You are on page 1of 41

รายงานการวิจยั

วิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลักสู ตรภาษาอังกฤษธุรกิจ


มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
The Process of Enhancing English Communication Skills of Business English
Students

นาย พีรพัฒน์ อดีตโต


รหัสนักศึกษา 60142174

รายงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา ENG 3512 การเขียนงานวิจัยทางธุรกิจ


หลักสู ตรภาษาอังกฤษธุรกิจ คณะมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2562
รายงานการวิจยั

วิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลักสู ตรภาษาอังกฤษธุรกิจ


มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
The Process of Enhancing English Communication Skills of Business English Students

นาย พีรพัฒน์ อดีตโต


รหัสนักศึกษา 60142174

รายงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา ENG 3512 การเขียนงานวิจยั ทางธุ รกิจ


หลักสู ตรภาษาอังกฤษธุ รกิจ คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2562

กิตติกรรมประกาศ

การศึกษาวิจยั เรื่ อง“วิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลักสู ตร


ภาษาอังกฤษธุ รกิจมหาวิทยาลัยราชภัฎเชี ยงใหม่”ครั้งนี้ ได้สาเร็ จลุล่วงตามวัตถุประสงค์โดยได้รับ
ความอนุเคราะห์จาก อาจารย์ ภัทรกมล รักสวน และ อาจารย์ ดร.นิตยา สงวนงาม ซึ่ งเป็ นที่ปรึ กษา
งานวิจยั นี้ ที่ได้กรุ ณาให้คาแนะนา คาปรึ กษา ตรวจสอบ แก้ไขร่ างวิจยั และข้อมูลต่าง ๆ มาโดย
ตลอด ผูว้ จิ ยั จึงกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสู ง
ขอขอบพระคุณบิดา มารดาที่ได้คอยให้กาลังใจและสนับสนุ นการศึกษาในการทางานวิจยั
เล่มนี้ให้สาเร็ จรุ ร่วง
ขอขอบคุณเพื่อนๆและรุ่ นพี่หลักสู ตรภาษาอังกฤษธุ รกิจ มหาวิยาลัยราชภัฎเชี ยงใหม่ที่ได้
ให้ความร่ วมมือในการทาวิจยั เล่มนี้ดว้ ยดีเสมอมา
คุณประโยชน์ของงานวิจยั เล่มนี้น้ ีขอมอบแด่บิดา มารดา ครู อาจารย์ ทุกท่าน

พีรพัฒน์ อดีตโต

ชื่อโครงการวิจยั : วิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษอังกฤษของนักศึกษาหลักสู ตร


ภาษาอังกฤษธุ รกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ผูว้ จิ ยั : นายพีรพัฒน์ อดีตโต
ปริ ญญา : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษธุ รกิจ
ที่ปรึ กษา : 1. อาจารย์ ดร.นิตยา สงวนงาม
2. อาจารย์ภทั รกมล รักสวน

