You are on page 1of 73

คำนำ

รายงานการจวิจยั เรื่ อง ผลของการใช้ชุดฝึ กทักษะเรื่ องการคคูณที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน


ของนักเรี ย นชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนบ้านปากถัก เป็ นสื่ อนวัตกรรมที่ จดั ทาขึ้ นเพื่ อใช้
ประกอบการจัดการเรี ยนรู ้ ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ คณิ ตศาสตร์ โดยกาหนดกิ จกรรมที่หลากหลาย
และสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรี ยนรู ้
โดยลักษณะของชุ ด ฝึ กทักษะเรื่ องการคูณ คณิ ตศาสตร์ จะมีใบความรู้ ให้นักเรี ยนได้ศึกษา
ก่อน เมื่อเข้าใจแล้วจึงทาชุดฝึ กทักษะ และมีแบบทดสอบก่อนเรี ยน-หลังเรี ยน ซึ่ งได้จดั ทาแผนการ
จัดการเรี ยนรู้ เพื่อใช้ร่วมกับแบบฝึ กทักษะคณิ ตศาสตร์ เล่มนี้
ผูจ้ ดั ทาขอขอบพระคุ ณผูเ้ ชี่ ยวชาญทุ กท่านที่ได้ให้ความอนุ เคราะห์ตรวจรายงานการจวิจยั
ชุ ด ฝึ กทัก ษะเรื่ อ งการคู ณ เล่ ม นี้ โดยได้ใ ห้ ค าปรึ ก ษา ค าแนะน าและข้อ เสนอแนะ เพื่ อ น ามา
ปรับปรุ ง แก้ไขจนสาเร็ จสมบูรณ์และหวังเป็ นอย่างยิ่งว่ารายงานการจวิจยั ชุดฝึ กทักษะเรื่ องการคูณ
เล่มนี้ จะเป็ นประโยชน์อย่างยิ่งในการแก้ปัญหานักเรี ยนที่ไม่เข้าใจ พัฒนาการเรี ยนการสอนในเรื่ อง
การคูณและทาให้นกั เรี ยนมีทกั ษะในการคูณที่ดียงิ่ ขึ้น

จงรักษ์ ตรี กุล


ชื่องำนวิจัย : เรื่ องผลของการใช้ชุดฝึ กทักษะเรื่ องการคูณที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของ


นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนบ้านปากถัก
ผู้รำยงำน : นายจงรักษ์ ตรี กุล
ปี กำรศึกษำ : 2562
บทคัดย่ อ

การวิจยั ครั้งนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อการพัฒนาทักษะคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง ผลของการใช้ชุดฝึ ก


ทักษะเรื่ องการคูณที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยน
บ้านปากถัก และนาผลการเรี ยน เพื่อหา คุณภาพของชุดฝึ กทักษะคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง ผลของการใช้
ชุดฝึ กทักษะเรื่ องการคูณที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยน
บ้านปากถัก ประชากรที่ ใช้ในการวิจยั ในครั้ งนี้ เป็ นนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนบ้าน
ปากถัก จานวน 21 คน
เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั คือ แบบทดสอบการแก้โจทย์ปัญหาการคูณ และชุดฝึ กทักษะการ
คูณ จานวน 10 ชุด โดยใช้คะแนนที่ได้จากการทดสอบความแตกต่างระหว่างคะแนนก่อนและ
หลัง การใช้ชุด ฝึ กทัก ษะคณิ ต ศาสตร์ เรื ่ อ งการคูณ ค านวณ ค่ า ( T – test ) เพื่ อ เปรี ย บเที ย บ
ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนก่อนและหลังเรี ยน
ผลการวิจยั พบว่า การใช้ชุดฝึ กทักษะ คณิ ตศาสตร์ เรื่ อง การคูณ ทาให้นกั เรี ยนมีผลสัมฤทธิ์
ทางกาเรี ยนสู งขึ้น ดูจากผลการทดสอบก่อนเรี ยนจากคะแนนเต็ม 20 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 12.10
ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 6.89 คิดเป็ นร้อยละ 60.48 ผลการทดสอบหลังเรี ยนจากคะแนนเต็ม 20
คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 14.93 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 9.49 คิดเป็ นร้อยละ 74.52 เพิ่มขึ้น ร้อยละ
14.04 ซึ่งพบว่าผลการเรี ยนรู ้หลังเรี ยนสู งกว่าผลการเรี ยนรู ้ก่อนเรี ยน เมื่ อนาไปคานวณหาค่า T ใน
ตารางนั้นคะแนนทดสอบหลังเรี ยนมี ค่ามากกว่า ทดสอบก่อนเรี ยน มีค่าสถิติที่ได้ เท่ากับ 1.147

กิตติกรรมประกำศ

รายงานวิ จ ัย ในชั้น เรี ย น เรื่ อ งผลของการใช้ ชุ ด ฝึ กทัก ษะเรื่ องการคู ณ ที่ มี ต่ อ


ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนบ้านปากถัก นี้ได้จดั ทาขึ้นเพื่อ
พัฒนาความสามารถด้านคณิ ตศาสตร์ เพื่อแก้โจทย์ปัญหาการคูณของนักเรี ยน ซึ่ งรายงานการวิจยั นี้
สาเร็ จลงได้ดว้ ยการ ได้รับการสนับสนุนส่ งเสริ ม จากบุคคลต่าง ๆ หลาย ด้าน และขอขอบพระคุณ
ผูอ้ านวยการ โรงเรี ยนบ้านปากถัก นางสุ จิตรา เจียมจานงค์ ที่ให้คาแนะนาและให้คาปรึ กษา
ตลอดจนให้การสนับสนุ นในการทางานวิจยั ในครั้ งนี้ และได้รับความอนุ เคราะห์ อย่างดี ยิ่งจาก
นายวิชยั อนันตมงคลกุล ครู พี่เลี้ ยงที่ช่วยในการสร้างเครื่ องมือและหาคุณภาพของชุ ดฝึ กทักษะ
เรื่ องการคู ณ ขอขอบคุ ณ คุ ณครู โรงเรี ย นบ้า นปากถักททุ ก ๆ ท่านที่ ให้การช่ วยเหลื อในการหา
คุณภาพของเครื่ องมือที่ใช้ใน การทาวิจยั ขอบใจนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ที่เป็ นตัวอย่างใน
การวิจยั ในครั้งนี้
ท้ายสุ ดนี้คุณค่าประโยชน์อนั พึงมีจากการรายงานวิจยั ในชั้นเรี ยน เรื่ องผลของการ
ใช้ชุดฝึ กทักษะเรื่ องการคคูณที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนฉบับนี้ ผูว้ จิ ยั ขออุทิศแด่ผมู ้ ี
พระคุณทุก ๆ ท่าน

นายจงรักษ์ ตรี กุล


สำรบัญ

หน้า
คานา
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
บทที่ 1 บทนา 1
ความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา 1
วัตถุประสงค์การวิจยั 2
สมมติฐานของการศึกษา 3
ความสาคัญของการศึกษาค้นคว้า 3
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 3
นิยามศัพท์เฉพาะ 3
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 4
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 5
หลักสู ตร 5
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับคณิ ตศาสตร์ 9
ชุดฝึ กทักษะเรื่ องการคูณ 13
ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน 15
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 23
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจยั 26
ประชากรกลุ่มตัวอย่าง 26
เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั 26
ขั้นตอนในการสร้างเครื่ องมือ 26
ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล 26
การวิเคราะห์ขอ้ มูล 27
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล 27

สำรบัญ ( ต่ อ )

หน้า
บทที่ 4 ผลการดาเนินการวิจยั 28
บทที่ 5 สรุ ปผลอภิปรายผล 29
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
แบบทดสอบก่อนเรี ยน
แบบทดสอบหลังเรี ยน
แบบฝึ กทักษะคณิ ตศาสตร์ เรื่ องโจทย์ปัญหาการบวก การลบ
ประวัติผรู้ ายงาน
บทที่ 1
บทนำ

1.1 ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปัญหำ


คณิ ตศาสตร์ มีความสาคัญต่อการพัฒนาความคิดของมนุ ษย์เป็ นอย่างมาก ทาให้มนุ ษย์มี
ความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุมีผล เป็ นระบบ มีระเบียบ มีแบบแผน สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหา
และสถานการณ์ได้อย่างถี่ถว้ นรอบคอบ ทาให้สามารถคาดการณ์ วางแผน ตัดสิ นใจ และแก้ปัญหา
ได้อย่า งถู ก ต้องเหมาะสม คณิ ตศาสตร์ เป็ นเครื่ องมื อในการศึ ก ษาวิท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ตลอดจนศาสตร์ อื่น ๆ ที่ เกี่ ยวข้อง คณิ ตศาสตร์ จึงมี ป ระโยชน์ ต่อการดารงชี วิต และช่ วยพัฒนา
คุณภาพชีวติ (กลุ่มส่ งเสริ มการเรี ยนการสอนและประเมินผล สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.
2548:1) นอกจากนี้ ค ณิ ตศาสตร์ ย งั ช่ วยพัฒ นาคนให้เป็ นมนุ ษ ย์ที่ ส มบู รณ์ มี ค วามสมดุ ล ทั้ง ทาง
ร่ างกาย จิตใจ สติปัญญา และอารมณ์ สามารถคิดเป็ น ทาเป็ น แก้ปัญหาเป็ น และสามารถอยูร่ ่ วมกับ
ผูอ้ ื่นได้อย่างมีความสุ ข (สานักทดสอบทางการศึกษา. 2546 : 2)นาไปสู้การเรี ยนรู้สาระอื่น ๆ และ
การเรี ยนในระดับสู ง คณิ ตศาสตร์ เป็ นวิชาที่ช่วยพัฒนาคน ให้คิดเป็ นอย่างมีเหตุผล มีระเบียบขั้นตอน
ในการคิด และยังช่ วยเสริ มคุ ณลักษณะที่จาเป็ นต่อการดารงชี วิตอื่น ๆ เช่ น การสังเกตความละเอียดถี่
ถ้วน แม่นยามีสมาธิ และรู ้ จกั แก้ปัญหา โดยมีจุประสงค์ และความเข้าใจกระบวนการและการคิด จน
สามารถนาไปใช้แก้ปัญหาในชี วิตประจาวัน และการดาเนิ นชี วิตได้อย่างมีความสุ ข โดยธรรมชาติ
ของวิชาคณิ ตศาสตร์ เป็ นวิชาที่เกี่ ยวกับความคิ ดรวบยอด และทักษะอีกทั้ง ต้องอาศัยวิธีส อนที่
เหมาะสม ซึ่ งจะทาได้โดยเรี ยนจากอุปกรณ์จริ ง จากประสบการณ์การสอนคณิ ตศาสตร์ ในระดับ
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 พบว่านักเรี ยนเขียนเฉพาะคาตอบมาส่ งครู แต่นกั เรี ยนไม่สามารถอธิ บาย
วิธีการหรื อขบวนการในการทาได้ ทั้งนี้ เพราะนักเรี ยนทุกคนไม่ชอบคิดเอง และไม่ชอบแสดงวิธี
ทาไม่มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ ชอบแต่ลอกเพื่อนเมื่อกาหนดโจทย์ให้ก็ไม่สามารถหาคาตอบได้
ถึ ง การสอนคณิ ต ศาสตร์ ยัง ไม่ ป ระสบผลส าเร็ จ เท่ า ที่ ค วร คื อ ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นวิ ช า
คณิ ตศาสตร์ ยังไม่ บรรลุ ผลและอยู่ใ นระดับ ที่ ไม่ พอใจ และนักเรี ยนจานวนมากไม่ ช อบวิ ช า
คณิ ตศาสตร์ โดยคิ ดว่าวิชาคณิ ตศาสตร์ เป็ นวิชาที่ ยาก และทาแบบฝึ กหัดมาก นักเรี ยนจึ งรู ้ สึ ก
ท้อแท้ขาดความมัน่ ใจในการเรี ยน ซึ่ งเป็ นผลกระทบโดยตรงต่อการเรี ยน และเป็ นอุปสรรคต่อการ
พัฒนาทักษะคณิ ตศาสตร์ ดว้ ย ( วรสุ ดา บุญยไวโรจน์. 2542 : 36 ) ควรเน้นถึงทักษะกระบวนการ
คิ ด ของนั ก เรี ยนแต่ ล ะคน ซึ่ งเป็ นสิ่ งส าคัญ ไม่ แ พ้ค าตอบของปั ญ หาต่ า ง ๆ นั ก เรี ยนจะมี
ความสามารถในการคิ ด และเกิ ดทัก ษะกระบวนการคิ ดมากน้อยเพี ย งใดนั้นขึ้ นอยู่ก ับ
2

พื้ น ฐาน ในสิ่ ง ที่ คิ ด และคิ ด ได้หรื อคิ ดเป็ นกระบวนการคิ ดจนทาให้เกิ ดทักษะสามารถนาไปใช้
แก้ปัญหาต่าง ๆ ได้เสมอ
จากสภาพปั ญหาดัง กล่ าว เพื่อให้ประสบผลสาเร็ จในการสอนเรื่ องการคูณ ระดับ ชั้น
ประถมศึก ษาปี ที่ 3 และการสอนคณิ ต ศาสตร์ เ พื่อ พัฒ นาการแก้ปั ญ หานั้น เนื่ อ งจากการคูณ
ต้องอาศัย ความรู ้ ค วามเข้า ใจตลอดจนทัก ษะเข้า ด้วยกัน เพื่อนาไปใช้ใ นการหาคาตอบ ครู ควร
จัดกิจกรรมให้สนุ กๆ เพื่อให้นกั เรี ยนมีโอกาสประสบความสาเร็ จในการเรี ยน และเกิดเจตคติที่ดี
และเพื่ อ ให้ผู เ้ รี ย นบรรลุ ผ ลตามมาตรฐานกลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ค ณิ ต ศาสตร์ ผูส้ อนจะต้อ ง
ศึก ษาวิเ คราะห์ ม าตรฐานหลัก สู ต รมาตรฐานกลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ค ณิ ต ศาสตร์ ร วมทั้ ง
เอกสารประกอบกับ หลัก สู ต รการศึก ษาขั้น พื้ น ฐานพ.ศ.2551 มีค วามยืด หยุ ่น สามารถจัด
กิ จกรรมการเรี ยนรู ้ ตามความเหมาะสมของผูเ้ รี ยน
จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี / หลักการ สภาพปั ญหา และความจาเป็ นดังกล่าวนั้น ครู ควรใช้
เทคนิ คหลายๆประการเพื่อไม่ให้เด็กเกิ ดความคับข้องใจ หรื อขาดแรงจูงใจในการแก้ปัญหา การ
สอนให้นกั เรี ยนคิด ทาให้นกั เรี ยนมีความเห็นชอบ และรู้จริ ง การสอนให้นกั เรี ยนเห็นชอบทาให้
นักเรี ยนแก้ปัญหาได้และทาให้นกั เรี ยนเติบโตขึ้นอย่างมีอิสรภาพ และหากนักเรี ยนมีโอกาสฝึ ก
ทักษะหลายๆข้อ แล้วนักเรี ยนจะมีความชานาญและเฉลียวฉลาดขึ้น ทาให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
ของนักเรี ยนดี ข้ ึ น การใช้ชุดฝึ กทักษะเป็ นเครื่ อ งมือ ที่ใช้ฝึกทักษะในการคูณ ช่ วยให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจ
เนื้ อหาดียิ่งขึ้น และสามารถหาคาตอบได้ถูกต้อง ชุดฝึ กทักษะที่สร้างสามารถช่วยในการแก้ปัญหาของ
นักเรี ยนโดยใช้ชุดฝึ กทักษะคณิ ตศาสตร์ เรื่ องการคูณ ส่ งผลให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยน
ด้วยชุดฝึ กเสริ มทักษะสู งกว่า ก่อนเรี ยนด้วยชุดฝึ กทักษะเสริ มทักษะอย่างมีนยั ทางสถิติที่ดีข้ ึน
จากเหตุผลดังกล่าว ทาให้ผวู ้ จิ ยั ได้ศึกษา ค้นคว้าสนใจที่จะพัฒนาชุดฝึ กทักษะการคูณ ในวิช า
คณิ ตศาสตร์ สาหรั บ นัก เรี ย นชั้นประถมศึ ก ษาปี ที่ 3 เพื่ อให้นัก เรี ย นมี ท ัก ษะ ในการ แก้โจทย์
ปั ญ หาอย่า งจริ ง จัง อัน เป็ นแนวทางหนึ่ ง ที่ จ ะช่ ว ยพัฒ นาความรู ้ ทัก ษะ และเจตคติ ต่ อ การ
เรี ย นวิช าคณิ ตศาสตร์ รวมทั้ง เป็ นแนวทางในการปฏิ บ ัติ หน้า ที่ ข องครู ผูส้ อนในการปรั บ ปรุ ง
ส่ ง เสริ ม การจัดกิ จกรรมการเรี ย นการสอนวิช าคณิ ตศาสตร์
1.2 วัตถุประสงค์ กำรวิจัย
1.2.1 เพื่อศึกษาผลของการใช้ชุดฝึ กทักษะเรื่ องการคูณที่มีต่อผลการเรี ยนของนักเรี ยนชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนบ้านปากถัก
1.2.2 เพื่อเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนก่อนและหลังเรี ยน เรื่ องการคูณของนักเรี ยนชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนบ้านปากถัก
3

