You are on page 1of 70

วิจยั ในชั้นเรี ยน (Classroom Research)

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จารุนนั ท์ ขวัญแน่ น


อาจารย์สาขาวิจยั วัดผลและประเมินผลการศึกษา
LOGO
คณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
1
การวิจยั ในชัน้ เรียนคืออะไร
คือ กระบวนการแสวงหาความรู้อันเป็ น
ความจริงที่เชื่อถือได้ ในเนือ้ หาเกี่ยวกับการ
พัฒนาการเรียนการสอน
เพื่อการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนใน
บริบทของชัน้ เรียน

2
เป็ นการทาวิจยั โดยครู ผสู ้ อนในชั้นเรี ยน
เพื่อแก้ปัญหาในชั้นเรี ยน และนาผลมาใช้ใน
การวิจยั ปฏิบตั ิการในชั้นเรี ยน
การปรับปรุ งการจัดประสบการณ์ของครู
(Classroom Action Research)
ถือได้วา่ การวิจยั ปฏิบตั ิการในชั้นเรี ยน เป็ น
เครื่ องมือในการเรี ยนรู ้และสร้างความรู ้ใน
การปฏิบตั ิงานของครู

3
จุดเน้นวิจยั ทางการศึกษาและวิจยั ในชัน้ เรียน
วิจยั ทางการศึกษา วิจยั ในชัน้ เรียน

ปัญหาที่ตอ้ งวิจยั ปัญหาในชัน้ เรียน


ผลที่ได้จากทฤษฎีสก่ ู ารปฏิบตั ิ จากปฏิบตั ิสท่ ู ฤษฎี
ปริมาณข้อมูลยิง่ มากยิง่ ดี ปริมาณนวัตกรรมที่
ค ุณภาพการสมุ่ ตัวอย่างพยายาม สามารถใช้แก้ปัญหา
ให้คลาดเคลื่อนน้อยที่ส ุด หรือพัฒนาได้
ค ุณภาพของนวัตกรรม
ที่ผา่ นการทดลองและ
ปรับปร ุง

4
ประโยชน์ของการวิจยั ปฏิบตั ิการในชัน้ เรียน มีดงั นี้
ช่วยแก้ปัญหาในห้องเรียน
ช่วยทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดขี นึ้

5
ประโยชน์ของการวิจยั ปฏิบตั ิการในชัน้ เรียน มีดงั นี้
เป็นการเปลี่ยนบทบาทของคร ูใหม่ เสริมพลังอานาจแก่คร ูในการแก้ปัญหาชัน้ เรียน

6
ประโยชน์ของการวิจยั ปฏิบตั ิการในชัน้ เรียน มีดงั นี้
ทาให้รถ้ ู ึงวิธีการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ เป็นการกระตน้ ุ การสอนแบบสะท้อนกลับ

7
ร ูปแบบของการวิจยั ในชัน้ เรียน
การวิจยั ในชัน้ เรียนนัน้ มีลกั ษณะเฉพาะที่เป็ นการวิจยั เพื่อพัฒนา
งานการจัดการเรียนการสอน รูปแบบของการวิจยั ในชัน้ เรียนนัน้
เป็ นโปรแกรมการวิจยั แบบการวิจยั และพัฒนา (Research and
Development) โดยเน้ นสาระความรู้ที่เป็ นประโยชน์ ในการเข้าใจ
สภาพปัญหา และวิธีการแก้ไขตลอดจนนวัตกรรมในการพัฒนางาน
ตามสภาพที่เป็ นจริง
8
9
Active Learning
10
ปัญหา
การ
วิจยั
?