บทคัดย่อ

การวิ จ ัย ครั้ งนี้ มี ว ตั ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ศึ ก ษาศึ ก ษาวิ ธี ก ารในการพัฒ นาทัก ษะการสื่ อ สาร
ภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลักสู ตรภาษาอังกฤษธุ รกิ จ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั เป็ นนักศึกษา
หลักสู ตรภาษาอังกฤษธุ รกิจจานวน 10 คน ที่มีแนวโน้มในการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษ
ที่ดีข้ ึนได้มาโดยวิธีเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจยั คือ แบบสัมภาษณ์ เชิ ง
ลึก ทาการวิเคราะห์ขอ้ มูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจยั พบว่า
1. นัก ศึ ก ษากลุ่ ม ตัว อย่า งที่ มี พ ฒ ั นาการในทัก ษะการสื่ อ สารภาษาอัง กฤษผ่า นวิ ธี ก าร
ทั้งหมด 3 ช่องทางประกอบไปด้วย 1) การทางานพิเศษ 2) ช่องทางออนไลน์ 3) ช่องทางออฟไลน์
2. วิ ธี ก ารในแต่ ล ะช่ อ งทางเป็ นดัง นี้ ช่ อ งทางการท างานพิ เ ศษในด้ า นการสื่ อ สาร
ภาษาอังกฤษที่ดีข้ ึนผ่านการทางานพิเศษโดยประเภทของงานที่ทานั้นเป็ นงานด้านการบริ การซึ่ ง
อาศัยการใช้ภาษาอังกฤษเป็ นตัวกลางในการสื่ อสารกับชาวต่างชาติ ช่องทางออนไลน์ เป็ นช่องทาง
ที่นกั ศึกษาเข้าถึ งได้ง่ายที่สุดและเป็ นช่ องทางที่กลุ่มตัวอย่างใช้กนั มากที่สุด และช่ องทางนี้ มีผใู ้ ช้
อย่างน้อย 2 ช่ องทางขึ้นไป ซึ่ งอาศัยวิธีการฟั ง การดู และช่ องทางออฟไลน์เป็ นอีกช่ องทางที่ มี
นักศึกษากลุ่มตัวอย่างใช้โดยการมีคนรู้จกั หรื อคนใกล้ตวั ที่ใช้ภาษาอังกฤษซึ่ งอาศัย วิธีการโดยการ
พูดคุยหรื อสนทนากับคนรู ้จกั ซึ่ งอาจเป็ นญาติหรื อคนใกล้ชิดอีกที ซึ่ งใช้ภาษาอังกฤษในการสื่ อสาร
เสมอ
3. นัก ศึ ก ษากลุ่ ม ตัว อย่ า งทั้ง หมดให้ ค วามเห็ น ว่ า การเรี ย นนอกห้ อ งเรี ย นได้ป ระสบ
ผลสาเร็ จมากกว่าการเรี ยนในห้องเรี ยน ในด้านการสื่ อสารภาษาอังกฤษ เพราะไม่ตอ้ งกังวลเรื่ อง
ความถูกต้องเป็ นเหตุผลหลัก

คาสาคัญ: วิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษ นักศึกษาหลักสู ตรภาษาอังกฤษธุ รกิจ


Thesis Title : The Process of Enhancing English Communication Skills of Business


English Students
Researcher : Mr.Peraphat Aditto
Degree : Bachelor of Arts Program in Business
Advisor : 1) Aj. Dr. Nittaya Sangunngarm
2) Aj. Pattaragamol Raksuan

Abstract

The purpose of this study was to study the process of enhancing English communication
skills of Business English students. The target group included 10 students which improved
English communication development from ChiangMai Rajabhat University. The research
instrument was in-depth interview. The data obtained was analyzed by content analysis
The results of the study were as follow
1. The target group had 3 ways to improve their English communication through part-
time job, online communication, and offline Communication.
2. The methods in each ways were as follow: 1) in part-time job case, the target worked
more than two jobs and the type of the work was the task of service which used
English as a medium of communication with foreigner. 2) Online communication
was the way that accessible easy for the target group and this way were most
commonly used. The target group used online communication at least two channels
or more by listening and watching. 3) Offline communication was another way that
the target group used by acquaintances or people who used English to communicate.
The target group talked or chatted with acquaintances in English for improved their
communication skills.
3. The most students commented that learning outside the classroom was more
successful in the class room in the part of English communication skills. Because
they did not worried about authenticity as the main reason.

Keywords: The Process of Enhancing English Communication Skills and Business English
Students.

สารบัญ

หน้ า
กิตติกรรมประกาศ ก
บทคัดย่อภาษาไทย ข
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ค
สารบัญ จ
สารบัญตาราง ช
บทที่ 1 บทนา 1
ที่มาและความสาคัญ 1
วัตถุประสงค์ของงานวิจยั 2
ขอบเขตการวิจยั 2
ทฤษฎี สมมติฐานและกรอบแนวคิดของการวิจยั 3
นิยามศัพท์เฉพาะ 4
บทที่ 2 ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้อง 5
ทักษะการสื่ อสาร5
ความหมายของการสื่ อสาร 5
ระดับของการสื่ อสาร 6
วัตถุประสงค์ของการสื่ อสาร 7
ทฤษฎีการพัฒนาตน 8
ทฤษฎีการพัฒนาตน 9
กระบวนการพัฒนาตน 10
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 10
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจยั 12
ขอบเขตการวิจยั 13
ขอบเขตด้านประชากร 13
ขอบเขตด้านพื้นที่ 13
ขอบเขตด้านเวลา 13

