอง และข้อที่ 7 การตีความหมายและลงข้อมูลสรุป
วารสารบัณฑิตวิจัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH
ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2564) Vol. 12 No. 1 (January - June 2021) 63

ตารางที่ 2 เกณฑ์การให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการ เกณฑ์การให้คะแนน
ทางวิทยาศาสตร์ 3 2 1
1. ทักษะการตัง้ สามารถคิดหาค�าตอบล่วงหน้าก่อน สามารถคิดหาค�าตอบล่วงหน้า ไม่สามารถคิดหาค�าตอบล่วงหน้า
สมมติฐาน การทดลอง โดยใช้การสังเกต ความรู้ ก่อนการทดลอง โดยใช้การสังเกต ก่อนการทดลอง โดยใช้การสังเกต
ประสบการณ์เดิม และเขียนข้อความ ความรู้ ประสบการณ์เดิม และเขียน ความรู้ ประสบการณ์เดิม และเขียน
ทีบ่ อกความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ข้อความทีบ่ อกตัวแปรต้นหรือตัวแปร ข้อความทีบ่ อก ความสัมพันธ์ระหว่าง
ต้นกับตัวแปรตาม ได้สมเหตุสมผล ตามอย่างใดอย่างหนึ่งได้ถูกต้อง ตัวแปรต้นกับตัวแปรตามไม่ได้
2. ทักษะการก�าหนดและ ก�าหนดตัวแปรต้น ตัวแปรตามและ ก�าหนดตัวแปรถูกต้อง 1 ตัวแปร ขึน้ ไป ก�าหนดตัวแปรไม่ถูกต้อง
ควบคุมตัวแปร ตัวแปรควบคุมได้ถูกต้อง
3. ทักษะการก�าหนดนิยาม เขียนความหมายและขอบเขตตัวแปร เขียนความหมายและขอบเขตตัวแปร เขียนความหมายของตัวแปรที่ไม่
เชิงปฏิบัติการ ทีเ่ กีย่ วข้องกับสถานการณ์ทกี่ า� หนด ทีเ่ กีย่ วข้องกับสถานการณ์ทกี่ า� หนด เกีย่ วข้องกับสถานการณ์ทกี่ า� หนดให้
ให้เข้าใจตรงกัน สามารถ สังเกต แต่ให้ความหมายตัวแปรบางตัวทีไ่ ม่
และวัดได้ สามารถสังเกตและวัดได้
4. ทักษะการทดลอง เขียนระบุรายการ สารเคมี วัสดุ เขียนระบุรายการ สารเคมี วัสดุ เขียนระบุรายการ สารเคมี วัสดุ
4.1 การวางแผนการ อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลองได้ครบ อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลองไม่ครบ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการทดลองไม่ครบ
ทดลอง และเลือก วัสดุ ทุกรายการ ขาด 1-2 รายการ ขาดมากกว่า 3 รายการ
อุปกรณ์
4.2 การปฏิบัติ การ 1. ท�าการทดลองตามขั้นตอนที่ 1. ท�าการทดลองตามขั้นตอนที่ 1. ท�าการทดลองตามขั้นตอนที่
ทดลอง ก�าหนดไว้ทุกขัน้ ตอน ก�าหนดไว้ทุกขัน้ ตอน ก�าหนดไว้ทุกขัน้ ตอน
2. ใช้เครือ่ งมือ วัสดุ อุปกรณ์ถกู วิธี 2. ใช้เครือ่ งมือ วัสดุ อุปกรณ์ถกู วิธี 2. ใช้เครือ่ งมือ วัสดุ อุปกรณ์ ถูกวิธี
3. ท�าการทดลองทันเวลาปฏิบัติ 3. ท�าการทดลองทันเวลา ปฏิบัติ 3. ท�าการทดลองทันเวลาปฏิบตั ไิ ด้
ได้ทั้ง 3 ข้อ ได้ 2 ข้อจาก 3 ข้อ 1 ข้อจาก 3 ข้อ
4.3 บันทึกผลการทดลอง บันทึกข้อมูลครบถ้วนและถูกต้อง บันทึกข้อมูลครบถ้วน แต่ไม่ถกู ต้อง บันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน และไม่
ถูกต้อง
5. ทักษะการตีความหมาย เขียนบอกความหมายข้อมูลที่จัด เขียนบอกความหมายข้อมูลที่จัด เขียนบอกความหมายข้อมูลที่จัด
ข้อมูลและลงข้อมูลสรุป กระท�าและสรุปผลการทดลองได้ถกู กระท�าและสรุปผลการทดลองได้ กระท�าและสรุปผลการทดลอง
ต้อง และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ แต่ไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ไม่ถูกต้อง และไม่สอดคล้องกับ
การทดลอง การทดลอง วัตถุประสงค์การทดลอง

การวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัย
วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ตอนที่ 1 การเปรียบเทียบทักษะกระบวนการ
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานทดสอบความแตกต่างโดยใช้ ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
t-test for Dependent Samples และ t-test for One Sample ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหา
ความรู้ ปรากฏผลดังตารางที่ 3
วารสารบัณฑิตวิจัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH
64 ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2564) Vol. 12 No. 1 (January - June 2021)

ตารางที่ 3 การเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ก่อนและหลังการ


จัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
การทดสอบ n S.D. df t P-value
ก่อนเรียน 40 29.08 7.32
39 -15.38* .00
หลังเรียน 40 50.35 3.83
*p≤.05
จากตารางที่ 3 พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา เมือ่ เปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ
มีค่าเฉลี่ยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ก่อนเรียน สืบเสาะหาความรู้ พบว่า นักเรียนมีทกั ษะกระบวนการทาง
เท่ากับ 29.08 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 7.32 และ วิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�าคัญ
หลังเรียนเท่ากับ 50.35 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.83 ทางสถิติที่ระดับ .05 เป็นไปตามสมมติฐานการวิจัย ข้อ 1

ตารางที่ 4 การเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ที่ได้รับการจัดการ


เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้กับเกณฑ์ร้อยละ 75 ของคะแนนเต็ม
เกณฑ์ท่กี �าหนด คะแนนที่ท�าได้
การทดสอบ n S.D. df t P-value
คะแนนเต็ม ร้อยละ 75 คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ
หลังเรียน 40 63 48 50.35 79.92 3.83 39 3.88* .00
*p≤.05
จากตารางที่ 4 พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา การอภิปรายผลการวิจัย
ปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 1. นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 5 ที่ ไ ด้ รั บ
มีคะแนนเฉลี่ยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ มีทักษะ
หลังเรียนเท่ากับ 50.35 คะแนน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
เท่ากับ 3.83 อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ทั้งนี้อาจเป็น
เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 75 ของ เพราะว่าแผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
คะแนนเต็ม พบว่า นักเรียนมีทักษะกระบวนการทาง 7 ขั้ น ตอนที่ ส ร้ า งขึ้ น เน้ น ให้ ผู ้ เ รี ย นได้ เ รี ย นรู ้ จ าก
วิทยาศาสตร์สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 ของคะแนนเต็ม การปฏิ บั ติ จ ริ ง โดยใช้ สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในชี วิ ต ประจ� า วั น
อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตาม เชื่อมโยงกับความรู้เดิมที่มีอยู่เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียน
สมมติฐานการวิจัยข้อ 2 มีความสนใจ เกิดความสงสัย น�าไปสู่การตั้งค�าถาม
และหาค�าตอบด้วยการกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
สรุปผลการวิจัย โดยเริ่มต้นจากการตั้งสมมติฐาน ก�าหนดตัวแปรที่
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัด เกี่ยวข้อง นิยามเชิงปฏิบัติการ ปฏิบัติการทดลอง
การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ มีทักษะกระบวนการ จากสถานการณ์ที่ก�าหนดโดยสืบเสาะหาความรู้และ
ทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และสูงกว่า หาค�าตอบ แล้วร่วมกันอภิปรายและหาข้อสรุปจากการ
เกณฑ์ร้อยละ 75 ของคะแนนเต็ม อย่างมีนัยส�าคัญทาง ทดลอง นอกจากนี้ยังเปิดโอกาสให้ค้นคว้าหาข้อมูล
สถิติที่ระดับ .05
วารสารบัณฑิตวิจัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH
ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2564) Vol. 12 No. 1 (January - June 2021) 65

เพิ่มเติมจากแหล่งความรู้แล้วน�าข้อมูลที่ได้มาอภิปราย อย่างมีนยั ส�าคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 ทัง้ นีอ้ าจเป็นเพราะว่า