11
ปั ญหาผูเ้ รียนสูป่ ั ญหาการวิจยั ในชัน้ เรียน

12
การเขียนโครงร่างการวิจยั
• 1. ชื่ อเรื่ อง
• 2. ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
• 3. วัตถุประสงค์ของการวิจยั
• 4. ประโยชน์ท่ ีได้รับ
• 5. ตัวแปรในการวิจยั
• 6. กรอบแนวคิดในการวิจยั
• 7. สมมุติฐานการวิจยั
• 8. ขอบเขตการวิจยั
13 • 9. วิธีดาเนิ นการวิจยั
1. หลักการเขียนชื่อเรื่อง
 สอดคล้องกับเนื้ อหา/มีตวั แปรครบถ้วน
 กระชับแต่สมบูรณ์
 ถ้าไม่จาเป็ นไม่ควรให้ยาวเกิน 2 บรรทัด
 อาจเพิ่มรายละเอียดเกี่ยวกับรายวิชาและสถานศึกษา
 ขึน้ ต้นด้วยคานาม
 ใส่คาว่า “การ” ข้างหน้ าถ้าขึน้ ต้นด้วยคากริยา
 ตัดคาฟุ่ มเฟื อย
 อาจเพิ่มคาตามที่ต้นสังกัดกาหนดหน้ าชื่อเรือ่ ง
14
การกาหนดปัญหากับการตัง้ ชื่อเรือ่ งวิจยั

15
การกาหนดปัญหากับการตัง้ ชื่อเรือ่ งวิจยั

16
การกาหนดปัญหากับการตัง้ ชื่อเรือ่ งวิจยั

17
การเลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรก้ ู บั ลักษณะปัญหาการเรียนรู้

18
การเลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรก้ ู บั ลักษณะปัญหาการเรียนรู้

19
การเลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรก้ ู บั ลักษณะปัญหาการเรียนรู้

20
2.หลักการเขียนความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา

21
3. การเขียนวัตถุประสงค์การวิจยั
เขียนผลผลิต (output) ที่ได้จริงๆ
วัตถุประสงค์ในการสร้างหรือพัฒนานวัตกรรมถือเป็ น
วัตถุประสงค์หลัก
เขียนเป็ นข้อๆ
ไม่จาเป็ นต้องมีหลายข้อ
เขียนเป็ นประโยคบอกเล่า
ใช้ภาษาให้ชดั เจน เข้าใจง่าย กระชับ
22
ตัวอย่างการเขียนวัตถุประสงค์แยกเป็ นข้อๆ
1. เพื่อพัฒนา (ชื่อนวัตกรรมที่จะใช้ หรือตัวแปรต้น).......
2. เพื่อหาประสิทธิภาพ..............
3. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ ิ ................
4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของ..............

23
24
4.ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รบั /ความสาคัญ
เขียนเป็ นข้อๆ
ไม่จาเป็ นต้องมีหลายข้อ
 สามารถเขียนถึงผลลัพธ์และผลกระทบ
 พิจารณาว่านวัตกรรมที่สร้างหรือพัฒนาขึน้ และจากการทดลองใช้จริงน่ าจะนาไปใช้ประโยชน์ หรือ
เป็ นแนวทางใช้อะไรได้บ้าง
แนวทางการเขียนความสาคัญหรือประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รบั
1. ทาให้ผเู้ รียนสามารถมี......(ตัวแปรตาม)......และนาไปใช้ ประโยชน์ ต่อไปได้
2. ครูสามารถนา............(ตัวแปรต้น).......ไปใช้เพื่อให้เกิด.....(ตัวแปรตาม).....ได้
3. เป็ นแนวทางในการพัฒนา..........(ตัวแปรตาม).....ของผู้เรียนในพืน้ ที่หรือระดับอื่นๆ ได้