สารบัญ(ต่ อ)

หน้ า
วิธีดาเนินการวิจยั 13
ระยะที่ 1 การสารวจพื้นที่เป้ าหมาย เพื่อศึกษาประเด็นที่จะนาไปใช้ 13
ในการทาวิจยั ซึ่ งเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษ
ระยะที่ 2 การผลิตเครื่ องมือที่ใช้ในการดาเนินการวิจยั 13
ระยะที่ 3 การเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจยั 14
การวิเคราะห์ขอ้ มูล 14
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล15
ส่ วนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลทัว่ ไป 16
ส่ วนที่ 2 ผลการวิเคราะห์เนื้ อหา 17
บทที่ 5 สรุ ป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 22
ผลการวิจยั ตามวัตถุประสงค์ 22
อภิปรายผลการวิจยั 23
ข้อเสนอแนะ 25
บรรณานุกรม 27
ภาคผนวก 28
ภาคผนวก ก รายนามผูเ้ ชียวชาญ 29
ภาคผนวก ข แบบสัมภาษณ์ 30
ประวัติผวู้ ิจยั 32

สารบัญตาราง

ตาราง หน้ า
1 แสดงค่าร้อยละข้อมูลทัว่ ไปของนักศึกษาแยกตามเพศ 16
2 แสดงค่าร้อยละข้อมูลทัว่ ไปของนักศึกษาแยกตามประวัติการเรี ยนพิเศษนอกสถาบัน 16
3 แสดงวิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษผ่านการทางานพิเศษ 17
4 แสดงวิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษผ่านช่องทางออนไลน์ 18
5 แสดงวิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษผ่านช่องทางออฟไลน์ 19
6 แสดงการเปรี ยบเทียบระหว่างทักษะการสื่ อสารในห้องเรี ยนและนอกห้องเรี ยน 20
บทที่ 1
บทนา