1.3 สมมติฐำนของกำรศึกษำ
นัก เรี ย นที่ เ รี ย นโดยใช้ชุ ด ฝึ กทัก ษะการคู ณ หลัง เรี ย นมี ผ ลการเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน
1.4 ขอบเขตของกำรศึกษำค้ นคว้ำ
1. 4.1. ประชำกร
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ได้แก่ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรี ยนที่ 2
ปี การศึกษา 2561 โรงเรี ยนบ้านปากถัก สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพังงา จานวนนักเรี ยน
21 คน
1.4.2. ตัวแปร
ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ชุดฝึ กทักษะเรื่ องการคูณ ที่ผศู ้ ึกษาได้สร้างขึ้น
ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลการเรี ยน เรื่ อง การคูณของนักเรี ยน ชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 3
โรงเรี ยนบ้านปากถัก
1. 4.3. เนือ้ หำในกำรศึกษำ
เนื้อหาที่ใช้สอน คือ เนื้อหาวิชาคณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 เรื่ องการคูณ
1. 4.4. ระยะเวลำทีใ่ ช้ ในกำรทดลอง
ดาเนินการในภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2561 ระหว่าง เดือนพฤศจิกายน ถึง เดือน
มีนาคม พ.ศ. 2561 จานวน 10 ชัว่ โมง ทาการทดลองโดยการสอนซ่ อมเสริ ม ไม่รวมการทดสอบก่อน
เรี ยนและหลังเรี ยน
1.5 นิยำมศัพท์เฉพำะ
1. ชุดฝึ กทักษะ หมายถึง งานหรื อกิจกรรมที่ครู สร้างขึ้นโดยมีรูปแบบกิจกรรมหลากหลาย
มีจุดมุ่งหมายเพื่อฝึ กให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจบทเรี ยนได้ดียงิ่ ขึ้น และช่วยฝึ กทักษะต่าง ๆ ให้
ผูเ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้อย่างแท้จริ ง อาจให้นกั เรี ยนทาชุดฝึ กทักษะขณะเรี ยนหรื อหลังจากจบบทเรี ยน
ไปแล้วก็ได้
2. ชุดฝึ กทักษะการคูณ หมายถึง ชุดฝึ กทักษะที่ผศู ้ ึกษาค้นคว้าได้สร้างขึ้น เพื่อนาไปใช้
ประกอบการเรี ยนการสอนคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 เรื่ องการคูณ โดยมี
จุดมุ่งหมายเพื่อฝึ กให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจบทเรี ยนได้ดียงิ่ ขึ้น และมีผลสัมฤทธิ์ หหลังเรี ยน
สู งกว่าก่อนเรี ยน
3. ผลการเรี ยน หมายถึง ความสามารถของนักเรี ยนในด้านการคูณ ซึ่ งเกิดจากนักเรี ยน
ได้รับประสบการณ์จากกระบวนการเรี ยนการสอนของครู โดยที่ครู ได้ศึกษาและสร้างเครื่ องมือวัด
และประเมินผล
4

1.6 ประโยชน์ ทคี่ ำดว่ำจะได้ รับ


1. ทาให้ครู มีการศึกษาค้นคว้าเกิดความเคลื่อนไหวทางวิชาการอยูเ่ สมอ
2. นักเรี ยนมีเจตคติที่ดีและมีผลการเรี ยนเพิ่มขึ้น
3. สามารถตอบสนองนโยบาย โดยนักเรี ยนสามารถ อ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็ น
1.7 กรอบแนวคิดกำรวิจัย

ตัวแปรต้ น ตัวแปรตำม

ชุดฝึ กทักษะเรื่ องการคูณ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเรื่ องการคูณ


บทที่ 2
เอกสำรงำนวิจยั ที่เกีย่ วข้ อง

การวิจยั ครั้งนี้เป็ นงานวิจยั เชิงทดลองผูว้ จิ ยั ได้ศึกษาผลของการใช้ชุดฝึ กทักษะเรื่ องการคูณที่มี


ต่อผลการเรี ยนของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนบ้านปากถัก ผูว้ จิ ยั ได้ศึกษาค้นคว้า
เอกสารและงานวิจยั เกี่ยวข้องเพื่อใช้เป็ นแนวทางในการวิจยั ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1. หลักสู ตร
1.1 หลักสู ตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
2. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับคณิ ตศาสตร์
2.1 ความหมายของคณิ ตศาสตร์
2.2 ความสาคัญของคณิ ตศาสตร์
2.3 แนวคิดและทฤษฎีทางคณิ ตศาสตร์
2.4 ประโยชน์และคุณค่าของคณิ ตศาสตร์
3. ชุดฝึ กทักษะเรื่ องการคูณ
3.1 ความหมายของชุดฝึ กทักษะ
3.2 หลัก การสร้ า งชุ ด ฝึ กทัก ษะ
3.3 ประโยชน์ของชุดฝึ กทักษะ
4. ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
4.1 ความหมายของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
4.2 ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
4.3 ประเภทของการวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
4.4 หลักการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
5. งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
5.1 ผลการใช้แ บบฝึ กคณิ ต ศาสตร์ เ รื่ องการคู ณ ที่ มี ต่ อ ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการ
เรี ย นของนัก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 3 โรงเรี ย นเทศบาลวัด ราษฎร์ นิ ย มธรรมสั ง กัด กอง
การศึ ก ษาเทศบาลเมื อ งศรี ราชา
5.2 การพัฒ นาแผนการจัด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ วิ ช าคณิ ต ศาสตร์ เรื่ องเงิ น
ชั้น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 2 โดยใช้แ บบฝึ กทัก ษะ
6

5.3 ผลการใช้ แ บบฝึ กทัก ษะคณิ ต ศาสตร์ ที่ มี ต่ อ ผลสั ม ฤทธิ์ และเจตคติ
ทางการเรี ย นคณิ ต ศาสตร์ ข องนัก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 โรงเรี ย นเคหะประชา
สามัค คี จัง หวัด นครราชสี ม า
5.4 การพัฒ นากิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ วิ ช คณิ ต ศาสตร์ โดยใช้ แ บบฝึ กเสริ ม
ทัก ษะการคิ ด คานวณเรื่ อ งการหาร ของนัก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 2
5.5 การพัฒ นาชุ ด ฝึ กทัก ษะการแก้ โ จทย์ปั ญ หาคณิ ต ศาสตร์ เรื่ อง การบวก
การลบ ชั้น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 2

1. หลักสู ตร
1.1 หลักสู ตรกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ คณิตศำสตร์ ตำมหลักสู ตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้น
พืน้ ฐำน พุทธศักรำช 2551
คณิ ตศาสตร์ มีบทบาทสาคัญยิง่ ต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ ทาให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์
คิดอย่างมีเหตุผล เป็ นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรื อสถานการณ์ได้อย่างถี่ถว้ นรอบคอบ
ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสิ นใจ แก้ปัญหา และนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
นอกจากนี้คณิ ตศาสตร์ ยงั เป็ นเครื่ องมือในการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและศาสตร์ อื่น ๆ
คณิ ตศาสตร์ จึงมีประโยชน์ต่อการดาเนินชีวติ ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวติ ให้ดีข้ ึน และสามารถอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่น
ได้อย่างมีความสุ ข
วิสัยทัศน์
การศึกษาคณิ ตศาสตร์ สาหรับหลักสู ตรการศึกษาแกนกลางขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ เปิ ดโอกาสให้เยาวชนทุกคนได้เรี ยนรู้คณิ ตศาสตร์ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตตามศักยภาพ
ทั้งนี้เพื่อให้เยาวชนเป็ นผูม้ ีความรู ้ความสามารถทางคณิ ตศาสตร์ที่พอเพียง สามารถนาความรู้
ทักษะและกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ ที่จาเป็ นไปพัฒนาคุณภาพชีวติ ให้ดียงิ่ ขึ้น รวมทั้งสามารถ
นาไปเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู ้สิ่งต่าง ๆ และเป็ นพื้นฐานสาหรับการศึกษาต่อ ดังนั้นจึงเป็ นความ
รับผิดชอบของสถานศึกษาที่ ต้องจัดสาระการเรี ยนรู ้ที่เหมาะสมแก่ผเู ้ รี ยนแต่ละคน ทั้งนี้เพื่อให้
บรรลุตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้ที่หลักสู ตรกาหนดไว้
สาหรับผูเ้ รี ยนที่มีความสามารถทางคณิ ตศาสตร์ และต้องการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ มากขึ้น ให้
ถือเป็ นหน้าที่ของสถานศึกษาที่จะต้องจัดโปรแกรมการเรี ยนการสอนให้แก่ผเู ้ รี ยน เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้
มีโอกาสเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติมตามความถนัดและความสนใจ ทั้งนี้เพื่อให้เป็ นผูเ้ รี ยนมีความรู้ที่
ทัดเทียมกับนานาอารยประเทศ
7

หลักกำร
หลักสู ตรสถานศึกษาโรงเรี ยนบ้านน้ าริ น (ดอยสะเก็ดศึกษา ) ได้ใช้หลักการพัฒนาหลักสู ตร
ตามแบบของหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่ งมีหลักการที่สาคัญ ดังนี้
๑. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาเพื่อความเป็ นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการ
เรี ยนรู้ เป็ นเป้ าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบน
พื้นฐาน ของความเป็ นไทยควบคู่กบั ความเป็ นสากล
๒. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอ
ภาค และมีคุณภาพ
๓. เป็ นหลัก สู ตรการศึ ก ษาที่ ส นองการกระจายอานาจ ให้สั ง คมมี ส่ วนร่ วมในการจัด
การศึกษา ให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น
๔. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาที่มีโครงสร้ างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรี ยนรู ้ เวลาและการจัด
การเรี ยนรู้
๕. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ
๖. เป็ นหลัก สู ต รการศึ ก ษาส าหรั บ การศึ ก ษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธ ยาศัย
ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้ าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรี ยนรู ้ และประสบการณ์
จุดหมำย
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความมุ่งหมายในการพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เป็ นคนดี มี
ปัญญา มีความสุ ข
มีศกั ยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็ นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผูเ้ รี ยน เมื่อ
จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้
๑. มี คุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิ ยมที่ พึงประสงค์ เห็ นคุ ณค่าของตนเอง มี วินัยและ
ปฏิบตั ิตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรื อศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
๒. มีความรู ้ ความสามารถในการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมี
ทักษะชีวติ
๓. มีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกาลังกาย
๔. มีความรักชาติ มีจิตสานึ กในความเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมัน่ ในวิถีชีวิตและ
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข
8

๕. มี จิตส านึ ก ในการอนุ รัก ษ์ว ฒ


ั นธรรมและภู มิ ปั ญ ญาไทย การอนุ รัก ษ์และพัฒ นา
สิ่ งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่ งที่ดีงามในสังคม และอยูร่ ่ วมกันในสังคม
อย่างมีความสุ ข
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
สมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ คือ
๑. ควำมสำมำรถในกำรสื่ อสำร เป็ นความสามารถในการรับและส่ งสาร มีวฒั นธรรมในการ
ใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู ้ความเข้าใจ ความรู ้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสารและประสบการณ์ อนั จะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจา
ต่อรองเพื่อขจัดและลดปั ญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลื อกรั บหรื อไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลัก
เหตุ ผ ลและความถู ก ต้อ ง ตลอดจนการเลื อ กใช้วิธี ก ารสื่ อ สาร ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพโดยค านึ ง ถึ ง
ผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
๒. ควำมสำมำรถในกำรคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพื่อนาไปสู่ การสร้างองค์ความรู ้
หรื อสารสนเทศเพื่อการตัดสิ นใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
๓. ควำมสำมำรถในกำรแก้ ปัญหำ เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ
ที่เผชิ ญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ้ ประยุกต์ความรู ้
มาใช้ในการป้ องกันและแก้ไขปั ญหา และมีการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่
เกิดขึ้น ต่อตนเอง สังคมและสิ่ งแวดล้อม
๔. ควำมสำมำรถในกำรใช้ ทักษะชี วิต เป็ นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้
ในการดาเนิ นชี วิตประจาวัน การเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่ อง การทางาน และการอยู่
ร่ วมกันในสังคมด้วยการสร้ างเสริ มความสัมพันธ์ อนั ดี ระหว่างบุ คคล การจัดการปั ญหาและความ
ขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทนั กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม
และการรู ้จกั หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ ื่น
๕. ควำมสำมำรถในกำรใช้ เทคโนโลยี เป็ นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีดา้ น
ต่าง ๆ และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรี ยนรู้ การ
สื่ อสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
9

2. ทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ องกับคณิตศำสตร์


2.1 ควำมหมำยของคณิตศำสตร์
ลาดวน บารุ งศุภกุล (2551, ออนไลน์) ได้ให้ความหมายว่า คณิ ตศาสตร์ เป็ นวิชาที่
เกี่ยวกับการคานวณ เป็ นวิชาที่เน้นในด้านความคิด ความเข้าใจ ในเรื่ องราวเกี่ยวกับตัวเลข และ
เครื่ องมือที่ช่วยให้ผเู ้ รี ยนคิดอย่างมีเหตุผลใช้ในการสื่ อความหมาย เป็ นประโยชน์ และเกี่ยวข้องกับ
ชีวติ ประจาวัน
ปราณี จิณฤทธิ์ (2552, น.10) ได้ให้ความหมายว่า คณิ ตศาสตร์ เป็ นวิชาที่เกี่ยวข้องกับ
จานวนตัวเลข การคิดคานวณ การวัด เรขาคณิ ต พี ชคณิ ต และทักษะกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์
เพื่ อ พิ สู จ น์ ห าเหตุ ผ ล และสามารถน าเหตุ ผ ลนั้ น ไปใช้ ก ั บ วิ ช าอื่ น หรื อการประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น
ชีวติ ประจาวัน
มัทนา สี แสด (2552, น.14) ได้ให้ความหมายว่า คณิ ตศาสตร์ เป็ นวิชาที่วา่ ด้วยการคานวณ
โดยอาศัยจานวนตัวเลข ปริ มาตร ขนาด รู ปร่ าง และสัญลักษณ์ เป็ นสื่ อในการสร้ างความเข้า ใจ
ความคิ ด ที่ เ ป็ นระบบ มี เ หตุ ผ ล มี วิ ธี ก าร และหลัก การที่ แ น่ น อน เป็ นศาสตร์ และศิ ล ป์ ในการ
พัฒนาการเรี ยนการสอนคณิ ตศาสตร์ ให้มีประสิ ทธิ ภาพมากยิง่ ขึ้น โดยจัดให้มีความสัมพันธ์กนั และ
คานึงถึงสิ่ งที่เกี่ยวข้องในชีวติ ประจาวัน
ไข่มุก มณี ศรี (2554, น.25) ได้ให้ความหมายว่า คณิ ตศาสตร์ เป็ นวิชาที่ เกี่ ยวกับพื้นฐาน
ทางจานวนตัวเลข การคานวณ และการจัดโดยสัมพันธ์กบั ตัวเลข และสัญลักษณ์ (Symbols) แทน
จานวนเพื่อสื่ อความหมาย และเข้าใจกันได้ เป็ นเครื่ องมือที่แสดงความคิดเห็นเป็ นระเบียบแบบแผน
ที่ ป ระกอบไปด้ว ยเหตุ ผ ล ซึ่ งมี วิ ธี ก าร และหลัก เกณฑ์ที่ แ น่ นอน เพื่ อ สามารถน าไปใช้ใ นการ
แก้ปัญหาภายในชี วิตประจาวันได้ จากที่กล่าวมาข้างต้นจะสรุ ปได้ว่า ความรู ้ และทักษะพื้นฐาน
ทางด้านคณิ ตศาสตร์ ช่วยให้ผเู ้ รี ยนมีความพร้อมที่จะเรี ยน เป็ นพื้นฐานที่ช่วยให้เด็กรู ้จกั แก้ปัญหา มี
ความสามารถในการคิ ด ค านวณ ซึ่ ง ช่ วยให้เด็ ก พร้ อมที่ จะคิ ด ค านวณในขั้น ต่ อๆไป ช่ วยสร้ า ง
ประสบการณ์ เกี่ ยวกับคณิ ตศาสตร์ ที่สอดคล้องเป็ นลาดับจากง่ ายไปหายาก มีความสาคัญต่ อการ
ดาเนินชีวติ เพราะในการดาเนินชีวติ ตลอดจนการศึกษาสามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้
2.2 ควำมสำคัญของคณิตศำสตร์
มัทนา สี แสด (2552, 15) กล่าวถึง ความสาคัญของคณิ ตศาสตร์ วา่ คณิ ตศาสตร์ มีความสาคัญ
ทั้งในการพัฒนาผูเ้ รี ยนให้รู้จกั ใช้ความคิด มีเหตุผล รู ้จกั วิธีการแสวงหาความรู ้ใหม่ ๆ และเป็ น
ทักษะที่สาคัญที่ตอ้ งใช้ท้ งั ในชีวติ ประจาวันของทุกคนทั้งในด้านการประกอบอาชีพ วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีต่างๆ ตลอดจนช่วยปลูกฝังคุณลักษณะที่ดีของการเป็ นทรัพยากรมนุษย์ที่ดี ในการ
ดาเนินชี วติ ทางสังคมให้เป็ นคนดี คนเก่ง และมีความสุ ข สามารถใช้ชีวติ ได้อย่างมีคุณภาพ
10

ลักขณา ภูวลิ ยั (2552, น.12) กล่าวว่า คณิ ตศาสตร์ มีบทบาทสาคัญยิง่ ต่อการพัฒนาความคิด


ของมนุษย์ ทาให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็ นระเบียบ มีแบบแผน สามารถ
วิเคราะห์ปัญหา และสถานการณ์ได้อย่างถี่ถว้ นรอบคอบ ทาให้สามารถคาดการณ์ วางแผน
ตัดสิ นใจ และแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