ร่วมกันในชั้นเรียนเพื่อเชื่อมโยงความรู้เดิมกับสิ่งที่ได้ เพราะการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ทั้ง 7 ขั้นตอน
เรียนรู้ใหม่ รวมทั้งใช้การประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งขั้นส�ารวจค้นหาที่ผู้สอนจัดกิจกรรม
ในแต่ละขั้นตอนเพื่อให้ผู้เรียนน�าข้อผิดพลาดมาปรับ ใช้คา� ถามกระตุน้ ให้ผเู้ รียนมีความกระตือรือร้นทีจ่ ะแสวงหา
ประยุกต์ใช้กับความรู้ของตนเองและน�าความรู้ที่ค้นพบ ความรูด้ ว้ ยตนเองผ่านการปฏิบตั จิ ากสถานการณ์ทกี่ า� หนด
ไปแก้ ไ ขปั ญ หาในสถานการณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น อย่ า งเป็ น มีการวางแผน ก�าหนดแนวทางการตรวจสอบ ตัง้ สมมติฐาน
ขั้นตอน ซึ่งกิจกรรมที่จัดขึ้นส่งผลให้เกิดการพัฒนา การทดลองเพื่อเก็บข้อมูล ศึกษาข้อมูลจากแหล่งข้อมูล
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทงั้ 5 ทักษะ ประกอบ ต่าง ๆ เป็นขั้นตอนส�าคัญที่สามารถช่วยส่งเสริมทักษะ
ด้วย 1) ทักษะการตั้งสมมติฐาน 2)ทักษะการก�าหนดและ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ซงึ่ ประกอบด้วยทักษะการตัง้
ควบคุมตัวแปร 3) ทักษะการก�าหนดนิยามเชิงปฏิบัตกิ าร สมมติฐาน ทักษะการก�าหนดและควบคุมตัวแปร ทักษะการ
4) ทักษะการทดลอง และ 5)ทักษะการตีความหมายและ ก�าหนดนิยามเชิงปฏิบตั กิ าร และทักษะการทดลอง นอกจากนี้
ลงข้อมูล ตลอดจนสามารถกระตุ้นและเสริมสร้างให้ ได้ส่งเสริมให้นกั เรียนอธิบายผลการตรวจสอบด้วยค�าพูด
ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในองค์ความรู้อย่างชัดเจนและ ของนักเรียนเอง ส่งเสริมให้ผเู้ รียนสรุปองค์ความรูท้ ไี่ ด้อย่าง
ลุม่ ลึก สอดคล้องกับกุลสิ รา จิตรชญาวณิช (2562) ทีก่ ล่าว ถูกต้อง สมเหตุสมผล และน�าความรู้ที่ค้นพบเชื่อมโยง
ไว้ว่า การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้เป็น กับความรู้เดิม ท�าให้เกิดความรู้ใหม่น�าไปประยุกต์ใช้
การเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนค้นคว้าหาความรู้ใหม่ด้วยตนเอง ในชีวิตประจ�าวัน รวมทั้งฝึกให้ผู้เรียนน�าเสนอในรูปแบบ
ผ่านกระบวนการคิดโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ที่หลากหลายและประเมินขั้นตอนการท�างานด้วยตนเอง
เป็นเครือ่ งมือ ส่งผลให้ผ้เู รียนได้ฝกึ ความคิด เรียนรู้วธิ กี าร สอดคล้องกับทิศนา แขมมณี (2562) ได้กล่าวไว้ว่า
จัดระบบความคิดและวิธสี บื เสาะแสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเอง การเปิดโอกาสให้ผ้เู รียนค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองจาก
ท�าให้ความรู้คงทน สอดคล้องกับนภารัตน์ ศรีค�าเวียง การลงมือปฏิบัติจริงและสามารถน�ามาประยุกต์ใช้ใน
(2558) ที่ศึกษาพบว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ ชีวิตประจ�าวันได้ จะท�าให้เกิดการรับรู้ความรู้อย่างมี
แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7E) มีทักษะกระบวนการ ความหมายและบันทึกข้อมูลไว้ในความจ�าได้อย่างยาวนาน
ทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน (ปริศนา ซึง่ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นพฤติกรรมทีเ่ กิด
อิ่มพรหม, 2562; ชินตา สุภาชาติ, 2558) เช่นเดียวกับ จากการปฏิบตั แิ ละฝึกฝนความคิดอย่างมีระบบ ฝึกทักษะ
เอกพจน์ เศษฤทธิ์ (2562) ที่ศึกษาพบว่านักเรียนที่เรียน การแก้ปญ ั หา การค้นคว้า และการแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ
ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ให้กับผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ (สถาบันส่งเสริม
ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ มีทักษะกระบวนการทาง การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2560ข) สอดคล้อง
วิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน เช่นเดียวกับ กับปริศนา อิม่ พรหม (2562) ทีศ่ กึ ษาพบว่าผู้เรียนทีไ่ ด้รบั
Nababan, Nasution and Jayanti. (2019) ที่ศึกษาพบว่า จากการจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้
นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (7E) มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ผ่านเกณฑ์
มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่า ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ
ก่อนเรียน ที่ระดับ.05 (นภารัตน์ ศรีค�าเวียง, 2558)
2. นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัด
การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้มีทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์สงู กว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 ของคะแนนเต็ม
วารสารบัณฑิตวิจัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH
66 ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2564) Vol. 12 No. 1 (January - June 2021)