1. ทีม่ าและความสาคัญของปัญหา
การสื่ อสารเป็ นปั จจัยที่ มีความสาคัญอย่างหนึ่ งต่อการดารงชี วิต มนุ ษย์เรานั้นต้องมี การ
ติดต่อสื่ อสารกันอยู่ตลอดเวลา การสื่ อสารในปั จจุบนั นี้ มีความสาคัญอย่างยิ่ง การสื่ อสารทาให้เกิ ด
ความรู ้ และ มีความเข้าใจซึ่ งกัน การสื่ อสารทาให้มนุ ษย์เข้าถึ งกันได้ง่ายขึ้น แต่อย่างไรก็ตามการ
สื่ อสารนั้นจาเป็ นต้องมีช่องทางเพื่อทาให้มนุ ษย์สื่อสารกันได้อย่างเข้าใจ ซึ่ งช่องทางที่กล่าวมานั้น
ประกอบไปด้วยทางสัญลักษณ์ ท่าทาง และภาษา ช่องทางเหล่านี้ทาให้เกิดความเข้าใจ
ในปั จ จุ บ ัน มี ภ าษาอยู่ ม ากกว่ า 4,000 ภาษาทั่ว โลก ภาษาที่ มี ค นใช้ ก ัน มากที่ สุ ด คื อ
ภาษาอังกฤษ โดยภาษาอังกฤษมี ผูใ้ ช้อยู่ถึง 1.121 พันล้านคนทัว่ โลก ดังนั้นภาษาอังกฤษถื อเป็ น
ภาษาหลัก ที่ ใ ช้ใ นการติ ดต่ อ สื่ อสารกับ คนชนชาติ อื่น ด้ว ยเหตุ น้ ี ทุ ก ชาติ ทุ ก ภาษา จึ ง บรรจุ วิช า
ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาที่สองรองลงมาจากภาษาประจาชาติเป็ นแกนของหลักสู ตร ทุกคนต้องเรี ยนรู้
และใช้ภาษาอัง กฤษให้ได้ท้ งั สิ้ นตั้ง แต่ นายกรั ฐมนตรี ไปจนถึ ง เกษตรกร ชาวไร่ ช าวบ้า นและ
ชาวบ้านทัว่ ไป (สมเกียรติ อ่อนวิมล, 2555)
ภาษาอังกฤษสาหรับคนไทยนั้นยังเป็ นเรื่ องที่ตอ้ งพึงตระหนักและให้ความสาคัญ ดังเช่ น
แผนยุทธศาสตร์ ปฏิรูปการเรี ยนการสอนภาษาอังกฤษ ของกระทรวงศึกษาธิ การ (2555) ที่ได้กล่าว
ไว้ว่า ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาต่างประเทศที่นิยมใช้กนั อย่างแพร่ หลายมากที่ สุด มี คนทัว่ โลกใช้
ภาษาอังกฤษเป็ นหลักในการสื่ อสารถึงจานวน 2,000 ล้านคน หรื อ 1 ใน 3 ของประชากรของโลก ดังนั้น
จึงเป็ นความจาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะส่ งเสริ มให้ประชากรไทยได้เรี ยนรู ้ภาษาอังกฤษในระดับที่จะสื่ อสาร
ได้ เป็ นเครื่ องมือในการแสวงหาความรู ้ และการประกอบอาชี พ ตลอดจนการเจรจาต่อรองสาหรับ
การแข่งขัน ด้านเศรษฐกิจและสังคม
ในยุคปั จจุบนั นี้ การเรี ยนภาษาอังกฤษเป็ นสิ่ งที่สาคัญสาหรั บคนไทย ซึ่ งในยุคไร้ พรหม
แดนทาการใช้ชีวิตประจาวัน การศึกษาหรื อการท่องเที่ยว สะดวกและง่ายขึ้น ปั จจัยที่กล่าวมานั้น
เป็ นที่สามารถพัฒนา หรื อ กระตุน้ ต่อการเรี ยนรู ้ภาษาอังกฤษได้ การศึกษาที่เกิดในห้องเรี ยน หรื อจะ
เป็ นชีวติ ประจาวันที่ได้พบเจอกับผูท้ ี่ใช้ภาษาอังกฤษเช่นเดียวกัน จึงทาให้เกิดการกระตุน้ การเรี ยนรู ้
ภาษาเกิ ดขึ้น บ้างสามารถศึกษาผ่านการเข้าเรี ยน ศึกษาตามตาราหลักสู ตร แต่ในความเป็ นจริ งแล้ว
นั้นสิ่ งแวดล้อมรอบตัวก็สามารถนามาศึกษาในรู ปแบบภาษาอังกฤษได้เช่นกัน
2

การส่ ง เสริ ม ให้มี ก ารเรี ย นรู ้ ภ าษาอัง กฤษมี เพิ่ ม มากขึ้ นในประเทศไทย โดยการเรี ย นรู้
ภาษาอัง กฤษนั้นบรรจุ เป็ นหลัก สู ตรในการเรี ย นอยู่ใ นทุ ก สถาบัน แต่ ก ารเรี ย นรู ้ จะไม่ บ รรลุ ถึ ง
เป้ าหมายได้หากไม่เกิดการเรี ยนรู ้ ดว้ ยตนเอง ดังเช่นนโยบายที่ส่งเสริ มภาษาอังกฤษประจาปี ของ
กระทรวงศึกษาธิ การ (2555) ซึ่ งได้สนับสนุ นถึงหน่วยงานต่างๆเกี่ยวกับการเรี ยนภาษาอังกฤษและ
เป็ นนโยบายที่ส่งเสริ มในด้านต่างๆ อาทิ การอบรม การจัดทาสื่ อในสถานศึกษา เป็ นต้น
ปรากฏการณ์ ห นึ่ งที่ น่ า สั ง เกตคื อ นัก เรี ยน นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา ตลอดจนผู ้ที่ ก าลัง ศึ ก ษา
ภาษาอัง กฤษในปั จ จุ บ ัน มุ่ ง แสวงหาการเรี ย นรู ้ การศึ ก ษาพิ เศษภาษาอัง กฤษเพิ่ ม มากขึ้ น โดย
ส่ วนมากผูเ้ รี ยนมีความต้องการพูดภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ปรากฏการณ์น้ ี สะท้อนให้
เห็นถึง การจัดการเรี ยนการสอนภาษาอังกฤษในโรงเรี ยน (นงสมร พงษ์พานิช, 2552)
ในปี 2019 นี้ การสื่ อสารถือเป็ นสิ่ งจาเป็ นที่ทุกคนต่างต้องใช้การสื่ อสารเพื่อเพิ่มความเข้าใจ
กัน การสื่ อสารจึงเป็ นสิ่ งสาคัญ ผูท้ ี่ศึกษาภาษาอังกฤษนั้นส่ วนใหญ่น้ นั ต้องสื่ อสารได้และสื่ อสาร
กับผูร้ ั บ สารเป็ น ซึ่ งผูเ้ รี ยนจะหาช่ องทางในการพัฒนาทัก ษะภาษาอังกฤษของตนเองมากว่าใน
ห้องเรี ยน ซึ่ งการเรี ยนในห้องเรี ยนนั้นต่างออกไปจากค้นคว้าด้วยตนเองโดยตรง ด้วยเหตุน้ ี ผทู ้ าวิจยั
สนใจและใคร่ ทีจะศึกษาถึงกลวิธีที่ผศู ้ ึกษาภาษาอังกฤษพัฒนาตนเองให้มีทกั ษะที่พฒั นามากขึ้น