25
ตัวอย่ างการเขียนประโยชน์ ที่คาดจะได้ รับ/ความสาคัญ
ความสาคัญของการวิจยั
1. ทาให้นักเรียนสามารถอ่านภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง
ตามหลักเหมือนเจ้าของภาษา และนาไปใช้ประโยชน์ ในการ
เรียนวิชาอื่น รวมทัง้ ชีวิตประจาวันได้
2. ครูสามารถนาคลังข้อมูลภาษาอังกฤษไปใช้สอนได้
3. เป็ นแนวทางในการพัฒนาการอ่านภาษาอังกฤษของ
26
นักเรียนชัน้ อื่นๆได้
5.ตัวแปรในการวิจยั
ตัวแปร (variable) คือ คุณลักษณะหรือคุณสมบัตขิ องหน่วยตัวอย่างที่
สามารถแปรค่าหรือแปรเปลีย่ นได้ตามคุณสมบัตขิ องมันหรือตามค่าที่
ผูว้ จิ ยั กาหนด เช่น เพศ แปรได้เป็ น 2 ค่าคือ เพศชาย และเพศหญิง อายุ
แปรได้ตงั ้ แต่อายุแรกเกิด 1, 2, ....จนถึงอายุสงู สุดของกลุ่มตัวอย่างที่
ทาการศึกษา ซึง่ อาจจะเป็ น 100 ปี หรือมากกว่า ระดับการศึกษาแปรได้
หลายค่าตามแต่ระดับของการศึกษาทีผ่ วู้ จิ ยั กาหนดไว้ เช่น ระดับประถม
ระดับมัธยม จนถึงปริญญาเอก ระดับของการวัด
27
5.ตัวแปรในการวิจยั
1. ตัวแปรอิสระ (independent variable) หรือตัวแปรต้น เป็ นตัว
แปรทีอ่ สิ ระไม่ขน้ึ อยูก่ บั ตัวแปรอื่นๆ เป็ นตัวแปรทีเ่ กิดขึน้ ก่อน
เป็ นตัวเหตุทาให้เกิดผลตามมา และมักเป็ นตัวทีส่ ามารถ
เปลีย่ นแปลงค่ายาก หรือไม่สามารถเปลีย่ นแปลงได้
2. ตัวแปรตาม (dependent variable) เป็ นตัวแปรทีเ่ กิดขึน้ หรือ
แปรผันไปตามตัวแปรอิสระ หรือกล่าวได้วา่ เป็ นตัวแปรทีเ่ ป็ นผล
เมือ่ ตัวแปรอิสระเป็ นเหตุ
28
5.ตัวแปรในการวิจยั
3. ตัวแปรแทรกซ้อนหรือตัวแปรเกิน (extraneous variable) มี
ลักษณะเหมือนตัวแปรอิสระแต่เป็ นตัวแปรทีผ่ วู้ จิ ยั ไม่ได้มุ่งศึกษา ซึง่
อาจจะมีผลหรือมีอทิ ธิพลต่อตัวแปรตามทาให้ขอ้ สรุปของการวิจยั ขาด
ความถูกต้อง เทีย่ งตรง หรือเกิดความคลาดเคลื่อนเพราะผลการวิจยั ไม่ได้
ขึน้ อยูก่ บั ตัวแปรอิสระทีผ่ วู้ จิ ยั ต้องการศึกษาเพียงอย่างเดียว ส่วนหนึ่ง
อาจจะเป็ นผลมาจากตัวแปรแทรกซ้อนด้วยก็ได้ ดังนัน้ ในการวิจยั ผูว้ จิ ยั
จาเป็ นจะต้องควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนให้เกิดขึน้ ให้น้อยทีส่ ุด
29
5.ตัวแปรในการวิจยั
4. ตัวแปรสอดแทรก (intervening variable) เป็ นตัวแปร
อีกชนิดหนึ่ง ทีจ่ ะมีอทิ ธิพลต่อตัวแปรตามคล้ายๆ กับตัวแปร
แทรกซ้อน แต่มลี กั ษณะต่างกันตรงทีว่ า่ ตัวแปรชนิดนี้ ผูว้ จิ ยั
ไม่สามารถคาดการณ์ได้วา่ มีอะไรบ้างทีจ่ ะมีผลต่อตัวแปร
ตามและจะเกิดขึน้ เมือ่ ใด หรือแม้จะรูก้ ไ็ ม่สามารถควบคุม
ได้
30
6. กรอบแนวคิดในการวิจยั

31
6. กรอบแนวคิดในการวิจยั

32
6. กรอบแนวคิดในการวิจยั

33
6. กรอบแนวคิดในการวิจยั

34
6. กรอบแนวคิดในการวิจยั

35
6. กรอบแนวคิดในการวิจยั

36
6. กรอบแนวคิดในการวิจยั

37
38
7. สมมุติฐานการวิจยั

39
40
8. ขอบเขตการวิจยั
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง/กลุ่มเป้ าหมาย
ประชากรเป็ นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรียนรักชาติ ปี การศึกษา 2560
จานวน 148 คน
กลุ่มตัวอย่างเป็ นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรียนรักชาติ ปี การศึกษา 2560
ภาคเรียนที่ 1 จานวน 60 คน ได้มาโดยการสุ่มสมบูรณ์ (Random Assignment)
จากวิธีการสุ่มอย่างง่ายด้วยการจับสลาก
ตัวแปร
ตัวแปรต้นคือ บทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง วันสาคัญทางศาสนา
41
ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธ์ ิ ทางการเรียนและเจตคติของผูเ้ รียน
8. ขอบเขตการวิจยั