ข้อเสนอแนะ ในการการจัดการเรียนรู้ค่อนข้างมาก ผู้สอนควรควบคุม


ข้อเสนอแนะเพื่อการน�าผลการวิจัยไปใช้ ในเรือ่ งของเวลา ก�าหนดขัน้ ตอนและการจัดกิจกรรมการ
1. การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ เรียนรู้แต่ละขัน้ ตอนให้มคี วามชัดเจนและยืดหยุ่นกิจกรรม
ผู้สอนต้องสร้างบรรยากาศชั้นเรียนให้ผู้เรียนกล้า ตามความเหมาะสม
แสดงความคิดเห็น เช่น ใช้คา� ถามกระตุ้นให้ผ้เู รียนร่วมคิด ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป
และอภิปรายผลแลกเปลีย่ นเรียนรูโ้ ดยเชือ่ มโยงความรูเ้ ดิม 1. ควรมีการศึกษาการพัฒนาวิธสี อนรูปแบบต่าง ๆ
ของผูเ้ รียน ตลอดจนทบทวนนิยามศัพท์ทเี่ กีย่ วข้องกับทักษะ เพื่อส่งเสริมพัฒนาทักษะการทดลองทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทงั้ 5 ทักษะ จะช่วยส่งเสริม ให้กับผู้เรียน
ให้เกิดการเรียนรูอ้ ย่างมีประสิทธิภาพรวมทัง้ ผูเ้ รียนมีความรู้ 2. ควรมีการศึกษาผลการจัดการเรียนรู้แบบ
และเข้าใจทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ถูกต้อง สืบเสาะหาความรู้ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหา
มากยิ่งขึ้น ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการความ
2. การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ สามารถการวางแผนและแก้ปัญหาของผู้เรียน
เป็นการจัดการเรียนรูท้ เี่ น้นกระบวนการ จ�าเป็นต้องใช้เวลา

เอกสารอ้างอิง
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์.(ฉบับปรับปรุง
พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ากัด.
กุลิสรา จิตรชญาวณิช. (2562). การจัดการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผล. (2562). ผลการนิเทศ ติดตามผลการจัดการศึกษา ปีการศึกษา 2562. พิจิตร:
กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 41.
ทิศนา แขมมณี. (2562). ศาสตร์การสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 23). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชินตา สุภาชาติ. (2558). การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนวิชาฟิสกิ ส์โดยใช้รปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
ตามวงจรการเรียนรู้ 7 ขัน้ ตอน (7E) เรือ่ ง แรงและกฎการเคลือ่ นที่ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตร
มหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร).
นภารัตน์ ศรีค�าเวียง. (2558). ผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ที่เน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ขั้น ผสมที่มีต ่ อ มโนทั ศ น์ ท างวิท ยาศาสตร์ แ ละทั ก ษะกระบวนการทางวิท ยาศาสตร์ ส� า หรั บ นั ก เรีย นชั้น
มัธยมศึกษาปีท่ี 2. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏ
วไลยอลงกรณ์).
บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบือ้ งต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: สุวรี ียาสาส์น.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2558). การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปริศนา อิ่มพรหม. (2562). ผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์).
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560ก). การวัดผลและประเมินผล ตัวอย่างแบบประเมินทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์. สืบค้นจาก http://physics.ipst.ac.th
วารสารบัณฑิตวิจัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH
ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2564) Vol. 12 No. 1 (January - June 2021) 67

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560ข). คู่มอื การใช้หลักสูตรรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ กลุ่ม


สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2560) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2564). ผลการประเมิน PISA 2018 การอ่าน คณิตศาสตร์และ
วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
ส�านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 – 2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
สุทธิดา จ�ารัส. (2558). การสอนวิทยาศาสตร์ 1. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
อนุวัติ คูณแก้ว. (2560). สถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เอกพจน์ เศษฤทธิ.์ (2562). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรือ่ ง อะตอมและสมบัตขิ องธาตุ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 โดย
ใช้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต,
สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร).
Burry-Stock, J. A., Shaw, D. G., Laurie, C. and Chissom, B. S. (1996). Rater agreement indexes for performance
assessment. Educational and Psychological Measurement, 56(2), 251-262. https://doi.org/10.1177/
0013164496056002006
Nababan, N. P., Nasution, D. and Jayanti, R. D. (2019) The effect of scientific inquiry learning model and scientific
argumentation on the students’ science process skill. Journal of Physics, 1155, 1-6. DOI:10.1088/1742-
6596/1155/1/012064

You might also like