2.3 แนวคิดและทฤษฎีทำงคณิตศำสตร์
สุ คนธ์ สิ นธพานนท์ (2553, น.98-100) ได้กล่าวว่า ในการสร้างชุดฝึ กทักษะการเรี ยนรู ้ที่
เหมาะสม และสามารถนาไปใช้ในการเรี ยนรู ้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพนั้นจาเป็ นต้องนาหลักจิตวิทยา
และหลักการสอนมาเป็ นพื้นฐานในการจัดทาด้วย
2.3.1. ทฤษฎีการสอนของบรู เนอร์ (Bruner’s Instruction Theory) กล่าวว่าการที่ครู จะจัดการ
เรี ยนการสอนให้กบั นักเรี ยนนั้น จะต้องพิจารณาหลักการ 4 ประการ คือ
1. แรงจูงใจ (Motivation) ซึ่ งมีท้ งั แรงจูงใจที่เกิดจากภายในตัวนักเรี ยนเอง จะทาให้เกิด
ความปรารถนาที่จะเรี ยนรู ้ และความต้องการความสาเร็ จ นอกจากนั้นยังมีแรงจูงใจที่ตอ้ งการเข้า
ร่ วมงานกับผูอ้ ื่น และรู ้จกั ทางานด้วยกัน กล่าวได้วา่ ครู จะต้องทาให้นกั เรี ยนเกิดความปรารถนาที่จะ
รู ้ โดยการจัดการทาให้นกั เรี ยนมีแรงจูงใจมากขึ้น เพื่อนักเรี ยนจะได้พยายามสารวจทางเลือกต่างๆ
อย่างมีความหมาย และพึงพอใจอันจะนาไปสู่ เป้ าหมายที่ตอ้ งการ
2. โครงสร้างของความรู้ (Structure of Knowledge) มีการเสนอเนื้ อหาให้กบั นักเรี ยนใน
รู ปแบบที่ง่ายเพียงพอที่ผเู ้ รี ยนสามารถเข้าใจได้ เช่น เสนอโดยให้กระทาจริ ง ใช้รูปภาพ ใช้
สัญลักษณ์มีการเสนอข้อมูลอย่างกระชับ เป็ นต้น
3. ลาดับขั้นของการเสนอเนื้ อหา (Sequence) ผูส้ อนควรเสนอเนื้อหาตามขั้นตอน และควร
เสนอในรู ปแบบของการกระทามากที่สุด ใช้คาพูดน้อยที่สุดต่อจากนั้นจึงค่อยเสนอเป็ นแผนภูมิหรื อ
รู ปภาพต่างๆ สุ ดท้ายจึงค่อยเสนอเป็ นสัญลักษณ์หรื อคาพูด ในกรณี ที่ความรู ้พ้นื ฐานของนักเรี ยนดี
พอแล้วครู ก็สามารถเริ่ มการสอนด้วยการใช้สัญลักษณ์ได้เลย
4. การเสริ มแรง (Reinforcement) การเรี ยนรู้จะมีประสิ ทธิภาพถ้ามีการให้การเสริ มแรงเมื่อ
นักเรี ยนสามารถแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องตามเป้ าหมายที่กาหนดให้
2.3.2. ทฤษฎี ก ารเชื่ อ มโยง (Connectionism) ของธอร์ น ไดค์ ซึ่ งทิ ศ นา แขมมณี
(2555, น.51) ได้ก ล่ า วว่ า ธอร์ น ไดค์ เ ชื่ อ ว่ า การเรี ย นรู ้ เ กิ ด จากการเชื่ อ มโยงระหว่ า งสิ่ ง เร้ า
กับ การตอบสนอง ซึ่ งมี ห ลายรู ป แบบ บุ ค คลจะมี ก ารลองผิ ด ลองถู ก ปรั บ เปลี่ ย นไปเรื่ อยๆ
จนกว่ า จะพบรู ป แบบการตอบสนองที่ ส ามารถให้ ผ ลที่ พึ ง พอใจมากที่ สุ ด เมื่ อ เกิ ด การ
เรี ย นรู้ แ ล้ว บุ ค คลจะใช้รู ป แบบการตอบสนองที่ เ หมาะสมเพี ย งรู ป แบบเดี ย ว และจะ
11

พยายามใช้ รู ป แบบนั้น เชื่ อ มโยงกับ สิ่ ง เร้ า ในการเรี ย นรู ้ ต่ อ ไปเรื่ อยๆ กฎการเรี ยนรู ้
ของธอร์ น ไดค์ ส รุ ปได้ ดัง นี้
2.3.2.1 กฎแห่ ง ความพร้ อ ม การเรี ย นรู ้ จ ะเกิ ด ขึ้ น ได้ดี ถ้ า ผู ้เ รี ย นมี ค วามพร้ อ มทั้ง
ร่ า งกาย และจิ ต ใจ
2.3.2.2 กฎแห่ ง การฝึ กหั ด การฝึ กหั ด หรื อการกระทาบ่ อ ยๆ ด้ ว ยความเข้า ใจจะ
ทาให้ ก ารเรี ย นรู ้ น้ ั น คงทนถาวร ถ้า ไม่ ไ ด้ก ระทาซ้ า บ่ อ ยๆ การเรี ย นรู ้ น้ ั น จะไม่ ค งทนถาวร
และในที่ สุ ด อาจลื ม ได้
2.3.2.3 กฎแห่ ง การใช้ การเรี ย นรู ้ เ กิ ด จากการเชื่ อ มโยงระหว่ า งสิ่ ง เร้ า กับ การ
ตอบสนอง ความมั่น คงของการเรี ย นรู ้ จ ะเกิ ด ขึ้ น หากได้มี ก ารนาไปใช้ บ่ อ ยๆ หากไม่ มี
การใช้ อ าจมี ก ารลื ม เกิ ด ขึ้ นได้
2.3.2.4. กฎแห่ ง ผลที่ พ อใจ เมื่ อ บุ ค คลได้ รั บ ผลที่ พึ ง พอใจย่ อ มอยากจะเรี ย นรู ้
ต่ อ ไป แต่ ถ้ า รั บ ผลที่ ไ ม่ พึ ง พอใจจะไม่ อ ยากเรี ยนรู ้ ดัง นั้น การได้ รั บ ผลที่ พึ ง พอใจ จึ ง เป็ น
ปั จ จัย สาคัญ ในการเรี ย นรู้
2.3.3. ทฤษฎี ก ารเรี ยนรู้ ก ารวางเงื่ อ นไข (The Condition of Learning) กาเย่ ไ ด้
ศึ ก ษาแนวคิ ด ทฤษฎี ก ารเรี ยนรู ้ ข องนัก จิ ต วิ ท ยากลุ่ ม พฤติ ก รรมนิ ย ม ปั ญ ญานิ ย ม และ
มนุ ษ ยนิ ย ม และได้นาแนวคิ ด เหล่ า นั้น มาประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการอธิ บ ายพฤติ ก รรมมนุ ษ ย์ใ น
สั ง คม ส่ ว นใหญ่ เ ขาจะเน้ น ไปทางแนวคิ ด ของนัก จิ ต วิ ท ยาของกลุ่ ม ปั ญ ญานิ ย ม กาเย่ ไ ด้
เสนอแนวทางการจัด การเรี ย นการสอนในห้ อ งเรี ย นให้ คานึ ง ถึ ง ปั จ จัย ต่ า งๆ ดัง นี้
2.3.3.1 ลัก ษณะของผู ้เ รี ย น ผู้ส อนจะต้อ งพิ จ ารณาถึ ง กับ เรื่ องความแตกต่ า ง
ระหว่ า งบุ ค คลความพร้ อ ม แรงจู ง ใจ
2.3.3.2 กระบวนการทางปั ญ ญา และการสอน เงื่ อ นไขการเรี ย นรู ้ ที่ ส่ ง ผลทาให้
การสอนต่ า งกัน เช่ น
- การถ่ า ยโยงการเรี ย นรู ้ มี 2 ลัก ษณะ คื อ ทาให้ เ กิ ด การเรี ย นรู ้ ท ัก ษะใน
ระดับ ที่ สู ง ได้ดี ข้ ึ น และแผ่ ข ยายไปสู่ ส ภาพการณ์ อื่ น นอกเหนื อ จากสภาพการสอน
- การเรี ย นรู้ ท ัก ษะการเรี ย นรู้ บุ ค คลอาจมี วิ ธี ก ารที่ จ ะจัด การเรี ยนรู้ การ
จดจาและการคิ ด ด้ว ยตัว เขาเอง จึ ง ควรช่ ว ยพัฒ นาทัก ษะการเรี ย นรู ้ ใ ห้ แ ก่ ผู ้เ รี ย นให้ พ ัฒ นา
ไปตามศัก ยภาพของตนเองอย่ า งเต็ ม ที่
- การสอนกระบวนการแก้ปัญหา มี 2 เงื่อนไข คือผูเ้ รี ยนจะต้องรู ้กฎเกณฑ์ต่างๆที่จา
เป็ นมาก่อนและสภาพของปั ญหาที่เผชิ ญนั้นผูเ้ รี ยนต้องไม่เคยเผชิญมาก่อน ผูเ้ รี ยนจะค้นพบคาตอบ
จากการเรี ยนรู้โดยการค้นพบ ซึ่ งผูเ้ รี ยนจะมีโอกาสค้นพบเกณฑ์ต่างๆในระดับที่สูงขึ้น
12

- สภาพการณ์ สาหรับการเรี ย นรู้ ผูส้ อนจะต้องรู้ สภาพการณ์ ของการเรี ย นรู้ จึง จะ


สามารถวางระบบการเรี ยนรู ้ได้อย่างเหมาะสม เช่น การสอนซ่ อมเสริ ม การสอนกลุ่มเล็ก การสอน
กลุ่มใหญ่
2.4 ประโยชน์ และคุณค่ ำของคณิตศำสตร์
ฉวีวรรณ เศวตมาลย์ (2545, หน้า 20-21) อธิ บายประโยชน์ของคณิ ตศาสตร์ มีประโยชน์ต่อ
มนุษย์ ดังนี้
1. ประโยชน์ในการนาไปใช้จริ ง (Practical Values) ในการดารงชี วิตประจาวัน เช่ น
การคานวณ การหากาไรขาดทุน การคานวณภาษี การหาระยะทาง หรื อคณิ ตศาสตร์ ในงานอาชี พ
เช่ น เกี่ ยวกับเทคโนโลยีต่าง ๆ ต้องอาศัยคณิ ตศาสตร์ ในการคานวณ งานวิศวกรต่าง ๆ นักการ
ธนาคาร การควบคุมคุณภาพ การอาชีพเกือบทุกแขนงต้องอาศัยพื้นความรู ้ทางคณิ ตศาสตร์
2. ประโยชน์ในการฝึ กวินยั (Disciplinary Values) คณิ ตศาสตร์ เสริ มสร้างลักษณะนิสัย
และเจตคติบางอย่าง ความมีระเบียบในการทางาน ความมีเหตุผลในการแก้ปัญหาการมีความคิ ด
ริ เริ่ มสร้างสรรค์ เข้าใจและพอใจในสิ่ งที่เป็ นสัจจะ
3. ประโยชน์ทางวัฒนธรรม (Cultural Values) คณิ ตศาสตร์ เป็ นกลุ่มสาระ การ
เรี ยนรู ้ที่สอนให้มีเหตุมีผล เป็ นวิชาที่สืบทอดมาจากชนรุ่ นก่อน จนถึงปั จจุบนั สามารถทาให้สืบค้น
เรื่ องราวประวัติศาสตร์ ได้เป็ นอย่างดี เห็นคุณค่าและเข้าใจความเจริ ญงอกงามทางวิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยีซ่ ึ งเป็ นผลมาจากความเจริ ญและวิวฒั นาการทางคณิ ตศาสตร์ มาตั้งแต่โบราณกาล
สมเดช บุญประจักษ์ (2550, หน้า 10-11) กล่าวถึงประโยชน์ของคณิ ตศาสตร์ ไว้ดงั นี้
1. นาไปใช้เป็ นเครื่ องมือหรื อความรู ้ใช้ในการดารงชี วติ เช่น ความรู ้ดา้ นตัวเลข การชัง่
การตวง การวัด เวลา เงิน
2. ประโยชน์ต่อการพัฒนาวิชาชีพต่าง ๆ ให้เจริ ญก้าวหน้ายิง่ ขึ้น โดยนาคณิ ตศาสตร์ ไป
ใช้ ใ นวิ ช าชี พ ต่ า ง ๆ เช่ น อาชี พ ค้ า ขาย ธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรม วิ ท ยาศาสตร์ ดาราศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์ พาณิ ชยกรรมศาสตร์ การสารวจรังวัด
3. ประโยชน์แง่ การปลู กฝั งคุ ณธรรมที่ ดีงาม โดยคณิ ตศาสตร์ สามารถนามาฝึ กและ
พัฒนาให้ผูเ้ รี ย นมี นิสั ย ทัศ นคติ หรื อความสามารถทางสมองหลายประการ ท าให้เป็ นคนช่ า ง
สังเกต การรู้จกั คิดวิเคราะห์การสังเคราะห์ การเป็ นคนที่มีเหตุมีผล
4. ความรู ้เกี่ยวกับคณิ ตศาสตร์ สามารถถ่ายทอดจากรุ่ นหนึ่ งไปสู่ อีกรุ่ นหนึ่ งได้ บ่งบอก
ให้เห็นถึงความชื่นชม ความภูมิใจในผลงานของคณิ ตศาสตร์ เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม
13

สิ ริพร ทิพย์คง (2545, หน้า 1) ได้กล่าวไว้วา่ วิชาคณิ ตศาสตร์ เป็ นวิชาที่ช่วยก่อให้เกิด ความ
เจริ ญก้าวหน้าทั้งทางด้านคณิ ตศาสตร์ และเทคโนโลยี โลกในปั จจุบนั เจริ ญขึ้นเพราะการคิดค้นทาง
คณิ ตศาสตร์ ซึ่งต้องอาศัยความรู้ทางคณิ ตศาสตร์
ยุพิน พิพิธกุล (2545, หน้า 1) ได้กล่าวไว้ว่า คณิ ตศาสตร์ เป็ นวิชาที่เกี่ ยวกับความคิด เราใช้
คณิ ตศาสตร์ พิสูจน์อย่างมีเหตุผลว่า สิ่ งที่เราคิดนั้นเป็ นความจริ งหรื อไม่ ด้วยวิธีคิดเราก็สามารถนา
คณิ ตศาสตร์ ไปแก้ไขปั ญหาทางคณิ ตศาสตร์ ได้ คณิ ตศาสตร์ ช่วยให้เราเป็ นผูม้ ีเหตุผล เป็ นคนใฝ่ รู้ต
พยายามคิดสิ่ งแปลกใหม่ คณิ ตศาสตร์ จึงเป็ นรากฐานแห่งความเจริ ญของเทคโนโลยีดา้ นต่าง ๆ
จากที่ ก ล่ าวมาสรุ ป ได้ว่า วิช าคณิ ตศาสตร์ เป็ นวิช าที่ มี ลกั ษณะเฉพาะ และเป็ นวิชา ที่ มี
ความสาคัญ มีเหตุและผล จึงจาเป็ นสาหรับผูเ้ รี ยน ทาให้ผูเ้ รี ยนสามารถคิ ดอย่างอิ สระคิดอย่างมี
ระบบแบบแผน รวมทั้งสามารถประยุกต์ใช้ให้เป็ นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม

3 ชุดฝึ กทักษะเรื่องกำรคูณ
3.1 ควำมหมำยของชุ ด ฝึ กทั ก ษะ
สุ คนธ์ สิ นธพานนท์ (2553, น.96) ได้ให้ความหมายของชุดฝึ กทักษะว่า สื่ อที่สร้างขึ้นเพื่อให้
นักเรี ยนได้ทากิจกรรมที่เป็ นการทบทวนหรื อเสริ มเพิ่มเติมความรู ้ให้แก่นกั เรี ยน หรื อให้นกั เรี ยนได้
ฝึ กทักษะการเรี ยนรู ้หลายๆรู ปแบบเพื่อสร้างเสริ มประสบการณ์การเรี ยนรู ้ให้แก่ผเู ้ รี ยนได้มี
คุณลักษณะตามที่ตอ้ งการ
ศันสนี ย ์ สื่ อสกุล (2554, น.24) งานหรื อกิ จกรรมที่ครู ผสู ้ อนมอบหมายให้นกั เรี ยนทาเพื่ อฝึ ก
ทักษะและทบทวนความรู้ที่ได้เรี ย นไปแล้วให้เกิดความชานาญ ถูกต้อง คล่องแคล่ว จนสามารถนา
ความรู ้ ไปแก้ปัญหาได้โดยอัตโนมัติ จากความหมายของชุ ดฝึ กทักษะข้างต้น สรุ ปได้ว่า ชุ ดฝึ ก
ทักษะเป็ นสื่ อที่สร้างขึ้นเพื่อให้นกั เรี ยนได้ฝึกฝนความรู ้ที่ได้เรี ยนไปหรื อเป็ นการเสริ มความรู ้ให้กบั
นักเรี ยนเพื่อให้เกิดความถูกต้อง ชานาญ
3.2 หลักกำรสร้ ำงชุ ดฝึ กทักษะ
จิรเดช เหมือนสมาน (2551, 8) ได้ให้แนวทางในการดาเนินการสร้างชุดฝึ กทักษะไว้ดงั นี้
กาหนดจุดมุ่งหมายและวางแผนในการดาเนินการสร้างชุดฝึ กทักษะวิเคราะห์ทกั ษะและเนื้อหาวิชาที่
ต้องการสร้ า งชุ ดฝึ กทักษะเป็ นทักษะย่อยๆ และเขี ย นจุ ดประสงค์เชิ ง พฤติ กรรมตามทักษะและ
เนื้ อ หาย่อ ยๆนั้น เขี ย นชุ ด ฝึ กทัก ษะตามเนื้ อ หาและจุ ด ประสงค์ เ ชิ ง พฤติ ก รรมที่ ก าหนดไว้ใ ห้
สอดคล้องกับหลักจิตวิทยาการเรี ยนรู ้ และจิตวิทยาพัฒนาการตามวัยของผูเ้ รี ยนกาหนดรู ปแบบของ
ชุดฝึ กทักษะ
14