2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่ อ ศึ ก ษาศึ ก ษาวิธี ก ารในการพัฒนาทัก ษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษของนัก ศึ ก ษา
หลักสู ตรภาษาอังกฤษธุ รกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

3. ขอบเขตของการวิจัย
3.1 ขอบเขตด้ านประชากร
นักศึกษาหลักสู ตรภาษาอังกฤษธุ รกิจ จานวนกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง 10 คน ที่มีแนวโน้ม
ในการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษที่ดีข้ ึน
3.2 ขอบเขตด้ านพืน้ ที่
มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
3.3 ขอบเขตด้ านระยะเวลาลา
ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2562 (พฤศจิกายน 2562 ถึง กุมภาพันธ์ 2563)
3

4. ทฤษฎี สมมุติฐานและกรอบแนวคิดของวิจัย
4.1 ทฤษฎี
โครงงานวิจยั เรื่ อง “วิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลักสู ตร
ภาษาอังกฤษธุ รกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่”ได้อาศัยทฤษฎีดงั นี้
ทฤษฏีเกี่ยวกับการพัฒนาตนของ Boy Dell ได้จาแนกออกเป็ น 4 ด้าน 1) ด้านสุ ขภาพ ซึ่ ง
เกี่ยวกับบุคคลจะต้องมีสุขภาพจิตที่ดีและร่ างกายจะต้องแข็งแรง 2) ด้านทักษะ ความต้องการพัฒนา
ทักษะทางสมอง และการสร้ างสรรค์ความคิดในหลายรู ปแบบ รวมทั้งความทรงจา ความมีเหตุผล
ความคิดสร้างสรรค์ 3) ด้านการกระทาให้สาเร็ จ การกระทาหรื อการปฏิบตั ิสิ่งต่างๆ ให้สาเร็ จลุล่วง
โดยกล้า กระทาด้วยตัวเองโดยไม่ตอ้ งรอคาสั่ ง หรื อไม่รอคอยให้เกิ ดขึ้ นเอง 4)ด้านเอกภาพของ
ตนเอง เป็ นการยอมรับข้อดี และข้อเสี ยของตนเองด้วยความพอใจในความสามารถและยอมรับ
ข้อบกพร่ องของตนเองและพยายามแก้ไขให้ดีที่สุด โดยแต่ละด้านก็มีการแบ่งออกเป็ นระดับอีกด้วย
เช่นระดับทางความคิด หรื อระดับทางความรู ้สึกเป็ นต้น
4.2 สมมุติฐาน
นัก ศึ กษาหลัก สู ตรภาษาอัง กฤษธุ รกิ จพัฒนาทัก ษะการสื่ อสาร(Oral Communication)
ภาษาอังกฤษด้วยตนเองผ่านกระบวนการการเรี ยนรู ้นอกห้องเรี ยน
4.3 กรอบแนวคิด

การพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษ
ด้วยตนเอง
ความรู ้ที่เกิดขึ้นในห้องเรี ยน ความรู ้ที่เกิดขึ้นนอกเรี ยน