เนื้อหาที่จะทาการศึกษา/ทดลอง
ระยะเวลาที่ใช้ ในการทาวิจัย

42
9. วิธีดาเนินการวิจยั

43
9. วิธีดาเนินการวิจยั

44
9. วิธีดาเนินการวิจยั

45
การหาคุณภาพเครื่ องมือ
- การหาความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู้
- การหาค่ า IOC ของเครื่ องมือทีใ่ ช้ ในการเก็บรวบรวมข้ อมูล ได้ แก่
แบบทดสอบ แบบสอบถาม
- การหาค่ า ความยาก อานาจจาแนกของแบบทดสอบ
- การหาค่ าความเชื่ อมั่นของทั้งแบบทดสอบและแบบสอบถาม

46
การหาประสิ ทธิภาพของนวัตกรรม

47
9. วิธีดาเนินการวิจยั

48
ตัวอย่างแบบแผนการวิจยั

49
ตัวอย่างแบบแผนการวิจยั

50
ตัวอย่างแบบแผนการวิจยั

51
9. วิธีดาเนินการวิจยั

52
9. วิธีดาเนินการวิจยั
สถิติอ้างอิง/สถิติที่ใช้ทดสอบสมมุติฐาน

ร้อยละพัฒนาการคูณด้วย 100
53
54
9. วิธีดาเนินการวิจยั
สถิติอ้างอิง/สถิติที่ใช้ทดสอบสมมุติฐาน
 Wilcoxon ใช้เมื่อกลุ่มตัวอย่างมีกลุ่มเดียว จานวนน้ อยกว่า 20 คน
Mann-Whitney ใช้เมื่อกลุ่มตัวอย่างมีสองกลุ่ม จานวนกลุ่มใดหรือทัง้
สองกลุ่ม น้ อยกว่า 20 คน
t-test dependent ใช้เมื่อกลุ่มตัวอย่างมีกลุ่มเดียว จานวน 20 คน ขึน้ ไป
หรือตา่ กว่า ข้อมูลแจกแจงเป็ นปกติ
 t-test independent ใช้เมื่อกลุ่มตัวอย่างมีสองกลุ่ม แต่ละกลุม่ มีจานวน
55
20 คนขึน้ ไปหรือตา่ กว่า และข้อมูลทัง้ 2 กลุ่ม มีการแจกแจงเป็ นปกติ
สรุปรูปแบบการเขียนโครงร่ างการวิจยั

ส่วนประกอบตอนต้น มีดงั นี้


1. ปกนอก มีชื่อเรื่อง ชื่อผูว้ ิ จยั รายละเอียดของสถาบัน
2. ปกในหรือใบปะหน้ า
3. สารบัญ
4. สารบัญตาราง (ถ้ามี)
5. สารบัญภาพ (ถ้ามี)

56
สรุปรูปแบบการเขียนโครงร่ างการวิจัย
ส่วนเนื้ อหา มีดงั นี้
บทที่ 1 บทนา ประกอบด้วยหัวข้อย่อย ดังนี้
1. ความเป็ นมาของปั ญหา หรือความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหาหรือภูมหิ ลัง
2. วัตถุประสงค์การวิจยั
3. สมมุตฐิ านการวิจยั (ถ้ามี)
4. ความสาคัญของการวิจยั หรือประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รบั
5. ขอบเขตการวิจยั
6. ข้อตกลงเบือ้ งต้น (ถ้ามี)
7. ข้อจากัดของการวิจยั (ถ้ามี)
8. นิยามศัพท์หรือนิยามศัพท์เฉพาะ
57
สรุปรูปแบบการเขียนโครงร่ างการวิจยั
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
1.เนื้อหาตามตัวแปรต้นหรือตัวแปรตาม
2.เนื้อหาตามตัวแปรตามหรือตัวแปรต้น
3.ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นและตัวแปรตาม (ถ้ามี)
ฯลฯ
4.งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง
4.1งานวิจยั ในประเทศ
4.2งานวิจยั ต่างประเทศ (ถ้ามี)
5.กรอบแนวคิดในการวิจยั (บางเล่มใส่ในบทที่ 1)
58
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจยั
1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2.การสร้างและพัฒนานวัตกรรม
3.แบบวิจยั หรือแบบแผนการวิจยั (ถ้ามี)
4.เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
5.การเก็บรวบรวมข้อมูล
6.สถิตทิ ใ่ี ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
ส่วนประกอบตอนท้าย
1.บรรณานุกรม
59
2.ภาคผนวก
การเขียนรายงานการวิจยั ในชัน้ เรียน (ฉบับ Mini)
1. ชื่อเรื่อง
2.บทนาและความสาคัญของปัญหา
3. วัตถุประสงค์ของการวิจยั
4. สมมติฐาน (ถ้ามี)
5. วิธีดาเนินการวิจยั
5.1 ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง/กลุ่มเป้ าหมาย
5.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจยั
5.2.1 วิธีการหรือนวัตกรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหา
5.2.2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
5.3 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
6. การวิเคราะห์ข้อมูล
7. สรุปผล อภิปรายและข้อเสนอแนะ
60 8. เอกสารอ้างอิง
การเขียนรายงานวิจยั 5 บท
ส่วนประกอบตอนหน้ า
1. ปก ประกอบด้วย ปกหน้ า / ปกใน
2. กิตติกรรมประกาศ
3. บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
4. บทคัดย่อภาษาอังกฤษ (ABSTRACT) ถ้ามี
5. สารบัญ
6. สารบัญตาราง
7. สารบัญภาพ/สารบัญแผนภูมิ