สุ ค นธ์ สิ น ธพานนท์ (2553, น.97) กล่ า วว่ า ชุ ด ฝึ กทัก ษะมี ห ลัก สาคัญ เป็ นแนวในการ
จัด ทาชุ ด ฝึ กทัก ษะ ดัง นี้
1. จัด เนื้ อ หาสาระในการฝึ กตรงตามจุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู ้
2. เนื้ อ หาสาระ และกิ จ กรรมการฝึ กเหมาะสมกับ วัย และความสามารถของผู้เ รี ย น
3. การวางรู ป แบบของชุ ด ฝึ กทัก ษะมี ค วามสั ม พัน ธ์ ก ับ โครงเรื่ อง และเนื้ อ หาสาระ
4. ชุ ด ฝึ กทัก ษะต้อ งมี คาชี้ แจงง่ า ยๆ สั้ นๆ เพื่ อ ให้ ผู ้เ รี ย นอ่ า นเข้า ใจ เรี ย งจากง่ า ยไป
ยากมี แ บบฝึ กทัก ษะที่ น่ า สนใจ และท้า ทายให้ ผู ้เ รี ย นได้แ สดงความสามารถ
5. มี ค วามถู ก ต้อ ง ครู ผู้ส อนจะต้อ งพิ จ ารณาตรวจสอบให้ ดี อ ย่ า ให้ มี ข ้อ ผิ ด พลาด
6. ก าหนดเวลาที ่ ใ ช้ ชุ ด ฝึ กทัก ษะแต่ ล ะตอนให้ เ หมาะสม นอกจากนี้ ยัง อธิ บ ายถึ ง
ขั้น ตอนการสร้ า งชุ ด ฝึ กทัก ษะ ดัง นี้
7. ศึ ก ษาหลัก สู ต ร หลัก การ จุ ด มุ่ ง หมายของหลัก สู ต ร
8. วิ เ คราะห์ ม าตรฐานการเรี ย นรู ้ ข องกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ และสาระการเรี ย นรู ้ เพื่ อ
วิ เ คราะห์ เ นื้ อ หา จุ ด ประสงค์ ใ นแต่ ล ะชุ ด การฝึ ก
9. จัด ทาโครงสร้ า งและชุ ด ฝึ กในแต่ ล ะชุ ด
10. ออกแบบชุ ด ฝึ กทัก ษะในแต่ ล ะชุ ด ให้ มี รู ป แบบที่ ห ลากหลาย และน่ า สนใจ
11. ลงมื อ สร้ า งแบบฝึ กใ นแต่ ล ะชุ ด รวมทั้ ง ออกข้อ ส อบก่ อ น และหลัง เรี ย นใ ห้
สอดคล้อ งกับ เนื้ อ หา และจุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู ้
12. นาไปให้ ผู้เ ชี่ ย วชาญตรวจสอบ
13. นาชุ ด ฝึ กทัก ษะไปทดลองใช้ บ ัน ทึ ก ผลแล้ว ปรั บ ปรุ งแก้ไ ขส่ ว นที่ บ กพร่ อ ง
14. ปรั บ ปรุ ง ชุ ด ฝึ กทัก ษะให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
15. นาไปใช้จ ริ ง
3.3 ประโยชน์ ข องชุ ด ฝึ กทั ก ษะ
สุ ค นธ์ สิ น ธพานนท์ (2553, น.96-97) ได้ก ล่ า วถึ ง ประโยชน์ ข องชุ ด ฝึ กทัก ษะ ดัง นี้
1. ช่วยให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองตามอัตภาพ เด็กแต่ละคนมีความสามารถแตกต่างกัน การ
ให้ผเู ้ รี ยนได้ทาชุ ดฝึ กทักษะที่เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละคนใช้เวลาที่แตกต่างกันออกไป
ตามลักษณะการเรี ยนรู ้ ของแต่ละคนจะทาให้ผเู ้ รี ยนเกิ ดการเรี ยนรู ้ ดว้ ยตนเองอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
ทาให้ผเู ้ รี ยนเกิดกาลังใจในการเรี ยนรู ้ นอกจากนั้นยังเป็ นการซ่ อมเสริ มผูเ้ รี ยนที่เรี ยนไม่ผา่ นเกณฑ์
การประเมิน
15

2. ชุดฝึ กทักษะช่วยเสริ มให้ผเู ้ รี ยนเกิดทักษะที่คงทน ชุดฝึ กทักษะสามารถให้ผเู ้ รี ยนได้ฝึกทันที


หลังจากจบบทเรี ยนนั้นๆ หรื อให้มีการฝึ กซ้ าหลายๆครั้งเพื่อความแม่นยาในเรื่ องที่ตอ้ งการฝึ ก หรื อ
เน้นย้าให้นกั เรี ยนทาชุดฝึ กทักษะเพิ่มเติมในเรื่ องที่ผดิ
3. ชุ ดการฝึ กสามารถเป็ นเครื่ องมือในการวัดผลหลังจากที่ผเู ้ รี ยนเรี ยนจบบทเรี ยนในแต่ละครั้ง
ผูเ้ รี ยนสามารถตรวจสอบความรู้ความสามารถของตนเองได้และเมื่อไม่เข้าใจ และทาผิดในเรื่ องใดๆ
ผูเ้ รี ยนก็สามารถซ่อมเสริ มตนเองได้ จัดได้วา่ เป็ นเครื่ องมือที่มีคุณค่าทั้งครู ผสู ้ อน และผูเ้ รี ยน
4. เป็ นสื่ อที่ช่วยเสริ มบทเรี ยนหรื อหนังสื อเรี ยนหรื อคาสอนของครู ผสู ้ อน ชุ ดฝึ กทักษะที่ครู ทา
ขึ้นเพื่อฝึ กทักษะการเรี ยนนอกเหนือจากความรู้ในหนังสื อเรี ยนหรื อบทเรี ยน
5. ลดภาระการสอนของครู ผสู ้ อน ไม่ตอ้ งฝึ กทบทวนความรู ้ ให้แก่นกั เรี ยนตลอดเวลาไม่ตอ้ ง
ตรวจงานด้วยตนเองทุกครั้ง นอกจากกรณี ที่ชุดฝึ กทักษะนั้นเป็ นการฝึ กทักษะการคิ ดที่ไม่มี เฉลย
ตายตัวหรื อมีแนวเฉลยที่หลากหลาย
6. เป็ นการฝึ กความรับผิดชอบของผูเ้ รี ยน การให้ผเู้ รี ยนได้เรี ยนรู้โดยการทาชุ ดฝึ กทักษะตาม
ลาพังโดยมี ภาระให้ทาตามที่ มอบหมาย จัดได้ว่าเป็ นการเสริ มสร้ างประสบการณ์ การทางานให้
ผูเ้ รี ยนได้นาไปประยุกต์ปฏิบตั ิในการดาเนินชีวติ
7. ผูเ้ รี ย นมี เ จตคติ ที่ ดี ต่ อ การเรี ย นรู้ การที่ ผูเ้ รี ย นได้ท าชุ ด ฝึ กทัก ษะการเรี ย นรู้ ที่ มี รู ป แบบ
หลากหลายจะทาให้ผเู ้ รี ยนสนุกและเพลิดเพลิน เป็ นการท้าทายให้ลงมือทากิจกรรมต่างๆตามชุ ดฝึ ก
ทักษะนั้นๆ

4 ผลสั ม ฤทธิ์ ท ำงกำรเรี ย นคณิ ต ศำสตร์


4.1. ควำมหมำยผลสั ม ฤทธิ์ ท ำงกำรเรี ย นวิ ช ำคณิ ต ศำสตร์
จัน ตรา ธรรมแพทย์ (2550, น.24) ได้ใ ห้ ค วามหมายว่ า ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ยน
วิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ห มายถึ ง ความสามารถด้า นสติ ปั ญ ญาในการเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ เพื่ อ
มุ่ ง วัด พฤติ ก รรมที่ พึ ง ประสงค์ ป ระกอบด้ว ย ความรู ้ ค วามจาเกี่ ย วกับ การคิ ด คานวณ ความ
เข้า ใจ การนาไปใช้ และการวิ เ คราะห์ ซึ่ งผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ น้ ี
สามารถนาไปเป็ นเกณฑ์ ป ระเมิ น ระดับ ความสามารถในการเรี ย นการสอน
ไข่ มุ ก มณี ศ รี (2554, น.57) ได้ใ ห้ ค วามหมายว่ า ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย น หมายถึ ง
ค ว า ม ส า เ ร็ จ ใ น ด้า น ค ว า ม รู ้ ท ัก ษ ะ แ ล ะ ส ม ร ร ถ ภ า พ ด้า น ต่ า ง ๆ ข อ ง ส ม อ ง ห รื อ
ประสบการณ์ ที่ ไ ด้จ ากการเรี ย นรู ้ อ ัน เป็ นผลมาจากการเรี ย นการสอน การฝึ กฝนหรื อ
ประสบการณ์ ต่ า งๆ ของแต่ ล ะบุ ค คลสามารถวัด ได้ โ ดยการทดสอบด้ ว ยวิ ธี ต่ า งๆ
16

กชพร ฤาชา (2555, น.31) ได้ใ ห้ ค วามหมายว่ า ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นเป็ นสิ่ งที่
มี ค วามสาคัญ อย่ า งยิ่ ง ต่ อ กระบวนการเรี ย นการสอนไม่ ว ่ า จะปรั บ ปรุ ง เปลี่ ย นแปลงวิ ธี
สอนอย่ า งไรก็ ต าม สิ ่ ง ที ่ พ ึ ง ปรารถนาของครู คื อ การสอนนั้ น จะต้อ งท าให้ น ัก เรี ย นมี
ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นสู ง ขึ้ น และสิ่ ง ที่ ใ ช้ สาหรั บ วัด ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นสิ่ ง หนึ่ ง ก็
คื อ แบบทดสอบวัด ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย น

4.2. ควำมหมำยของแบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์ทำงกำรเรียน


ค าว่า แบบทดสอบวัดผลสั ม ฤทธิ์ (Achievement test) นัก วัดผลและนัก การศึ ก ษาเรี ย กชื่ อ
แตกต่างกันไป เช่น แบบทดสอบความสัมฤทธิ์ แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ หรื อแบบสอบผลสัมฤทธิ์
และได้ให้ความหมายไว้ดงั นี้
พิชิต ฤทธิ์ จรู ญ (2548, หน้า 96) ให้ความหมายว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ เป็ นแบบทดสอบ
ที่ใช้วดั ความรู ้ ทักษะ และความสามารถที่ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้มาแล้วว่าบรรลุผลสาเร็ จตามจุดประสงค์
ที่กาหนดไว้เพียงใด
เยาวดี วิบูลย์ศรี (2548, หน้า 28) ให้ความหมายว่า แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ เป็ นแบบทดสอบวั
ดความรู ้ เชิ งวิชาการ มักใช้วดั ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เน้นการวัดความรู ้ ความสามารถจากการ
เรี ยนรู ้ในอดีต หรื อในสภาพปั จจุบนั ของแต่ละบุคคล
อรนุ ช ศรี สะอาดและคณะ (2550, หน้า 38) ให้ความหมายว่า แบบทดสอบวัดผลสั ม ฤทธิ์
ทางการเรี ยน หมายถึง แบบทดสอบที่วดั สมรรถภาพทางสมองด้านต่าง ๆ ของนักเรี ยนที่ได้รับการ
เรี ยนรู้มาแล้ว
สมนึ ก ภัททิยธนี (2551, หน้า 63) ให้ความหมายว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ หมายถึ ง
แบบทดสอบที่วดั สมรรถภาพสมองด้านต่าง ๆ ที่นกั เรี ยนได้รับการเรี ยนรู ้ผา่ นมาแล้วว่ามีอยูเ่ ท่าใด
กล่าวโดยสรุ ป แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้วดั สมรรถภาพทางสมอง
อันเป็ นผลมาจากการเรี ยนรู ้ทางวิชาการ ที่ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้มาแล้วว่าบรรลุผลสาเร็ จตามจุดประสงค์ที่
กาหนดไว้เพียงใด
4.3. ประเภทของกำรวัดผลสั มฤทธิ์ทำงกำรเรียน
บุญชม ศรี สะอาด (2545, หน้า 53) ได้แบ่งประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ เป็ น 2 ประเภท
คือ
1. แบบทดสอบอิงเกณฑ์ (Criterion Referenced Test) หมายถึงแบบทดสอบที่สร้ างขึ้น
ตามจุดประสงค์เชิ งพฤติกรรม มีคะแนนจุดตัดหรื อคะแนนเกณฑ์สาหรับใช้ตดั สิ นว่าผูส้ อบมีความรู้
17

ตามเกณฑ์ ที่ ก าหนดไว้ห รื อ ไม่ การวัด ตรงตามจุ ด ประสงค์เ ป็ นหัว ใจส าคัญ ของข้อ สอบใน
แบบทดสอบประเภทนี้
2. แบบทดสอบอิงกลุ่ม (Norm Referenced Test) หมายถึง แบบทดสอบที่ มุ่งสร้าง เพื่อ
วัดให้ครอบคลุมหลักสู ตร จึงสร้างตามตารางวิเคราะห์หลักสู ตร ความสามารถใน การจาแนกผูส้ อบ
ตามความเก่งอ่อนได้ดี เป็ นหัวใจสาคัญของข้อสอบในแบบทดสอบประเภทนี้ การรายงานผลการ
สอบอาศัย คะแนนมาตรฐาน ซึ่ งเป็ นคะแนนที่ ส ามารถให้ ค วามหมายแสดงถึ ง สถานภาพ
ความสามารถของบุคคลนั้น เมื่อเปรี ยบเทียบกับบุคคลอื่น ๆ ที่ใช้เป็ นกลุ่มเปรี ยบเทียบ
เยาวดี วิบู ล ย์ศ รี (2548, หน้า 22-26) ได้จ าแนกประเภทของแบบทดสอบวัด ผลสั ม ฤทธิ์
ทางการเรี ยนตามมิติต่าง ๆ ได้หลายมิติ ดังต่อไปนี้
1. จาแนกตามขอบข่ายของเนื้ อหาวิชาที่ วดั เช่ น แบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทาง การเรี ย นบาง
ประเภท จะวัดเนื้ อหาวิชาทางคณิ ตศาสตร์ หรื อการสะกดคา ขอบข่ายเนื้ อหาวิชาของแบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์ นั้น อาจกาหนดให้กว้างหรื อแคบได้ ตามปกติแล้วยังไม่มีมาตรฐานอ้างอิงสากลที่จะ
นาไปใช้ในการกาหนดเนื้ อหาวิชาสาหรับแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ผูใ้ ช้แบบทดสอบเท่า นั้นที่
จะต้องกาหนดเนื้ อหาวิชาขึ้นเอง โดยให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการสอบ ผูส้ ร้างแบบทดสอบ
สามารถที่จะพัฒนาแบบทดสอบให้มีเนื้อหาได้ตามขอบข่ายที่ตอ้ งการ
2. จาแนกตามลักษณะหน้าที่ ทวั่ ไปของแบบทดสอบ โดยแบ่งแบบทดสอบวัดผลสั ม ฤทธิ์
ทางการเรี ยนออกได้ 3 ลักษณะ คือ
2.1 แบบทดสอบวัดเพื่อการสารวจผลสัมฤทธิ์ เป็ นแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ที่ทาหน้าที่
ในการสารวจความสามารถทัว่ ๆ ไปของนักเรี ยน โดยประเมินความรู ้ในเนื้ อหาวิชาหรื อทักษะต่างๆ
เพื่อแสดงระดับความสามารถของนักเรี ยน ดังนั้น แบบทดสอบเพื่อการวัดผลสัมฤทธิ์ จึงมักจะ
ครอบคลุมเนื้ อหาทั้งในระดับกว้างและระดับทัว่ ไป และถือคะแนนรวมที่ได้จากแบบทดสอบเป็ น
ตัวชี้ถึงระดับความสามารถที่วดั ได้
2.2 แบบทดสอบเพื่ อวินิจฉัยผลสัม ฤทธิ์ เป็ นแบบทดสอบวัดผลสั ม ฤทธิ์ ที่ ท าหน้าที่ ในการ
วินิจฉัยเกี่ ยวกับจุ ดเด่ นและจุ ดด้อยขององค์ประกอบสาคัญทางด้านทักษะต่าง ๆ ของนักเรี ยนจึง
สามารถแบ่ ง ออกเป็ นแบบสอบชุ ดย่อย ๆ ได้อีก นอกจากนั้นคะแนนจากแบบสอบยัง แยกตาม
องค์ประกอบที่สาคัญของแต่ละองค์ประกอบ
2.3 แบบสอบถามเพื่อวัดความพร้ อม เป็ นแบบสอบถามซึ่ งทาหน้าที่ในการวัดทักษะที่
จาเป็ นสาหรับการเรี ยนในชั้นที่สูงขึ้น แบบสอบถามเพื่อวัดความพร้อมใช้สาหรับทานาย การกระทา
ในอนาคต จึงทาหน้าที่เป็ นเครื่ องมือในการวัดความถนัดไปในตัวด้วย
3. จาแนกตามคาตอบที่ใช้โดยทัว่ ไปแล้ว แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ที่ใช้กนั มักจะเป็ นแบบ
18

สอบประเภทข้อเขี ยน และที่ ใช้กนั ค่อนข้างมาก ได้แก่ แบบสอบภาคปฏิ บตั ิ ซึ่ งเป็ นแบบทดสอบที่
ต้องการให้นกั เรี ยนหรื อผูเ้ ข้าสอบได้สาธิตทักษะของตนเอง
นอกจากนี้ มัณฑนี กุฏาคาร (2542, หน้า 40-44) กล่าวว่า ประเภทของการวัดผลการศึกษามี
มากมายหลายชนิ ด แตกต่างกันไป แล้วแต่หลักเกณฑ์ที่จะใช้ในการพิจารณา ซึ่ งสามารถจาแนกได้
ดังนี้
1. จาแนกตามลาดับก่อนและหลังการเรี ยน แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
1.1 การวัดผลโดยการใช้แบบทดสอบก่อนสอน เป็ นการวัดผลความรู ้เดิม ก่อนทาการสอน
1.2 การวัดผล โดยการใช้แบบทดสอบหลังสอน เป็ นการวัดผลความรู้หลังจาก ที่ได้ทาการ
สอนไปแล้ว โดยใช้แบบทดสอบชุ ดเดิ มหรื อแบบทดสอบคู่ขนาน ซึ่ งผลของการวัดที่ได้น้ นั การ
วัดผลหลังสอนจะต้องได้ผลที่สูงกว่าก่อนสอน จึงจะเป็ นการแสดงว่า การสอนนั้นได้ผล
2. จาแนกตามวัตถุประสงค์ของการวัด แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
2.1 การวัดผลโดยใช้แบบทดสอบย่อย เป็ นการวัดผลระหว่างทาการสอน ในแต่ละวิชา โดยจะ
ทาการวัดผลหลังจากจบการเรี ยนในแต่ละหน่ วยการสอน เพื่อวัดระดับความรู ้ และค้นหาบางจุดที่
นักเรี ยนไม่สามารถเรี ยนให้รอบรู ้ได้ เพื่อนาไปปรับปรุ งการเรี ยนการสอนให้ดีข้ ึน
2.2 การวัดผลโดยใช้แบบทดสอบรวม เป็ นการวัดผลการเรี ย นครั้งละหลาย ๆ หน่วยการสอน
หรื อสิ้ นสุ ดการเรี ยนการสอนวิชานั้นแล้ว เพื่อเป็ นข้อมูล สาหรับการตัดสิ นความสามารถของผูเ้ รี ยน
ในวิชานั้น ๆ
3. จาแนกตามการตรวจให้คะแนน แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
3.1 การวัดผลโดยการใช้แบบทดสอบแบบอัตนัย เป็ นการวัดผลการใช้ความสามารถในการใช้
ภาษา ใช้ความคิด การแสดงออกทางอารมณ์ ทัศนคติและอื่น ๆ ให้ออกมาภายในระยะเวลาที่กาหนด
ซึ่ งการตรวจให้คะแนนของผูต้ รวจแต่ละคน จะได้ไม่ตรงกัน ด้วยสาเหตุ ที่มีความคิดเห็น หรื อการ
ตัดสิ นใจของผูต้ รวจเข้ามามีส่วนร่ วมด้วย
3.2 การวัดผล โดยการใช้แบบทดสอบแบบปรนัย เป็ นการวัดผลที่กาหนดคาตอบออกมาให้
เลือก หรื อกาหนดขอบเขตของคาถามมาให้ตอบสั้น ๆ เช่น ให้เลือกตอบทางใด ทางหนึ่ง ถูกหรื อผิด
จริ งหรื อไม่จริ ง ใช่หรื อไม่ใช่ หรื อให้เลือกคาตอบที่ถูกที่สุดมาตอบ หรื อให้จบั คู่คาตอบกับคาถามที่
มี ความสัมพันธ์ กนั หรื อให้เติมคาตอบข้อความสั้น ๆ ลงในช่ องว่างให้สมบูรณ์ เป็ นต้น ซึ่ งการ
ตรวจให้คะแนนของผูต้ รวจแต่ละคนจะตรงกัน
4. จาแนกตามลักษณะการแปลความหมายของคะแนน แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
4.1 การวัดผลโดยใช้แบบทดสอบแบบอิงกลุ่ม เป็ นการวัดผลในลักษณะการนาคะแนนมา
เปรี ยบเทียบกันในกลุ่มว่าอยู่ ณ ตาแหน่งใด เมื่อเทียบกับคนอื่น ๆ โดยใช้แบบทดสอบชนิดเดียวกัน
19

