You are on page 1of 6

บทพูด

การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในประเทศไทยยังพบปั ญหาด้าน
กระบวนการการจัดการเรียนรู้ที่ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ตามหลักสูตรแกน
กลาง ที่เน้นทางด้านกระบวนการคิดและทักษะการแก้ปัญหา จากการรายงาน
ผลการประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล (Programme for
International Student Assessment หรือ PISA) ที่ริเริ่มโดยองค์การเพื่อ
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic
Co-operation and Development หรือ OECD) มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ประเมินคุณภาพของระบบการศึกษาในการเตรียมความพร้อมให้เยาวชนมี
ศักยภาพหรือความสามารถพื้นฐานที่จำเป็ นต่อการดำรงชีวิตในโลกที่มีการ
เปลี่ยนแปลง พบว่านักเรียนไทยมีคะแนนเฉลี่ยทัง้ สามด้าน (การอ่าน
คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์)

การจัดการศึกษาและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จึงไม่ใช่กระบวนการ
ถ่ายทอดความรู้ แต่คือการส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับผู้คน (สุวิ
ธิดา จรุงเกียรติกุล, 2561) จากการรายงานของภาคีพัฒนาทักษะศตวรรษที่
21 (The Partnership for 21st Century Learning, 2015) พบว่าทักษะที่
สาคัญสาหรับการเรียนรู้และนวัตกรรม ได้แก่ 1) การคิดแบบมีวิจารณญาณ
(Critical thinking) 2) การสร้างความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) 3) การ
สื่อสาร (Communication) 4) การทำงานร่วมกับผู้อ่ น
ื (Collaboration) โดย
ทัง้ 4 ทักษะนีจ
้ ะช่วยพัฒนาต่อยอดให้ทรัพยากรบุคคลมีทักษะในด้านการ
วางแผน การคิดอย่างเป็ นระบบ มีความคิดที่ยืดหยุ่น สามารถควบคุมวินัยใน
ตัวเองได้ เป็ นต้น ซึ่งทักษะดังกล่าวเป็ นทักษะที่จะเป็ นที่ต้องการในการทางาน
ในศตวรรษที่ 21

สะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) เป็ นแนวทางการจัดการเรียนรู้โดย


การบูรณาการวิชาวิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology)
วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) และคณิตศาสตร์ (Mathematics) เข้าด้วย
กัน โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้และสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้ไป
พัฒนาจนเกิดทักษะในการแก้ปัญหาและสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ในการดำเนิน
ชีวิต โดยมีปัจจัยสำคัญในการจัดการเรียนรู้ 3 ส่วน คือ การนำเสนอ
สถานการณ์ (Presentation Situation) การออกแบบอย่าง
สร้างสรรค์(Creative Design) และการสร้างความจับใจ (Emotional
Touch) ผ่านการเรียนรู้เเละสร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบต่างๆ ที่ส่งเสริมให้ผู้
เรียนมีทักษะ สมรรถนะ เพื่อให้สามารถพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และฝึ กให้
นักเรียนใช้เหตุผลในการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างศิลปศาสตร์(เน้นการ
คิดเชิงสร้างสรรค์)และวิทยาศาสตร์(เน้นการคิดเชิงวิชาการ) ตลอดจนบูรณา
การการเรียนรู้สู่การดำเนินชีวิตประจำวัน เเละต่อยอดองค์ความรู้ด้วย
นวัตกรรมเพื่อพัฒนาเเละตอบสนองต่อความต้องการที่เปลี่ยนแปลงไปใน
ศตวรรษที่ 21

จากเหตุผลดังกล่าวผู้วิจัยจึงสนใจที่จะใช้กระบวนการจัดการเรียนการ
สอนแบบสะเต็มศึกษา (STEM Education) ในหัวข้อเรื่อง ปั จจัยที่มีผลต่อ
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ซึ่งเป็ นอีกรูปแบบการสอนที่มีความเหมาะสมและมี
ประสิทธิภาพเพื่อช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะความคิดสร้างสรรค์แก้ไข
ปั ญหาจากสถานการณ์ต่าง ๆ เป็ นประโยชน์ต่อตัวผู้เรียน รวมถึงสามารถที่จะ
์ างการเรียนของผู้เรียนได้ โดยการวิจัยในครัง้ นีม
ช่วยส่งเสริมผลสัมฤทธิท ้ ีจุด
ประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์ รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ
ของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 เรื่องปั จจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
เคมี ผ่านรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ให้ผู้เรียนมีความรู้ความ
เข้าใจและพัฒนาสมรรถนะการคิดสร้างสรรค์ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน

1.4 ขอบเขตของการวิจัย
1.4.1 ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรต้น : การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา (STEM
Education) เรื่อง ปั จจัยที่มี
ผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ตัวแปรตาม : สมรรถนะการคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 5/1

1.4.2 กลุ่มเป้ าหมาย


นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/1 ซึง่ กำลังเรียนอยู่ในรายวิชา
วิทยาศาสตร์กายภาพ
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565 โรงเรียนชนบทศึกษา อำเภอชนบท จังหวัด
ขอนแก่น มีจำนวน 34 คน
จากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
ความคิดสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการมองหาทางเลือก
หลายทิศทาง โดยการคิดอย่างรอบด้าน คลอบคลุมทัง้ ในแนวกว้างและแนวลึก
ตลอดจนสามารถสร้างแนวคิดใหม่ ซึ่งอาจต่างไปจากแนวความคิดเดิมบ้างเล็ก
น้อย หรือแปลกไปจนไม่คงแนวความคิดเดิมไว้เลย

2 สมรรถนะการคิดสร้างสรรค์ คือ การคิดเชิงสร้างสรรค์เป็ นสมรรถนะ


ที่ใช้ในการสร้าง การประเมินและการพัฒนาความคิด ซึ่งส่งผลต่อการแก้
ปั ญหาหรือกระบวนการ

กําหนดกรอบสมรรถนะของความคิดสร้างสรรค์ 3 ด้าน

การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ใช้องค์ประกอบของกระบวนการ
ออกแบบเชิงวิศวกรรม 6 ขัน
้ ตอน

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คือ แผนการจัดการ


เรียนรู้โดยใช้การ
จัดการเรียนรู้แบบสตีมศึกษา (STEAM Education) หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
เรื่องปั จจัยที่ส่งผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี จำนวน 4 แผน เวลา 8
ชั่วโมง
2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
1)ใบกิจกรรม
2.การสังเกตแบบมีส่วนร่วม ผู้วจ
ิ ัยได้ทําการบันทึกข้อมูลการ
แสดงออกถึงสมรรถนะการคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนในระหว่าง

การทํากิจกรรมการเรียนรู้สะเต็มศึกษา เรื่อง ปั จจัยที่ส่งผลต่ออัตรา


การเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยทําการสังเกตด้วยตัวผู้วิจัยเองและมีการบันทึก
ภาพและวีดิทัศน์

3.การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง
) เป็ นการสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยเตรียมคําถามกว้าง ๆ มาล่วงหน้าเพียงไม่กี่
คําถาม ส่วนคําถามที่เหลือจะเกิดขึน
้ ในระหว่างการสนทนากับนักเรียนด้วย
การซักถามและสร้างบรรยากาศในการสัมภาษณ์ให้คล้ายคลึงกับการพูดคุย
ธรรมดาในการวิจัยครัง้ นีผ
้ ู้วิจัยจะทําการสัมภาษณ์นักเรียนเป็ นกลุ่ม (Focus
Group Interview) ที่ทํางานร่วมกันเพื่อให้สมาชิกในกลุ่มได้สนทนา ถกหรือ
อภิปรายร่วมกัน

การเก็บรวบรวมข้อมูล
ในการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชัน
้ เรียนครัง้ นีผ
้ ู้วิจัยจะดำเนินการตาม
วงจรปฏิบัติการ 4
ขัน
้ ตอน โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการดำเนินการซ้ำ ๆ ตามวงจร
นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์วางแผน อภิปราย

3.5 การวิเคราะห์ข้อมูล
4 2) นำข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมด้วยเครื่องมือที่ใช้ มาทำการวิเคราะห์
ตามกรอบการประเมินสมรรถนะการคิดสร้างสรรค์ผ่านการแก้ปัญหาอย่าง
สร้างสรรค์ตามแนวคิดของการประเมิน PISA 2021 (OECD, 2019) เพื่อ
สืบหาข้อบ่งชีข
้ องสมรรถนะการคิดสร้างสรรค์จากการจัดกิจกรรมการเรียน
รู้สะเต็มศึกษาดังแสดงในตารางที่ 1

You might also like