61
การเขียนรายงานการวิจยั 5 บท
ประกอบด้วยประกอบด้วยเนื้ อหา 5 บท ดังนี้
บทที่ 1 บทนา
บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง หรือ เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจยั
บทที่ 4 ผลการวิจยั หรือผลการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

62
บทที่ 1 บทนา
ประกอบด้วยเนื้ อหา ดังนี้
- สภาพปัญหา
- วัตถุประสงค์ของการวิจยั
- สมมติฐานการวิจยั (ถ้ามี)
- ขอบเขตของการวิจยั
- นิยามศัพท์เฉพาะ
- ข้อตกลงเบือ้ งต้น(ถ้ามี)
- ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รบั
63
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง
ประกอบด้วยเนื้ อหา ดังนี้
- ทฤษฎีที่ศึกษา
- ประวัติความเป็ นมา
- ปัญหาต่าง ๆ
- งานวิจยั ในประเทศ
- งานวิจยั ต่างประเทศ
- กรอบแนวคิดในการวิจยั

64
บทที่ 3 วิธดี าเนินการวิจยั
ประกอบด้วยเนื้ อหา ดังนี้
- ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
- วิธีการได้มาของกลุ่มตัวอย่าง
- การสร้างเครื่องมือ
การสร้าง
การหาคุณภาพของเครื่องมือ (การหาความเชื่อมัน่ / การหาความเที่ยงตรง)
- วิธีการเก็บข้อมูล (บอกรายละเอียด)
- การดาเนินการเกี่ยวกับสถิติที่นามาวิเคราะห์

65
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
ประกอบด้วยข้อค้นพบทัง้ หมด ซึ่งอาจจะนาเสนอ ดังนี้
- นาเสนอเชิงพรรณนา
- ตาราง คาอธิบายใต้ตาราง
(เรียงลาดับตามผลที่ตอบวัตถุประสงค์การวิจยั )
- แผนภูมิ คาอธิบายใต้แผนภูมิ
- ข้อค้นพบอื่น ๆ
- การทดสอบสมมติฐาน
66
บทที่ 5 สรุปผลการวิจยั
ประกอบด้วยเนื้ อหาการนาเสนอ ดังนี้
- กล่าวสรุป บทที่ 1-3 โดยเน้ นจุดประสงค์ สมมติฐาน
- สรุปผลการวิจยั (ใน บทที่ 4)
- อภิปรายผล
- ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะทัวไป่
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการทาวิจยั ในครังต่
้ อไป

67
ส่วนประกอบตอนท้าย
ประกอบด้วยเนื้ อหา ดังนี้
- บรรณานุกรม
- ภาคผนวก
ตัวอย่างเครือ่ งมือ
สูตรทางสถิติ
รายชื่อผูเ้ ชี่ยวชาญ
หนังสือ ขออนุญาตเก็บข้อมูล
ประวัติผวู้ ิ จยั
68
ขอให้ ทุกคนมีความสุขกับการทาวิจัย
ขอบคุณทีต่ ้งั ใจรับชมรับฟังค่ ะ

69
❖Jarunan.3011@gmail.com

70

You might also like