4.2 การวัดผลโดยใช้แบบทดสอบแบบอิงเกณฑ์ เป็ นการวัดผล โดยใช้หลักเกณฑ์ภายนอกมา


เป็ นจุดเปรี ยบเทียบ คือ เป็ นการวัดในลักษณะของการนาคะแนนไปเปรี ยบเทียบกับเกณฑ์ที่กาหนด
โดยไม่สนใจกับคะแนนของคนอื่น ๆ
5. จาแนกตามจานวนผูเ้ ข้าสอบ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
5.1 การวัดผลโดยใช้แ บบทดสอบรายบุ ค คล เป็ นการวัดผลในลัก ษณะตัว ต่ อ ตัว คื อ มี
ครู 1 คน ทาการวัดผลนักเรี ยนทีละคน อาจจะเป็ นการสอบสัมภาษณ์ หรื อสอบปากเปล่า
5.2 การวัดผลโดยใช้แบบทดสอบรายกลุ่ม เป็ นการวัดผลในลักษณะที่ใช้กนั ในปั จจุบนั คือ
มีครู 1 คน ทาการวัดผลนักเรี ยนหลาย ๆ คน
6. จาแนกตามเวลาที่ใช้แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
6.1 การวัดผลโดยใช้แบบทดสอบแบบใช้ความเร็ ว เป็ นการวัดผลที่กาหนดเวลาให้น้อยมาก
และมีจานวนข้อมากข้อ แต่มกั จะเป็ นข้อที่ง่าย ๆ เนื่องจากต้องการความเร็ วในการทา
6.2 การวัดผล โดยใช้แบบทดสอบแบบให้เวลาเต็มที่ เป็ นการวัดผลที่ไม่กาหนดเวลา ผูส้ อบ
สามารถท าจนกระทั่ง คิ ด ว่ า ไม่ ส ามารถจะท าต่ อ ไปได้อี ก แล้ว ซึ่ งจะแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ระดับ
ความสามารถสู งสุ ดของบุคคลนั้น
7. จาแนกตามรู ปแบบของข้อสอบ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
7.1 การวัดผลโดยใช้แบบทดสอบที่ให้เขียนตอบเอง เป็ นการวัดผลที่ประกอบด้วยข้อสอบ
เติมคา บรรยาย ความเรี ยง
7.2 การวัดผลโดยใช้แบบทดสอบที่มีคาตอบให้เลือก เป็ นการวัดผลที่ประกอบด้วยข้อสอบ
ถูก ผิด จับคู่ เลือกตอบ
8. จาแนกตามลักษณะการตอบ แบ่งได้ 3 ประเภท คือ
8.1 การวัดผลโดยใช้แบบทดสอบแบบปฏิบตั ิ เป็ นการวัดผลภาคปฏิบตั ิท้ งั หลาย เช่น วิชาพล
ศึกษา การฝี มือ การแสดงละคร เป็ นต้น
8.2 การวัดผลโดยใช้แบบทดสอบปากเปล่า เป็ นการวัดผลรายบุคคล เช่น การสอบสัมภาษณ์
การสอบอ่าน การสอบฟังเสี ยง เป็ นต้น
8.3 การวัดผลโดยใช้แบบทดสอบแบบเขียนตอบ เป็ นรู ปแบบที่พฒั นามาจากการสอบปาก
เปล่า โดยวัดผลเป็ นกลุ่มให้เขียนตอบ จะใช้เวลาสอบน้อยลง
9. จาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ แบ่งได้ 4 ประเภท คือ
9.1 การวัด ผลโดยใช้แ บบทดสอบเพื่ อ จัด อัน ดับ เป็ นการวัด ผล เพื่ อ ดู ร ะดับ ความรู้
ความสามารถแต่ละบุคคลว่าอยูต่ าแหน่งใด เพื่อประโยชน์ในการจาแนกแยกประเภท แยกกลุ่มตาม
ความสามารถนั้น ๆ
20

9.2 การวัดผลโดยใช้แบบทดสอบเพื่อวินิจฉัย เป็ นการวัดผลเพื่อค้นหา ความบกพร่ องของ


นักเรี ยน เพื่อประโยชน์ในการปรับปรุ งการเรี ยนการสอน
9.3 การวัดผลโดยใช้แบบทดสอบเพื่อพยากรณ์ เป็ นการวัดผลเพื่อทานายหรื อคาดคะเน
ความรู้ ความสามารถ ความสาเร็ จในอนาคต เพื่อประโยชน์ในการแนะแนววิชาเลือกวิชาชีพในภาย
ภาคหน้า
9.4 การวัด ผลโดยใช้ แ บบทดสอบเพื่ อ คัด เลื อ ก เป็ นการวัด ผล เพื่ อ ดู ร ะดับ ความรู้
ความสามารถที่สูง ๆ เพื่อประโยชน์ในการคัดเลือกบุคคลที่มีคุณภาพในการเข้าเรี ยน หรื อเข้าทางาน
10. จาแนกตามกระบวนในการสร้าง แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
10.1 การวัดผลโดยใช้แบบทดสอบที่ครู สร้างขึ้นเอง เป็ นแบบทดสอบที่สร้างขึ้นเฉพาะคราว
เพื่อใช้ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
10.2 การวัดผลโดยใช้แบบทดสอบมาตรฐาน เป็ นแบบทดสอบที่สร้างขึ้น ด้วยกระบวนการ
ที่มีการนาไปทดลองสอบหลายครั้ง แล้วนาผลมาวิเคราะห์ดว้ ยวิธีการทางสถิติ แล้วปรับปรุ งให้มี
คุณภาพดี มีความเป็ นมาตรฐาน
11. จาแนกตามจุดมุ่งหมายของผลการวัด แบ่งได้ 3 ประเภท คือ
11.1 การวัดผลโดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ เป็ นแบบทดสอบที่มุ่งวัดพฤติกรรม และ
ประสบการณ์การเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยน
11.2 การวัดผลโดยใช้แบบทดสอบวัดความถนัด เป็ นแบบทดสอบที่ มุ่ ง วัดสมรรถภาพ
พื้นฐาน อันเป็ นความสามารถทางสติปัญญาของบุคคล
11.3 การวัดผลโดยใช้แบบทดสอบวัดบุ ค ลิ กภาพ เป็ นแบบทดสอบที่ มุ่ ง วัดคุ ณลักษณะ
เฉพาะตัวของบุคคล ซึ่ งเป็ นผลรวมมาจากความรู้ ความคิด อารมณ์ การปรับตัวความสนใจ และ
ทัศนคติ
12. จาแนกตามสมรรถภาพที่จะวัด แบ่งได้ 6 ประเภท คือ
12.1 การวัดผลโดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ เป็ นแบบทดสอบที่ใช้ วัดความเจริ ญงอก
งามของความรู้ในการเรี ยน
12.2 การวัดผลโดยใช้แบบทดสอบวัดเชาวน์ปัญญา เป็ นแบบทดสอบที่ใช้ วัดสมรรถภาพ
สมองด้านต่าง ๆ
12.3 การวัด ผลโดยใช้แ บบทดสอบวัด ความถนัด เป็ นแบบทดสอบที่ ใ ช้ วัด ความถนัด
ทางด้านวิชาการต่าง ๆ หรื อความถนัดพิเศษ ความถนัดเฉพาะของบุคคล
12.4 การวัดผลโดยใช้แบบทดสอบวัดบุ คลิ ก ภาพ เป็ นแบบทดสอบที่ ใ ช้ วัดคุ ณลัก ษณะ
เฉพาะตัวของบุคคล
21

12.5 การวัดผลโดยใช้แบบทดสอบวัดเจตคติ เป็ นแบบทดสอบที่ใช้วดั ทัศนคติทางสังคม เชื้ อ


ชาติ การเมือง ศีลธรรม หรื อศาสนา
12.6 การวัดผลโดยใช้แบบทดสอบวัดความสนใจ เป็ นแบบทดสอบที่ใช้ วัดความสนใจใน
เรื่ องต่างๆ ของบุคคล เช่น ความสนใจในอาชีพประมง
สมนึก ภัททิยธนี (2551, หน้า 73-79) ได้แบ่งประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทาง
การเรี ยนที่ครู สร้างขึ้นเป็ น 6 ประเภท ดังนี้
1. ข้อสอบแบบความเรี ยงหรื ออัตนัย (Subjective or Essay) เป็ นข้อสอบที่มีเฉพาะคาถาม
แล้วให้นกั เรี ยนเขียนตอบอย่างเสรี เขียนบรรยายตามความรู ้ และข้อคิดเห็นของแต่ละคน
2. ข้อสอบแบบกาถูก-ผิด (Ture-false Test) เป็ นข้อสอบแบบเลือกตอบที่มีตวั เลือก 2 ตัวเลือก
แต่ละตัวเลื อกดังกล่าวเป็ นแบบคงที่ และมีความสามารถตรงกันข้าม เช่ น ถูก – ผิด ใช่ –ไม่ใช่
จริ ง – ไม่จริ ง เหมือนกัน – ต่างกัน เป็ นต้น
3. ข้อสอบแบบเติมคา (Completion Test) เป็ นข้อสอบที่ประกอบด้วยประโยคหรื อข้อความ
ที่ยงั ไม่สมบูรณ์แล้วให้ผตู ้ อบเติมคาหรื อประโยค หรื อข้อความลงในช่องว่างที่เว้นไว้น้ นั เพื่อให้มี
ใจความสมบูรณ์และถูกต้อง
4. แบบทดสอบแบบตอบสั้นๆ (Short Answer Test) ข้อสอบแบบนี้ คล้ายกับข้อสอบแบบ
เติมคา แต่แตกต่างกันที่ขอ้ สอบแบบตอบสั้น ๆ เขียนเป็ นประโยคคาถามที่สมบูรณ์ แล้วให้ผูต้ อบ
เขี ยนตอบ คาตอบที่ ตอ้ งการจะสั้นและกะทัดรั ดได้ใจความสมบูรณ์ ไม่ใช่ เป็ นการบรรยาย แบบ
ข้อสอบความเรี ยงหรื ออัตนัย
5. ข้อ สอบแบบจับ คู่ (Matching Test) เป็ นข้อ สอบเลื อ กตอบชนิ ด หนึ่ งโดยมี ค าหรื อ
ข้อความแยกออกเป็ น 2 ชุด แล้วให้ผตู ้ อบเลือกจับคู่ ว่าแต่ละข้อความในชุ ดหนึ่ง (ตัวยืน) จะคู่กบั คา
หรื อข้อความใดในอี ก ชุ ดหนึ่ ง (ตัวเลื อก) ซึ่ ง มี ค วามสั ม พันธ์ ก ันอย่า งใดอย่า งหนึ่ งตามที่ ผูอ้ อก
ข้อสอบกาหนดไว้
6. ข้อสอบแบบเลือกตอบ (Multiple Choice Test) ลักษณะทัว่ ไป คาถาม แบบเลือกตอบ
โดยทัว่ ไปจะประกอบด้วย 2 ตอน คือ ตอนนาหรื อคาถาม (Stem) กับตัวเลือก (Choice) ในตอนเลือก
นี้ จะประกอบด้วยตัวเลือกที่เป็ นคาตอบถูกและตัวเลือกที่เป็ นตัวลวงปกติ จะมีคาถามที่กาหนดให้
นักเรี ยนพิจารณา แล้วหาตัวเลือกที่ถูกต้องมากที่สุดเพียงตัวเดียวจากตัวลวงอื่นๆ และคาถามแบบ
เลื อกตอบที่ดี นิ ยมใช้ตวั เลื อกที่ใกล้เคียงกัน ดูเผิน ๆ จะเห็ นว่าทุกตัวเลื อกถูกหมดแต่ความจริ งมี
น้ าหนักความถูกมากน้อยต่างกัน
จากข้อความข้างต้นจึงสรุ ปได้ว่า แบบทดสอบที่ใช้ในปั จจุบนั มีมากมายหลายชนิ ด แต่ละ
ชนิ ดก็มีจุดมุ่งหมายในการทดสอบแตกต่างกัน ดังนั้น ในการนาแบบทดสอบไปใช้ตอ้ งระมัดระวัง
22

ว่าเลื อกใช้แบบทดสอบได้ถูกต้องเหมาะสมกับสิ่ งที่เราต้องการหรื อไม่ การจาแนกประเภทของ


แบบทดสอบ จึงช่วยให้สามารถเข้าใจและเลือกใช้แบบทดสอบได้ถูกต้องยิง่ ขึ้น

4.4. หลักกำรสร้ ำงแบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์ทำงกำรเรียน


บุญชม ศรี สะอาด (2546, หน้า 122-123) เสนอว่า ในการสร้ างแบบทดสอบวัดผลสัม ฤทธิ์
ทางการเรี ยน เพื่อนาไปใช้เก็บรวบรวมข้อมูลนั้น นิ ยมสร้างโดยยึดตามการจาแนกจุดประสงค์ ทาง
การศึ ก ษาด้า นพุ ท ธิ พิ สั ย ของบลู ม และคณะ (Benjamin S. Bloom) ที่ จ าแนกจุ ด ประสงค์ ท าง
การศึ ก ษาด้ า นพุ ท ธิ พิ สั ย ออกเป็ น 6 ประเภท ได้ แ ก่ ความรู ้ (Knowledge) ความเข้ า ใจ
(Comprehension) การน าไปใช้ ( Application) การวิ เ คราะห์ (Analysis) การสั ง เคราะ ห์
(Synthesis) และการประเมิ นค่ า (Evaluation) การสร้างข้อสอบถ้าวัดตาม 6 ประเภทเหล่ านี้ ก็จะมี
ความครอบคลุ ม พฤติ ก รรมต่ า ง ๆ กรอบแนวคิ ด ที่ ใ ช้ก ัน มากในการใช้ส ร้ า งแบบทดสอบวัด
ผลสั ม ฤทธิ์ คื อ วัดตามจุ ดประสงค์ก ารเรี ย นรู ้ ที่ ก าหนดไว้ ซึ่ ง จะก าหนดในรู ป จุ ดประสงค์ เ ชิ ง
พฤติกรรม (Behavioral Objective)
พิชิต ฤทธิ์ จรู ญ (2548, หน้า 100) เสนอว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ จะมีคุณภาพได้น้ นั
จะต้องอาศัยหลักการสร้างที่มีประสิ ทธิ ภาพ มีหลักการสร้างดังนี้
1. ต้องนิ ยามพฤติกรรมหรื อผลการเรี ยนรู ้ ที่ตอ้ งการจะวัดให้ชดั เจน โดยกาหนด ใน
รู ปของจุดประสงค์การเรี ยนรู้ ของบทเรี ย นหรื อรายวิชา ด้วยคาที่เฉพาะเจาะจง สามารถวัดและ
สังเกตได้
2. ควรสร้างแบบทดสอบวัดให้ครอบคลุมผลการเรี ยนรู ้ ที่ได้กาหนดไว้ท้ งั หมด ทั้งใน
ระดับความรู ้ ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ และระดับที่ซบั ซ้อนมากขึ้น
3. แบบทดสอบที่สร้ างขึ้น ควรจะวัดพฤติกรรม หรื อผลการเรี ยนรู ้ ที่เป็ นตัวแทนของ
กิ จกรรมการเรี ยนรู ้ โดยจะต้องกาหนดตัวชี้ วดั และขอบเขตของผลการเรี ยนรู ้ ที่จะวัดแล้วจึงเขียน
ข้อสอบตามตัวชี้วดั จากขอบเขตที่กาหนดไว้
4. แบบทดสอบที่สร้างขึ้น ควรประกอบด้วยข้อสอบชนิดต่าง ๆ ที่เหมาะสมสอดคล้อง
กับการวัดพฤติกรรม หรื อผลการเรี ยนรู ้ที่กาหนดไว้ให้มากที่สุด
5. ควรสร้างแบบทดสอบโดยคานึงถึงแผนหรื อวัตถุประสงค์ของการนาผลการทดสอบ
ไปใช้ประโยชน์ จะได้เขี ยนข้อสอบให้มีความสอดคล้องกับวัตถุ ประสงค์ และทันใช้ตามแผนที่
ก าหนดไว้ เช่ น การใช้แบบทดสอบก่ อนการเรี ย นการสอน (Pretest) ส าหรั บตรวจสอบความรู้
23

พื้นฐานของผูเ้ รี ย น เพื่อการสอนซ่ อมเสริ ม การใช้แบบทดสอบระหว่างการเรี ยนการสอน เพื่ อ


ปรับปรุ งการเรี ยนการสอน (Formative Test) และการใช้แบบทดสอบหลังการเรี ยนการสอน เพื่อ
ตัดสิ น ผลการเรี ยน (Summative Test)
6. แบบทดสอบที่สร้างขึ้น จะต้องทาให้การตรวจให้คะแนน ไม่มีความคลาดเคลื่อนจาก
การวัด (Measurement Errors) ซึ่ งไม่วา่ จะนาแบบทดสอบไปทดสอบกับผูเ้ รี ยนในเวลาที่แตกต่างกัน
จะต้องได้ผลการวัดเหมือนเดิม
การสร้ า งแบบทดสอบวัด ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย น นอกจากจะใช้ ห ลัก การสร้ า งที่ มี
ประสิ ทธิ ภาพแล้ว จะต้องมี ข้ นั ตอนการสร้ างที่ ดี เพื่อให้ได้แบบทดสอบที่ มีคุณลักษณะตรงตาม
วัตถุประสงค์ของการใช้ มีความเที่ยงตรงตามเนื้อหาวิชาและจุดประสงค์ที่ตอ้ งการจะวัด

5 งำนวิ จั ย ที่ เ กี่ย วข้ อ ง


งานวิ จ ัย ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ การสอนโดยใช้ แ บบฝึ กทัก ษะนั้ น มี ผู ้ศึ ก ษาวิ จ ัย ไว้ห ลาย
ท่ า นดัง นี้
จิ ร เดช เหมื อ นสมาน (2552, บทคัด ย่ อ ) ทาการวิ จ ัย เรื่ อ งผลการใช้ แ บบฝึ ก
คณิ ต ศาสตร์ เ รื่ องการคู ณ ที่ มี ต่ อ ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนัก เรี ย นชั้น ประถมศึ ก ษาปี ที่
3 โรงเรี ย นเทศบาลวัด ราษฎร์ นิ ย มธรรมสั ง กัด กองการศึ ก ษาเทศบาลเมื อ งศรี ราชา
ผลการวิ จ ัย ปรากฏว่ า นัก เรี ย นที่ ไ ด้ รั บ การสอนโดยใช้ แ บบฝึ กคณิ ต ศาสตร์ เรื่ อง การคู ณ
มี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นสู ง กว่ า นั ก เรี ย นที่ ไ ด้รั บ การสอนตามปกติ อ ย่ า งมี นัย สาคัญ ทาง
สถิ ติ (p < .05)
อารี แสงคา (2552, บทคัด ย่ อ ) ได้ทาการวิ จ ัย เรื่ องการพัฒ นาแผนการจัด กิ จ กรรม
การเรี ย นรู้ วิ ช าคณิ ต ศาสตร์ เรื่ อ งเงิ น ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 2 โดยใช้ แ บบฝึ กทัก ษะ ผล
การศึ ก ษาค้น คว้า พบว่ า แบบฝึ กทัก ษะที่ ผู ้ศึ ก ษาค้น คว้า สร้ า งขึ้ น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
85.39/87.27 มี ดัช นี ป ระสิ ท ธิ ผ ลของแบบฝึ กทัก ษะคณิ ต ศาสตร์ มี ค่ า เท่ า กับ 0.6052 และ
นัก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 2 ที่ เ รี ย นโดยใช้ แ ผนการจัด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ และแบบฝึ ก
ทัก ษะมี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นสู ง กว่ า นัก เรี ย นที่ ส อนโดยใช้ กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน
ตามคู่ มื อ ครู อ ย่ า งมี นัย สาคัญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดับ .05
ปราณี จิ ณ ฤทธิ์ (2552, บทคัด ย่ อ ) ทาการวิ จ ัย เรื่ องผลการใช้ แ บบฝึ กทัก ษะ
คณิ ต ศาสตร์ ที่ มี ต่ อ ผลสั ม ฤทธิ์ และเจตคติ ท างการเรี ย นคณิ ต ศาสตร์ ข องนัก เรี ยนชั้น
ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนเคหะประชาสามัค คี จัง หวัด นครราชสี ม า ผลการวิ จ ัย พบว่ า
24

(1) แบบฝึ กทัก ษะคณิ ต ศาสตร์ สาหรั บ นัก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
81.21/82.99 (2) ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นของนัก เรี ยนชั้น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 หลัง การใช้
แบบฝึ กทัก ษะคณิ ต ศาสตร์ สู ง กว่ า ก่ อ นเรี ย นอย่ า งมี นั ย สาคัญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดับ .01 (3) เจต
คติ ข องนัก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 หลัง เรี ย นสู ง กว่ า ก่ อ นเรี ย นอย่ า งมี นัย สาคัญ ทาง
สถิ ติ ที่ ร ะดับ .01 และอยู่ ใ นระดับ มาก
อาภรณ์ ใจเที่ ย ง (2553, บทคัด ย่ อ ) ทาการวิ จ ัย เรื่ องการพัฒ นากิ จ กรรมการ
เรี ย นรู้ วิ ช คณิ ต ศาสตร์ โดยใช้แ บบฝึ กเสริ ม ทัก ษะการคิ ด คานวณเรื่ องการหาร ของ
นัก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 2 ผลการวิ จ ัย พบว่ า
1. การพัฒ นากิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ วิ ช าคณิ ต ศาสตร์ โ ดยใช้ แ บบฝึ กเสริ ม
ทัก ษะเรื่ องการหาร การคิ ด คานวณประกอบการเรี ย นรู้ เมื่ อ พิ จ ารณาโดยภาพรวมแล้ว
พบว่ า ทั้ง 3 วงจรปฏิ บ ัติ มี ก ารพัฒ นาสู ง ขึ้ นตามลาดับ แต่ ใ นวงจรปฏิ บ ัติ ที่ 3 มี อ ัต ราส่ ว น
ลดลงเล็ ก น้ อ ยเนื่ อ งจากเนื้ อ หาค่ อ นข้า งยากขึ้ น ตามลาดับ
2. ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ เ รื่ องการหาร ของนัก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี
ที่ 2 พบว่ า มี จานวนนัก เรี ยนผ่ า นเกณฑ์ ร้ อ ยละ 70 มี จานวน 18 คน คิ ด เป็ นร้ อ ยละ 90.00
และคะแนนเฉลี่ ย ของนัก เรี ย นที่ ผ่ า นเกณฑ์ คิ ด เป็ นร้ อ ยละ 72.57
โศภิ ต วงศ์คู ณ (2553, บทคัด ย่ อ ) ทาการวิ จ ัย เรื่ องการพัฒ นาชุ ด ฝึ กทัก ษะการแก้
โจทย์ปั ญ หาคณิ ต ศาสตร์ เรื่ อง การบวก การลบ ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 2 ผลการวิ จ ัย พบว่ า
(1) ชุ ด ฝึ กทัก ษะการแก้ โ จทย์ปั ญ หาคณิ ต ศาสตร์ เรื่ อง การบวก การลบ ชั้ น ประถมศึ ก ษา
ปี ที่ 2 ที่ ผู ้วิ จ ัย สร้ า งขึ้ น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเท่ า กับ 77.43/78.00 ซึ่ งสู ง กว่ า เกณฑ์ 75/75 ที่ ต้ ัง ไว้
(2) ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย น ของนัก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 2 ที่ ไ ด้รั บ การสอนโดยใช้
ชุ ด ฝึ กทัก ษะการแก้ โ จทย์ปั ญ หาการบวก การลบ หลัง เรี ย นสู ง กว่ า ก่ อ นเรี ย นอย่ า งมี
นัย สาคัญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดับ .05
กนกพร พั่ว พัน ธ์ ศ รี (2555, บทคัด ย่ อ ) ทาการวิ จ ัย เรื่ องผลการใช้ แ บบฝึ กทัก ษะ
การแก้ โ จทย์ปั ญ หาเรื่ องเศษส่ ว นที่ มี ต่ อ ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นคณิ ต ศาสตร์ ของนัก เรี ย น
ชั้น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 โรงเรี ย นบ้า นคาสร้ อ ย จัง หวัด มุ ก ดาหาร ผลการวิ จ ัย พบว่ า (1)
แบบฝึ กทัก ษะการแก้โ จทย์ปั ญ หาเรื่ องเศษส่ ว น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเท่ า กับ 83.95/82.67 (2)
ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นหลัง การจัด กิ จ กรรมการเรี ย นคณิ ต ศาสตร์ โ ดยใช้ แ บบฝึ กทัก ษะ
การแก้ โ จทย์ปั ญ หาเรื่ องเศษส่ ว น สู ง กว่ า ก่ อ นเรี ย น อย่ า งมี นัย สาคัญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดับ .05
และ (3) ความพึ ง พอใจของนัก เรี ย นที่ เ รี ย นคณิ ต ศาสตร์ โ ดยใช้ แ บบฝึ กทัก ษะการแก้
โจทย์ปั ญ หาเรื่ องเศษส่ ว นมี ค วามพึ ง พอใจอยู่ ใ นระดับ มาก
25

สมศรี อภัย (2553, บทคัด ย่ อ ) ทาการวิ จ ัย เรื่ องผลการจัด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้


คณิ ต ศาสตร์ เรื่ องการบวก และการลบจานวนชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 1 โดยใช้แ บบฝึ ก
ทัก ษะผลการวิ จ ัย พบว่ า
1. แผนการจัด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ค ณิ ต ศาสตร์ เรื่ องการบวก และการลบ
จานวนชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 1 โดยใช้ แ บบฝึ กทัก ษะ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เท่ า กับ 77.17/76.36
2. นัก เรี ย นที่ เ รี ย นด้ว ยแผนการจัด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ค ณิ ต ศาสตร์ เรื่ อง
การบวก และการลบจานวนที่ มี ผ ลลั พ ธ์ และตัว ตั้ง ไม่ เ กิ น 100 ชั้น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 1
โดยใช้ แ บบฝึ กทัก ษะมี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นหลัง เรี ย นสู ง กว่ า ก่ อ นเรี ย นอย่ า งมี
นัย สาคัญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดับ .05
3. นัก เรี ย นมี ค ะแนนผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นก่ อ นเรี ย นกับ หลัง เรี ย นไป
แล้ว 2 สั ป ดาห์ ไม่ แ ตกต่ า งกัน ซึ่ งแสดงว่ า นัก เรี ย นมี ค วามคงทนในการเรี ย นรู ้ ห ลัง เรี ย น
ได้ท้ ัง หมด
ไข่ มุ ก มณี ศ รี (2554, บทคัด ย่ อ ) ทาการวิ จ ัย เรื่ อ งการสร้ า งแบบฝึ กทัก ษะสาระการ
เรี ย นรู ้ ค ณิ ต ศาสตร์ เรื่ อง การบวก การลบ การคู ณ ทศนิ ย ม สาหรั บ นัก เรี ย นชั้ น
ประถมศึ ก ษาปี ที่ 5 โรงเรี ยนเมื อ งพัท ยา 1 ผลการวิ จ ัย พบว่ า
1. แบบฝึ กทัก ษะสาระการเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ เรื่ อง การบวก การลบ การ
คู ณ ทศนิ ย ม สาหรั บ นัก เรี ยนชั้น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 5 ที่ ส ร้ า งขึ้ น มี ค่ า ประสิ ท ธิ ภ าพ
85.00/83.33 ซึ่ งเป็ นไปตามเกณฑ์ ม าตรฐาน 80/80
2. ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นโดยใช้ แ บบฝึ กทัก ษะสาระการเรี ย นรู ้
คณิ ต ศาสตร์ เรื่ องการบวก การลบ การคู ณ ทศนิ ย ม ของนัก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 5
หลัง เรี ย นสู ง กว่ า ก่ อ นเรี ย นอย่ า งมี นัย สาคัญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดับ .01
3. เจตคติ ข องนัก เรี ย นต่ อ วิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ห ลัง เรี ย นโดยใช้ แ บบฝึ กทัก ษะ
สาระการเรี ย นรู ้ ค ณิ ต ศาสตร์ เรื่ อง การบวก การลบ การคู ณ ทศนิ ย ม ของนัก เรี ย นชั้ น
ประถมศึ ก ษาปี ที่ 5 อยู่ ใ นระดับ มาก
บทที่ 3
วิธีดำเนินกำรศึกษำค้นคว้ำ

วิธีดำเนินกำรวิจัย
การวิจยั เรื่ องผลของการใช้ชุดฝึ กทักษะเรื่ องการคคูณที่มีต่อผลการเรี ยนของนักเรี ยน
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนบ้านปากถัก มีวธิ ี การดาเนินการดังนี้
1. ประชากร
2. เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั
3. การสร้างเครื่ องมือและหาคุณภาพเครื่ องมือ
4. การเก็บรวบรวมข้อมูล
5. การวิเคราะห์ขอ้ มูล
6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
1. ประชำกรกลุ่มตัวอย่ ำง
ประชากรในการวิจยั ครั้งนี้คือ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ปี การศึกษา 2562 โรงเรี ยน
บ้านปากถัก อาเภอกะปง จังหวัดพังงา
2. เครื่องมือทีใ่ ช้ ในกำรวิจัย
เครื่ องมือที่ใช้ในในการวิจยั ครั้งนี้คือ
1. แผนการจัดการเรี ยนรู้
2. ชุดฝึ กทักษะคณิ ตศาสตร์ เรื่ องการคูณ
3. ใบงานเรื่ องการคูณ
3. กำรสร้ ำงเครื่องมือและหำคุณภำพเครื่องมือ
ในการสร้างเครื่ องมือ ชุดฝึ กทักษะคณิ ตศาสตร์ เรื่ องการคูณ ครั้งนี้ผวู ้ จิ ยั ได้ดาเนินการดังนี้
1. ศึกษาข้อมูลเนื้อหาวิชาคณิ ตศาสตร์ จากหลักสู ตร และแผนการจัดการเรี ยนรู้ เรื่ องการคูณ
2. ดาเนินการสร้างชุดฝึ กทักษะเรื่ องการคูณ
3. ตรวจสอบคุณภาพของเครื่ องมือโดยให้ผเู ้ ชี่ยวชาญเป็ นผูช้ ่วยตรวจสอบให้
4. ขั้นตอนกำรเก็บรวบรวมข้ อมูล
1. สอนตามแผนการจัดการเรี ยนรู้
2. สังเกตพฤติกรรมของนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล
3. ทดสอบก่อนเรี ยน
27

4. ใช้ชุดฝึ กทักษะในการเรี ยนการสอน


5. ใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยน (ทดสอบหลังเรี ยน)
6. เก็บรวบรวมข้อมูลและประเมินผล
5. กำรวิเครำะห์ ข้อมูล
วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต ของแบบทดสอบก่อนเรี ยน และหลังเรี ยน เรื่ องการคูณ
6. สถิติทใี่ ช้ ในกำรวิเครำะห์ ข้อมูล
1. ค่าร้อยละ ( Percentage )
2. ค่าเฉลี่ย ( X )
3. ค่าส่ วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน ( S. D. )
บทที่ 4
ผลกำรดำเนินกำรวิจยั

ในการศึกษาครั้งนี้ ผูว้ ิจยั ได้สร้างชุดฝึ กเพื่อพัฒนาทักษะเรื่ องการคูณ ของนักเรี ยนชั้น


ประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนบ้านปากถัก สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพังงา ได้
ทดลองจัดกิจกรรม หลังจากได้ดาเนิ นการทดสอบ และทาการบันทึกคะแนนไว้เพื่อหาค่าความ
แตกต่างโดยเทียบคะแนนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน ได้ผลดังปรากฏในตารางดังต่อไปนี้
ตำรำงวิเครำะห์ ที่ 1 แสดงจานวนนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2561
โรงเรี ยนชุมชนบ้านปากถัก
นักเรียน จำนวน คิดเป็ นร้ อยละ
ชาย 11 52.38
หญิง 10 47.62

จำกตำรำงที่ 1 จะเห็นว่า นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2561


โรงเรี ยนบ้านปากถัก มีท้ งั สิ้ น 21 คน เป็ นนักเรี ยนชาย 11 คน คิดเป็ นร้อยละ 52.38 และ
นักเรี ยนหญิง 10 คน คิดเป็ นร้อยละ 47.62
จำกตำรำงที่ 2 ตารางแสดงผลการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเรื่ องการคูณของนักเรี ยน ชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนบ้านปากถัก จานวน 21 คน โดยเก็บคะแนน 2 ครั้ง คือ ก่อนเรี ยนและ
หลังเรี ยน คะแนนสอบที่ได้เป็ นดังตาราง
เลข ผลต่าง
ที่ ชื่อ - สกุล คะแนนทดสอบเรื่ องการคูณ
2
หลังเรี ยน ก่อนเรี ยน D D
1 เด็กชายธราดล ถ้ าจัตุรัส 15 12 3 9
2 เด็กชายชัยวัฒน์ ช่วยระดม 17 14 3 9
3 เด็กชายอลงกรณ์ แสงวงษ์ 19 15 4 16
4 เด็กชายฐิตินนั ท์ มีเย็น 18 15 3 9
5 เด็กชายตรี ทศพล อุดมคุณ 14 13 1 1
6 เด็กชายศาสตริ นทร์ เวชสาร 11 9 2 4
7 เด็กชายกรกช ทิพย์รงค์ 11 8 3 9
8 เด็กชายเก้าอกิณห์ ทองรงค์ 20 16 4 16
9 เด็กหญิงภัทรนันท์ จิ้วเส้ง 9 7 2 4
10 เด็กหญิงฐิตินาถ ชูแก้ว 15 11 4 16
11 เด็กหญิงฐานิดา ชูแก้ว 14 12 2 4
12 เด็กหญิงฐานิดา ลิ่มธนวัตร 17 14 3 9
13 เด็กหญิงสรชา สุ วรรณธนู 18 15 3 9
14 เด็กหญิงเบญจณี ชัยเพ็ชร 16 12 4 16
15 เด็กหญิงศุภธิดา ใจเย็น 15 10 5 25
16 เด็กหญิงนิศารัตน์ บุญนาม 19 16 3 9
17 เด็กหญิงภัทรสุ ดา บุญนาม 14 13 1 1
18 เด็กหญิงวรกานต์ ขลิกคา 15 12 3 9
19 เด็กชายวศิน นากนวล 14 11 3 9
20 เด็กชายธีระพงษ์ ครองยุติ 12 10 2 4
21 เด็กชายปิ ยศักดิ์ โสภณ 10 9 1 1
รวม 313 254 59 189
เฉลี่ย 14.90 12.10 t = 1.147
ร้อยละ 74.52 60.48
S. D. 9.49 6.89
จากตาราง พบว่าผลการทดสอบก่อนเรี ยนจากคะแนนเต็ม 20 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 12.10
ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 6.89 คิดเป็ นร้อยละ 60.48 ผลการทดสอบหลังเรี ยนจากคะแนนเต็ม 20
คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 14.93 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 9.49 คิดเป็ นร้อยละ 74.52 เพิ่มขึ้น ร้อยละ
14.04 ซึ่งพบว่าผลสัมฤทธิ์การเรี ยนรู ้หลังเรี ยนสู งกว่าผลสัมฤทธิ์ การเรี ยนรู ้ก่อนเรี ยน อย่างมี
นัยสาคัญทางการเรี ยนรู้หลังเรี ยนทางสถิติที่ระดับ .05
บทที่ 5
สรุปผล อภิปรำยผล และข้ อเสนอแนะ

จากการดาเนินการวิจยั ผูว้ จิ ยั สามารถสรุ ปผลการดาเนิ นการวิจยั ได้ดงั นี้


สรุ ปผลกำรวิจัย
ผลการวิจยั ในครั้งนี้ ปรากฏว่า เมื่อนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ที่เรี ยนโดยใช้ชุดฝึ ก
ทักษะ เรื่ องการคูณ ผลการเรี ยนรู้ของนักเรี ยนหลังการใช้ชุดฝึ กสู งกว่าผลการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ก่อนการใช้ชุดฝึ ก เป็ นไปตามสมมุติฐานที่ต้ งั ไว้จากการศึกษาและวิเคราะห์ขอ้ มูลผลการทดสอบ
ก่อนเรี ยนจากคะแนนเต็ม 20 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 12.10 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 6.89 คิด
เป็ นร้อยละ 60.48 ผลการทดสอบหลังเรี ยนจากคะแนนเต็ม 20 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 14.93
ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 9.49 คิดเป็ นร้อยละ 74.52 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 14.04 ซึ่งพบว่าผลการเรี ยนรู้
หลังเรี ยนสู งกว่าผลการเรี ยนรู ้ก่อนเรี ยน
อภิปรำยผล
จากผลการวิจยั ทาให้ทราบว่าเมื่อนักเรี ยนได้เรี ยนโดยใช้ชุดฝึ กทักษะเรื่ องการคูณจากการ
จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ในครั้งนี้ นักเรี ยนมีพฒั นาการด้นการคูณสู งขึ้น ดังจะเห็นได้จาก ผลการ
เรี ยนรู้ของนักเรี ยนหลังการใช้ชุดฝึ กสู งกว่าการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนก่อนการใช้ชุดฝึ กเพิ่มขึ้น ร้อยละ
14.04 เป็ นไปตามสมมุติฐานที่ต้ งั แต่การทดลองนี้ไม่สามารถบอกได้วา่ ผลหลังการทดลองนั้นเกิด
การเปลี่ยนแปลง ในตัวนักเรี ยน เนื่ องจากระยะเวลาระหว่าง การจัดกิจกรรมทาให้นกั เรี ยน มี
ความรับผิดชอบ และมีความขยันมากขึ้น อย่างไรก็ตามผูว้ จิ ยั ได้สังเกตนักเรี ยนพบว่า นักเรี ยน
บางคนนั้นมีความขยัน ใส่ ใจต่อการเรี ยน เพื่อที่จะพัฒนาตนเองให้มากขึ้น แต่มีบางคนที่มีปัญหา
เรื่ องการคูณ คือเป็ นเด็กที่ยงั ท่องสู ตรคูณไม่ได้และค่อนข้างเรี ยนรู ้ชา้ เมื่อเทียบกับเด็กคนอื่น ๆ
ข้ อเสนอแนะในกำรทำวิจัย
1. ครู ผสู ้ อนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 สามารถนาชุดฝึ กทักษะการคูณที่ผศู ้ ึกษาค้นคว้าสร้างขึ้น
ไปใช้สอนนักเรี ยนได้เนื่องจากมีประสิ ทธิภาพพอที่ใช้ในการแก้ไขปั ญหานักเรี ยนที่มีผลทางการ
เรี ยนต่าและสามารถใช้สอนซ่อมเสริ มในวิชาคณิ ตศาสตร์ ได้
2. ในการวิจยั ครั้งต่อไปควรมีการสร้างชุดฝึ กเสริ มทักษะ ในเรื่ องอื่นๆเพิ่มเติม เช่น การบวก
ลบ คูณ หารระคน เป็ นต้น
3. ควรมีการจัดฝึ กอบรม สัมมนา เผยแพร่ ความรู ้ แก่ครู ในการสร้างสื่ อการเรี ยน
ประโยชน์ ต่อนักเรียน
1. นักเรี ยนได้พฒั นาทักษะด้านการคูณ
2. นักเรี ยนมีความภาคภูมีใจที่ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนรู้ของนักเรี ยนสู งขึ้น ทาให้เกิดความ
มัน่ ใจในการเรี ยนมากขึ้น
3. นักเรี ยนมีผลทางการเรี ยนสู งขึ้น
4. นักเรี ยนสามารถนากระบวน การเรี ยนรู้ ที่ ได้รับ จากการเรี ยนการสอนไปใช้ใน
ชีวติ ประจาวันได้
บรรณำนุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสู ตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพืน้ ฐำนพุทธศักรำช 2551.


กรุ งเทพมหานคร : กระทรวงศึกษาธิการ.
____. (2553). หลักสู ตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพืน้ ฐำน พุทธศักรำช 2551. (พิมพ์ครั้งที่2).
กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กุศยา แสงเดช. (2545). แบบฝึ ก : คู่มือกำรพัฒนำสื่ อกำรเรียนกำรสอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นสำคัญระดับ
ประถมศึกษำ. กรุ งเทพฯ: แม็ค.
จันตรา ธรรมแพทย์.(2550). กำรพัฒนำแบบฝึ กทักษะกำรแก้โจทย์ปัญหำคณิตศำสตร์ สำหรับ
นักเรียนช่ วงชั้นที่ 2 ทีม่ ีผลสั มฤทธิ์ทำงกำรเรียนคณิตศำสตร์ ต่ำ. วิทยานิพนธ์ ค.ม.
(หลักสู ตรและการสอน). กรุ งเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.
บุญชม ศรี สะอาด. (2545). กำรวิจัยเบือ้ งต้ น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุ งเทพฯ: สุ วีริยาสาส์น.
บุญธรรม กิจปรี ดาบริ สุทธิ์ . (2549). เทคนิคกำรสร้ ำงเครื่องมือรวบรวมข้ อมูล. พิมพ์ครั้งที่ 6.
กรุ งเทพฯ: จามจุรี.
ปานทอง กุลนาถศิริ. (2547). ควำมสำคัญของคณิตศำสตร์ . วารสารคณิ ตศาสตร์. 46(530-532),
11- 15.
ปิ ยเชษฐ์ จันภักดี. (2543). เปรียบเทียบผลสั มฤทธิ์ทำงกำรเรียนวิชำคณิตศำสตร์ เรื่อง อัตรำส่ วน
และร้ อยละ ชั้ นมัธยมศึกษำปี ที่ 2 ระหว่ ำงกลุ่มทีเ่ รียนโดยกำรเรียงลำดับเนือ้ หำตำมคู่มือครู
ของ สสวท. การศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
พิชิต ฤทธิ์ จรู ญ. (2548). หลักกำรวัดและประเมินผลกำรศึกษำ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุ งเทพฯ: เฮาส์ ออฟ
เคอร์มิสท์.
มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช. (2540). กำรพัฒนำแบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์ทำงกำรเรียน.
นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช.
มัณฑนี กุฏาคาร. (2542). กำรประเมินผลทำงกำรศึกษำ. วารสารวิชาการ, 2(8), 47 – 53.
สุ รวาท ทองบุ. (2550). กำรวิจัยทำงกำรศึกษำ. มหาสารคาม: อภิชาตการพิมพ์.
สุ รางศ์ โค้วตระกูล. (2544). จิตวิทยำกำรศึกษำ. กรุ งเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภำคผนวก
ประวัตผิ ้รู ำยงำน

นายจงรักษ์ ตรี กุล เกิดวันที่ 15 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2529


เชื้อชาติไทย สัญชาติไทย ศาสนาพุทธ
ภูมิลาเนา บ้านเลขที่ 147 หมู่ที่ 4 ตาบลทุ่งไทรทอง อาเภอลาทับ จังหวัด กระบี่
ที่อยูป่ ั จจุบนั บ้านเลขที่ 147 หมู่ที่ 4 ตาบลทุ่งไทรทอง อาเภอลาทับ จังหวัด กระบี่ 81120
บิดา นายสมพงษ์ ตรี กุล
มารดา นางเมี้ยน ตรี กุล ( ถึงแก่กรรม )
สมรส นางขวัญนภา ตรี กุล ครู โรงเรี ยนเหนือคลองประชาบารุ ง
บุตร 1 คน เด็กชายปุณณกันต์ ตรี กุล
สาเร็ จการศึกษา ระดับประถมศึกษา โรงเรี ยนบ้านเกาะไทร พ.ศ. 2541
ระดับมัธยมศึกษา โรงเรี ยนคลองท่อมราษฏร์ รังสรรค์ พ.ศ.2547
ระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต พ.ศ. 2552
เริ่ มทางาน ตาแหน่ง ครู อตั ราจ้าง โรงเรี ยนคลองท่อมราษฏร์ รังสรรค์ พ.ศ. 2553 - 2561
ปั จจุบนั ครู ผชู ้ ่วย โรงเรี ยนบ้านปากถัก สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพังงา
แบบทดสอบก่อนเรียน
วิชำ : คณิตศำสตร์ ระดับชั้น : ป.3 จำนวน : 20 ข้ อ
คำชี้แจง ให้ นักเรียนเขียน x หน้ ำข้อทีถ่ ูกต้ องทีส่ ุ ด
1. 1,279 × 6 มีผลลัพธ์เท่ากับข้อใด
ก.7,684 ข.7,674
ค.7,664 ง.7,654
2. ผลคูณข้อใดมีค่ามากที่สุด
ก.2,376 × 3 ข.1,524 × 2
ค.49 × 68 ง.72 × 96
3. 1,678 × 9 กับ 46 × 52 ผลลัพธ์มีค่าต่างกันเท่าไร
ก.12,510 ข.12,610
ค.12,710 ง.12,810
4. 2,321 × 8 มีค่ามากกว่า 69 × 13 อยูเ่ ท่าไร
ก.17,371 ข.17,471
ค.17,571 ง.17,671
5. 284 x 5 มีค่าเท่ากับข้อใด
ก. 1,400 ข. 1,410
ค. 1,420 ง. 1,430
6. 48 x 20 มีค่าเท่ากับเท่าไร
ก. 960 ข. 970
ค. 980 ง. 940
7. 450 x 25 มีค่าเท่ากับเท่าไร
ก. 12,250 ข. 11,200
ค. 10,250 ง. 11,250
8. 452 x 260 มีค่าเท่ากับข้อใด
ก. 127,520 ข. 117,520
ค. 116,520 ง. 115,520
9. มีส้มอยู่ 30 ลัง แต่ละลังบรรจุส้ม 49 ลูก รวมมีส้มทั้งหมดกี่ลูก
ก. 1,500 ลูก ข. 1,570 ลูก
ค. 1,400 ลูก ง. 1,470 ลูก
10. มีนกอยู่ 251 กรง แต่ละกรงมีนกอยู่ 20 ตัว รวมมีนกทั้งหมดกี่ตวั
ก. 5,020 ตัว ข. 5,120 ตัว
ค. 5,220 ตัว ง. 5,320 ตัว
11. แมงมุมตัวหนึ่งมี 6 ขา ถ้ามีแมงมุม 40 ตัว นับขาได้ท้ งั หมดกี่ขา
ก. 240 ขา ข. 2,400 ขา
ค. 24 ขา ง. 6 ขา
12. ชมพู่กิโลกรัมละ 23 บาท ซื้อชมพู่ 8 กิโลกรัม จ่ายเงินทั้งหมดเท่าไร
ก. 164 บาท ข. 174 บาท
ค. 184 บาท ง. 194 บาท
13. ไข่ไก่กระจาดหนึ่งมี 186 ฟอง มีไข่ไก่ 6 กระจาด มีไข่ไก่ท้ งั หมดกี่ฟอง
ก. 1,116 บาท ข. 1,176 บาท
ค. 1,286 บาท ง. 1,296 บาท
14. มีววั 27 ตัว มีไก่ 32 ตัว นับขารวมกันได้ท้ งั หมดกี่ขา
ก. 64 ขา ข. 108 ขา
ค. 152 ขา ง. 172 ขา
15. สายฝนมีเงิน 1,800 บาท บุญส่ งมีเงิน 7 เท่าของสายฝน บุญส่ งมีเงินเท่าไร
ก. 12,500 บาท ข. 12,600 บาท
ค. 12,700 บาท ง. 12,800 บาท
16. สมุดเล่มหนึ่งมีกระดาษ 40 แผ่น มีสมุด 36 เล่ม มีกระดาษทั้งหมดกี่แผ่น
ก. 1,220 แผ่น ข. 1,330 แผ่น
ค. 1,440 แผ่น ง. 1,550 แผ่น
17. มีหมู 20 ตัว มีปลา 18 ตัว มีไก่ 55 ตัว นับขาสัตว์ท้ งั หมดมีกี่ขา
ก. 93 ขา ข. 144 ขา
ค. 190 ขา ง. 208 ขา
18. ฟิ ล์มม้วนหนึ่งถ่ายรู ปได้ 36 ภาพ มีฟิล์ม 21 ม้วน ถ่ายรู ปได้ท้ งั หมดกี่ภาพ
ก. 736 ภาพ ข. 746 ภาพ
ค. 756 ภาพ ง. 766 ภาพ
19. ปลูกต้นไม้วนั ละ 50 ต้น ใช้เวลา 27 วัน ปลูกต้นไม้ได้ท้ งั หมดกี่ตน้
ก. 1,250 ต้น ข. 1,350 ต้น
ค. 1,460 ต้น ง. 1,560 ต้น
20. นักเรี ยน เรี ยนหนังสื อวันละ 6 ชัว่ โมง สัปดาห์ละ 5 วัน นักเรี ยนเรี ยนนาน 9 สัปดาห์
ใช้เวลาเรี ยนทั้งหมดกี่ชวั่ โมง
ก. 240 ชัว่ โมง ข. 250 ชัว่ โมง
ค. 260 ชัว่ โมง ง. 270 ชัว่ โมง
แบบทดสอบหลังเรียน
วิชำ : คณิตศำสตร์ ระดับชั้น : ป.3 จำนวน : 20 ข้ อ
คำชี้แจง ให้ นักเรียนเขียน x หน้ ำข้อทีถ่ ูกต้ องทีส่ ุ ด
1. 1,678 × 9 กับ 46 × 52 ผลลัพธ์มีค่าต่างกันเท่าไร
ก.12,510 ข.12,610
ค.12,710 ง.12,810
2. 284 x 5 มีค่าเท่ากับข้อใด
ก. 1,400 ข. 1,410
ค. 1,420 ง. 1,430
3. 1,279 × 6 มีผลลัพธ์เท่ากับข้อใด
ก.7,684 ข.7,674
ค.7,664 ง.7,654
4. 2,321 × 8 มีค่ามากกว่า 69 × 13 อยูเ่ ท่าไร
ก.17,371 ข.17,471
ค.17,571 ง.17,671
5. ผลคูณข้อใดมีค่ามากที่สุด
ก.2,376 × 3 ข.1,524 × 2
ค.49 × 68 ง.72 × 96
6. 48 x 20 มีค่าเท่ากับเท่าไร
ก. 960 ข. 970
ค. 980 ง. 940
7. 452 x 260 มีค่าเท่ากับข้อใด
ก. 127,520 ข. 117,520
ค. 116,520 ง. 115,520
8. 450 x 25 มีค่าเท่ากับเท่าไร
ก. 12,250 ข. 11,200
ค. 10,250 ง. 11,250
9. ไข่ไก่กระจาดหนึ่งมี 186 ฟอง มีไข่ไก่ 6 กระจาด มีไข่ไก่ท้ งั หมดกี่ฟอง
ก. 1,116 บาท ข. 1,176 บาท
ค. 1,286 บาท ง. 1,296 บาท
10. มีนกอยู่ 251 กรง แต่ละกรงมีนกอยู่ 20 ตัว รวมมีนกทั้งหมดกี่ตวั
ก. 5,020 ตัว ข. 5,120 ตัว
ค. 5,220 ตัว ง. 5,320 ตัว
11. สายฝนมีเงิน 1,800 บาท บุญส่ งมีเงิน 7 เท่าของสายฝน บุญส่ งมีเงินเท่าไร
ก. 12,500 บาท ข. 12,600 บาท
ค. 12,700 บาท ง. 12,800 บาท
12. ชมพู่กิโลกรัมละ 23 บาท ซื้อชมพู่ 8 กิโลกรัม จ่ายเงินทั้งหมดเท่าไร
ก. 164 บาท ข. 174 บาท
ค. 184 บาท ง. 194 บาท
13. มีส้มอยู่ 30 ลัง แต่ละลังบรรจุส้ม 49 ลูก รวมมีส้มทั้งหมดกี่ลูก
ก. 1,500 ลูก ข. 1,570 ลูก
ค. 1,400 ลูก ง. 1,470 ลูก
14. มีววั 27 ตัว มีไก่ 32 ตัว นับขารวมกันได้ท้ งั หมดกี่ขา
ก. 64 ขา ข. 108 ขา
ค. 152 ขา ง. 172 ขา
15. แมงมุมตัวหนึ่งมี 6 ขา ถ้ามีแมงมุม 40 ตัว นับขาได้ท้ งั หมดกี่ขา
ก. 240 ขา ข. 2,400 ขา
ค. 24 ขา ง. 6 ขา
16. นักเรี ยน เรี ยนหนังสื อวันละ 6 ชัว่ โมง สัปดาห์ละ 5 วัน นักเรี ยนเรี ยนนาน 9 สัปดาห์
ใช้เวลาเรี ยนทั้งหมดกี่ชวั่ โมง
ก. 240 ชัว่ โมง ข. 250 ชัว่ โมง
ค. 260 ชัว่ โมง ง. 270 ชัว่ โมง
17. ปลูกต้นไม้วนั ละ 50 ต้น ใช้เวลา 27 วัน ปลูกต้นไม้ได้ท้ งั หมดกี่ตน้
ก. 1,250 ต้น ข. 1,350 ต้น
ค. 1,460 ต้น ง. 1,560 ต้น
18. ฟิ ล์มม้วนหนึ่งถ่ายรู ปได้ 36 ภาพ มีฟิล์ม 21 ม้วน ถ่ายรู ปได้ท้ งั หมดกี่ภาพ
ก. 736 ภาพ ข. 746 ภาพ
ค. 756 ภาพ ง. 766 ภาพ
19. มีหมู 20 ตัว มีปลา 18 ตัว มีไก่ 55 ตัว นับขาสัตว์ท้ งั หมดมีกี่ขา
ก. 93 ขา ข. 144 ขา
ค. 190 ขา ง. 208 ขา
20. สมุดเล่มหนึ่งมีกระดาษ 40 แผ่น มีสมุด 36 เล่ม มีกระดาษทั้งหมดกี่แผ่น
ก. 1,220 แผ่น ข. 1,330 แผ่น
ค. 1,440 แผ่น ง. 1,550 แผ่น
เฉลยก่อนเรียน

1. ข 2. ง 3. ค 4. ง 5. ค
6. ก 7. ง 8. ข 9. ง 10. ก
11. ก 12. ค 13. ก 14. ง 15. ข
16. ค 17. ค 18. ค 19. ข 20. ง

เฉลยหลังเรียน

1. ค 2. ค 3. ข 4. ง 5. ง
6. ก 7. ข 8. ง 9. ก 10. ก
11. ข 12. ค 13. ง 14. ง 15. ก
16. ง 17. ข 18. ค 19. ค 20. ค
ชุดฝึ กเสริมทักษะกำรคูณ

คำแนะนำสำหรับครู ผ้ สู อน
เมื่อครู ผสู ้ อนได้นาแบบฝึ กเสริ มทักษะคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง การคูณ ไปใช้ควรปฏิบตั ิดงั นี้
1. ให้นกั เรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน เพื่อวัดความรู ้พ้นื ฐานของนักเรี ยน
และตรวจคาตอบจากเฉลย
2. ดาเนิ นการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน โดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะคณิ ตศาสตร์
เรื่ อง การคูณ ควบคู่กบั แผนการจัดการเรี ยนรู ้
3. หลังจากการสอนในส่ วนที่เป็ นสาระการเรี ยนรู ้แล้วให้นกั เรี ยนตอบคาถาม เพื่อ
ประเมิน ความรู้และพฤติกรรมในการเรี ยน
4. ควรให้นกั เรี ยนทาแบบฝึ กเสริ มทักษะคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง การคูณ โดยครู ควบคุมดูแล
และให้คาแนะนาอย่างใกล้ชิด
5. ให้นกั เรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยน และตรวจคาตอบจากเฉลย
คำแนะนำสำหรับนักเรียน
ชุดฝึ กเสริ มทักษะคณิ ตศาสตร์ เรื่ องการคูณ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ชุดที่ 3 ใช้ประกอบ การ
เรี ยนการสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ คณิ ตศาสตร์ ช้ นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 นักเรี ยนควรปฏิบตั ิดงั นี้
1. ทา แบบทดสอบก่อนเรี ยนลงในกระดาษแบบทดสอบเพื่อตรวจสอบ ความรู ้เดิม
2. แบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่มละ3-5 คน ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มอ่าน จุดประสงค์การเรี ยนรู ้
และทบทวนกฎเกณฑ์
3. ศึกษาในใบความรู ้ แล้ว ทา ใบงานกลุ่ม เสร็ จแล้วจึงตรวจสอบ ความถูกต้องในใบเฉลย
4. ให้นกั เรี ยนแต่ละคนทา แบบฝึ กเสริ มทักษะแต่ละชุด ให้ ครู ผสู ้ อน ตรวจสอบความถูก
ต้องประเมินผลให้คะแนน ถ้าไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ให้ แกไขจนถูกต้อ ง
5. ในการฝึ กนั้น เมื่อนักเรี ยนทา แบบฝึ กเสริ มทักษะเรื่ องใดแล้ว ให้นกั เรี ยนตรวจคาตอบ
จาก เฉลยคาตอบ ถ้าทาผิดให้นกั เรี ยนย้อนกลับไป ศึกษาเนื้อหาเรื่ องนั้นอีกครั้ง ให้เข้าใจและ
กลับไปแบบฝึ กให้ถูกต้องทุกข้อ แล้ว จึงจะไปทา แบบฝึ กเรื่ องต่อไป และเมื่อทาแบบฝึ กเสร็ จแล้ว
จะมีแบบทดสอบ ท้ายชุดฝึ กเสริ มทักษะให้ ทา ซึ่ งนักเรี ยนต้องทา แบบทดสอบให้ผา่ นเกณฑ์แล้ว
จึงไปทาชุดฝึ กเสริ มทักษะชุดต่อไป
6. บันทึกผลที่ได้ลงในตารางบันทึกความก้าวหน้า เพื่อทราบผล การเรี ยนและการพัฒนา
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 สัมผัสของจริงหรือวัตถุสามมิติ
1.1 แบ่งนักเรียนทั้งหมดออกเป็น 3 กลุ่ม เช่น ถ้านักเรียนในห้องมีทั้งหมด 50 คน แบ่งกลุ่ม 3 กลุ่ม
ได้ดังนี้ กลุ่มที่ 1 มี 18 คน กลุ่มที่ 2 มี 12 คน และกลุ่มที่ 3 มี 20 คน จากนั้นกาหนดให้นักเรียนจัด
กลุ่มใหม่ดังนี้
กลุ่มที่ 1 ออกมายืนจับกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน
กลุ่มที่ 2 ออกมายืนจับกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน
กลุ่มที่ 3 ออกมายืนจับกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน
โดยทาทีละกลุ่มใช้เพลงประกอบตามความเหมาะสม
ครูถามนักเรียนแต่ละกลุ่มดังนี้ เช่น กลุ่มที่ 1 มีนักเรียนกี่คน ยืนกลุ่มละกี่คน ได้ทั้งหมดกี่
กลุ่ม มีนักเรียนกี่คน จากนั้นให้เขียนอยู่ในรูปการบวก
1.2 แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 3-5 คน ครูแจกตัวนับให้นักเรียนกลุ่มละ 20 อัน ให้แต่ละกลุ่ม
จัดตัวนับเป็นกอง กองละเท่า ๆ กัน เช่น กลุ่มที่ 1 อาจจัด

ครูใช้คาถาม ดังนี้
1.2.1 มีตัวนับทั้งหมดกี่กอง (5 กอง)
1.2.2 แต่ละกองมีตัวนับกี่อัน (4 อัน)
1.3 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาตัวนับใส่ถุง ครูใช้คาถามดังนี้
1.3.1 มีตัวนับทั้งหมดกี่ถุง (5 ถุง)
1.3.2 แต่ละถุงมีตัวนับกี่อัน (4 อัน)
1.3.3 มีตัวนับทั้งหมดกี่อัน (20 อัน)
1.3.4 นักเรียนหาคาตอบได้อย่างไร (การบวก)
ขั้นที่ 2 เชื่อมโยงประสบการณ์จากการสัมผัสวัตถุสามมิติขึ้นเป็นภาพ
2.1 ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานาเสนอและวาดภาพประกอบ เช่น ภาพจานส้ม 5 จาน ๆ ละ
4 ผล ดังนี้
2.2 ครูแนะนาการเขียนแผนภาพเพื่อหาคาตอบ ดังนี้

ขั้นที่ 3 เรียนรู้ด้วยการเชื่อมโยงจากภาพควบคู่กับสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
3.1 ครูแนะนาว่า 4 + 4 +4 + 4+ 4สามารถเขียนให้อยู่การคูณเป็น 5 x 4 อ่านว่า ห้าคูณสี่
หมายถึง 5 กลุ่มของ 4 และแนะนานักเรียนว่า xเป็นเครื่องหมายแสดงการคูณ พร้อมเขียนภาพ แล้ว
สรุปดังนี้

4+4+4+4+4 = 5x4
= 20

ทาให้ครบทุกกลุ่ม แล้วให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มเขียนสรุปในสมุดของตนเอง 20

3.2 ครูติดแผนภาพตัวนับบนกระดาน ดังนี้

6+6+6+6 = 4x6
= 24
24
3.3 ครูให้นักเรียนวาดภาพมะนาว 6 ผลใน 1 จานจานวน 7 จานหลังจากนั้นครูให้นักเรียน
ติดบัตรตัวเลขลงใต้ภาพ ด้วยการบวกจานวนที่เท่ากันแล้วเปลี่ยนมา เป็นการคูณและครูถามนักเรียน
ว่าจาก 7 x 6 = 24 นักเรียนสามารถบอกได้หรือไม่ว่า
จานวน 7 ตัวแรกมาจากอะไร (จานวนจาน)
จานวน 6 ตัวหลังมาจากอะไร (จานวนตัวนับในจาน)
3.4 ครูจัดกิจกรรมทานองเดียวกับกิจกรรมข้อ 3.1 -3.2 อีก 2-3 ครั้ง จนมั่นใจว่า นักเรียนทา
ได้อย่างคล่องแคล่วและถูกต้อง
3.5 ครูแจกบัตรตัวเลข 1 ถึง 9 บัตรเครื่องหมาย + และบัตรเครื่องหมายคูณ x อย่างละ 10
แผ่น ให้นักเรียนติดบนภาพที่นักเรียนวาดเองโดยติดอยู่ในรูปการบวกและการคูณ เช่น

3 + 3 + 3 + 3+ 3 = 3 x 5
= 15
3.6 ให้นักเรียนฝึกปฏิบัติเช่นเดียวกับกิจกรรมข้อ 3.5 อีก 2-3 ครั้ง จนกระทั่งมั่นใจว่า
นักเรียนเข้าใจการเชื่อมโยงภาพควบคู่กับสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์

ขั้นที่ 4 เรียนรู้ด้วยสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
4.1 ให้นักเรียนฝึกเขียนเชื่อมโยงสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ระหว่างการบวกจานวนที่เท่ากัน
หลาย ๆ จานวนกับการคูณ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

5 + 5 = 10
2 x 5 = 10 10

การบวกจานวนที่เท่ากันหลายครั้ง การคูณ
5 + 5 = 10 2 × 5 = 10
4.2 กิจกรรมฝึกปฏิบัติ
4.2.1 นักเรียนกาหนดจานวนและภาพด้วยตนเอง

4.2.2 ให้นักเรียนแปลงรูปแบบการบวกจานวนที่เท่ากันหลาย ๆ จานวนเป็นรูปแบบการคูณ ดัง


ตัวอย่างต่อไปนี้

การบวกจานวนที่เท่ากันหลายครั้ง การคูณ
………………………… …………………………

4.3 กิจกรรมฝึกปฏิบัติตามตัวอย่าง

การบวกจานวนที่เท่ากันหลายครั้ง การคูณ
4 + 4 + 4 = 12  ×  = 12
3 + 3 + 3 + 3 = 12  ×  = 12
8 + 8 + 8 + 8 = 32  ×  = 32
6 + 6 + 6 + 6 + 6 = 30  ×  = 30

4.3 นักเรียนและครูร่วมกันสรุปกิจกรรมข้างต้นว่า การบวกจานวนที่เท่ากันหลาย ๆ จานวน


สามารถเขียนแสดงได้ด้วยการคูณ
แบบฝึก

เรื่อง การบวกและการคูณ
ให้เขียนประโยคสัญลักษณ์การคูณและหาคาตอบ
แบบฝึก

เรื่อง การบวกและการคูณ
ให้เขียนประโยคสัญลักษณ์บวกและหาคาตอบ
แบบฝึก

เรื่อง การบวกและการคูณ
ให้เติมคาตอบลงใน □
ใบงานที่ 1 เรื่อง ทบทวนการคูณ

ชื่อ…………………………….…….นามสกุล……………..…………………เลขที…่ ……..ชั้น……….

คาชี้แจง ให้นักเรียนหาคาตอบของการคูณ

7x8= 9x5= 3x6=


………………. ………………. ……………….

9x7= 4x9= 8x8=


………………. ………………. ……………….

5x6= 3 x 11 = 9x3=
………………. ………………. ……………….

4x3 7 x 10 5x8
=…………. =…………. =………….

5x5 9x9 2x9


=…………. =…………. =………….

12 x 6 4x6 3x5
=…………. =…………. =………….
ใบงานที่ 2 เรื่อง การคูณเลขหนึ่งหลักกับพหุคูณของ 10 และพหุคูณของ 100

ชื่อ…………………………….…….นามสกุล……………..…………………เลขที…่ ……..ชั้น……….
คาชี้แจง ให้นักเรียนหาคาตอบของการคูณ

1). 2 x 40

2). 3 x 20

3). 6 x200

4). 4 x 300

5). 7x600

6). 30 x 9

7). 40 x 4

8). 900 x 7

9). 500 x 5

10). 800 x 9
ใบงานที่ 3 เรื่อง การคูณจานวนหนึ่งหลักกับพหุคูณของ 100 และพหุคูณของ 1,00

ชื่อ…………………………….…….นามสกุล……………..…………………เลขที…่ ……..ชั้น……….

คาชี้แจง ให้นักเรียนหาคาตอบของการคูณ

1). 200 x 7

2). 300 x 4

3). 600 x 6

4). 4,000 x 2

5). 5,000 x 7

6). 3,000 x 9

7). 4,000 x 9

8). 9,000 x 8

9). 5,000 x 3

10). 8,000 x 4
ใบงานที่ 4 เรื่อง การคูณจานวนหนึ่งหลักกับจานวนสามหลัก

ชื่อ…………………………….…….นามสกุล……………..…………………เลขที…่ ……..ชั้น……….

คาชี้แจง ให้นักเรียนหาคาตอบของการคูณ

1). 235 x 4

2). 175 x 3

3). 852 x 6

4). 136 x 5

5). 236 x 8

6). 632 x 3

7). 745 x 6

8). 963 x 2

9). 412 x 4

10). 523 x 9
ใบงานที่ 5 เรื่อง การคูณจานวนสองหลักกับพหุคูณของ 10

ชื่อ…………………………….…….นามสกุล……………..…………………เลขที…่ ……..ชั้น……….

คาชี้แจง ให้นักเรียนหาคาตอบของการคูณ

1). 26 x 40

2). 70 x 15

3). 30 x 54

4). 54 x 50

5). 36 x 80

6). 80 x 65

7). 70 x 85

8). 39 x 90
ใบงานที่ 6 เรื่อง การคูณจานวนสองหลักกับจานวนสองหลัก

ชื่อ…………………………….…….นามสกุล……………..…………………เลขที…่ ……..ชั้น……….

คาชี้แจง ให้นักเรียนหาคาตอบของการคูณแล้วโยงเส้นประกบก้อนเมฆที่มีผลคูณเท่ากัน

24 x 36 15 x 54

21 x 60 16 x 69

12 x 92 12 x 72

50 x 30
45 x 18

25 x 60 63 x 20
ใบงานที่ 7 เรื่อง การคูณจานวนหนึ่งหลักกับจานวนที่มากกว่าสี่หลัก

ชื่อ…………………………….…….นามสกุล……………..…………………เลขที…่ ……..ชั้น................……….

คาชี้แจง ให้นักเรียนหาคาตอบของการคูณ

12,345 x 3 =………..……. 6 x 63,009 = ………..…

2 x75,734=…..…………..
49,050 x 6 =…..…………..

8 x 97,260=..…………..
207,341 x 7 =…..…………..

9 x 1,987,643 =…..…………..
4 x 27,153 =..…………..
ใบงานที่ 8 เรื่อง การคูณจานวนสามหลักกับจานวนที่เป็นพหุคูณของ 10

ชื่อ……………………………………………. นามสกุล………………………………… ชั้น…………….. เลขที่ …………..

คาชี้แจง ให้นักเรียนหาคาตอบของการคูณจานวนที่เป็นพหุคูณของ 10 ต่อไปนี้


1. 2.

1 6 8x 2 6 8 2 3 5 1 3 5
x x x x
4 4 0 9 9 0

3. 4.

4 9 2 4 9 2 3 3 8
x x
3 3 8
x x
5 50 4 4 0
x

5. 6.

5 9 5 6 9 5 5 1 4 6 1 4
x x x x
40 50 3 0 6 0

x
ใบงานที่ 9 เรื่อง การคูณจานวนสองหลักกับจานวนสามหลัก

ชื่อ…………………………….…….นามสกุล……………..…………………เลขที…
่ ………ชั้น……….

จงแสดงวิธีหาผลคูณ
1. 234 2. 138
x x
52 64

3. 430 4. 546
x x
26 45

5. 673 6. 936
x x
82 63
ใบงานที่ 10 เรื่องการคูณจานวนสามหลักกับจานวนสามหลัก

ชื่อ……………………………………………. นามสกุล………………………………………… ชั้น…………….. เลขที…….


คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมตัวเลขและหาคาตอบของการคูณจานวนสามหลักกับจานวนสามหลัก
ต่อไปนี้

1. 9 0 3 2.
x 5 6
. 2. x
1 5 7 2 3
6 3 1
+ 2 6 4
4 1 5 0 +
5 4 0
+ 0
0 0 0 +
0 0 0

1 1 7 1 0 7 4

ตอบ ตอบ

3. 9 8 4
x 9 6 7
. 2. x
4 6 5 4 5
3 8
+ +
1 9 0 0
+
5 2 0 0 +

1 8

ตอบ ตอบ
ผลของกำรใช้ ชุดฝึ กทักษะเรื่องกำรคูณที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนของ
นักเรียน
ชั้นประถมศึกษำปี ที่ 3 โรงเรียนบ้ ำนปำกถัก
THE EFFECT OF USING MULTIPLICATION
SKILL SERIES ON LEARNING ACHIEVEMENT
OF GRADE 3 STUDENTS AT BANPAKTHAK
SCHOOL

จงรักษ์ ตรีกลุ
6113101016

วิจัยในชั้นเรียนฉบับนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของกำรศึกษำในรำยวิชำกำรฝึ กปฏิบัติกำรสอนใน


สถำนศึกษำ
คณะมนุษยศำสตร์ และสั งคมศำสตร์ สำขำวิชำชีพครู
วิทยำลัยเทคโนโลยีภำคใต้
ภำคเรียนที่ 2 ปี กำรศึกษำ 2562
ผลของกำรใช้ ชุดฝึ กทักษะเรื่องกำรคูณที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษำปี ที่ 3 โรงเรียนบ้ ำนปำกถัก
THE EFFECT OF USING MULTIPLICATION
SKILL SERIES ON LEARNING ACHIEVEMENT
OF GRADE 3 STUDENTS AT BANPAKTHAK
SCHOOL

จงรักษ์ ตรีกลุ
6113101016

วิจัยในชั้นเรียนฉบับนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของกำรศึกษำในรำยวิชำกำรฝึ กปฏิบัติกำรสอนใน


สถำนศึกษำ
คณะมนุษยศำสตร์ และสั งคมศำสตร์ สำขำวิชำชีพครู
วิทยำลัยเทคโนโลยีภำคใต้
ภำคเรียนที่ 2 ปี กำรศึกษำ 2562

You might also like