วิธีการที่นกั ศึกษาหลักสู ตรภาษาอังกฤษ


ธุ รกิจ ใช้ในการศึกษาภาษาอังกฤษด้วย
ตนเอง ด้วยการเรี ยนรู ้ผา่ นในห้องเรี ยน
และนอกห้องเรี ยน

เกิดการพัฒนาในทักษะภาษาอังกฤษ
4

5. วิธีการดาเนินการวิจัย
5.1 วิธีการดาเนินการวิจัย
ในการศึกษาวิจยั เรื่ อง “วิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลักสู ตร
ภาษาอัง กฤษธุ ร กิ จ มหาวิท ยาลัย ราชภัฏ เชี ย งใหม่ ” เป็ นการศึ ก ษาวิจ ัย เชิ ง คุ ณ ภาพ(Qualitative
Research)โดยมีข้ นั ตอนดังต่อไปนี้
1. ค้นหาปั ญหาหรื อประเด็นที่น่าสนใจต่อการดาเนินการวิจยั
2. ค้นหาทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจยั
3. สร้างเครื่ องมือที่ใช้ในการสารวจ คือ แบบสัมภาษณ์
4. ลงพื้นที่เพื่อทาการสัมภาษณ์ โดยการใช้การสัมภาษณ์แบบเชิงลึก
5. เก็บรวบรวมข้อมูลจากการสารวจ
6. วิเคราะห์ขอ้ มูล
7. สรุ ปผลการวิจยั

5.2 เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการทาวิจัย


1. แบบสัมภาษณ์

6. นิยามศัพท์เฉพาะ
6.1 วิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษ คือ วิธีการต่าง ๆ ที่ นักศึ กษาหลักสู ตร
ภาษาอังกฤษธุ รกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชี ยงใหม่เรี ยนรู ้ผา่ นกระบวนการการเรี ยนรู้ดว้ ยตนเองนอก
ห้องเรี ยน
6.2 นักศึกษา หลักสู ตรภาษาอังกฤษธุ รกิจ คือ นักศึกษาหลักสู ตรศิลป์ ศาสตร์ บณ
ั ฑิต คณะ
มนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุ รกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชี ยงใหม่ ชั้นปี ที่3
ชั้นปี ที่ 4 และบัณฑิ ตที่ จบการศึ กษาในปี 2561 ที่ มีแนวโน้มในการพัฒนาทักษะการสื่ อสาร(Oral
Communication) ภาษาอังกฤษที่ดีข้ ึนอย่างเห็นได้ชดั
บทที่ 2
เอกสารงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง

การศึ กษาวิจยั เกี่ ยวกับ “ปั จจัยที่ ส่งผลต่อการพัฒนาทัก ษะการฟั ง -พูดภาษาอังกฤษ ของ
นัก ศึ ก ษาหลัก สู ตรภาษาอัง กฤษธุ ร กิ จชั้นปี ที่ 3 มหาวิท ยาลัย ราชภัฏ เชี ย งใหม่ ” อาศัย ทฤษฎี
ดังต่อไปนี้
1. ทักษะการสื่ อสาร
2. ทฤษฎีการพัฒนาตน
3. งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

1. ทักษะการสื่ อสาร
ความหมายของการสื่ อสาร
ทรงธรรม ธี ระกุล(2548) ได้ให้ความหมายของการสื่ อสารว่า การสื่ อสารเป็ นหัวใจของการ
ทาความเข้าใจระหว่างกันของมนุ ษย์ในสังคม มนุ ษย์จะทาความเข้าใจกันได้ตอ้ งอาศัยการสื่ อสาร
เพื่อให้ขอ้ มูล ถ่ายทอดความรู ้ ความคิด ความเห็น และประสบการณ์ซ่ ึ งกันและกัน เพื่อให้สามารถ
อยูร่ ่ วมกันได้อย่างสงบสุ ข อีกทั้งการสื่ อสารยังช่วยให้มนุ ษย์พฒั นาปั ญญาและความคิดสร้างสรรค์
ได้อย่างไม่มีที่สิ้นสุ ด
นพรัตน์ ชานาญสิ งห์ (2552) ได้กล่าวความหมายของการสื่ อสาร หรื อสื่ อความหมาย เป็ น
การถ่ายโอนความคิดหรื อความรู ้สึกให้เห็ นพ้องต้องกันระหว่างบุคคลโดยผ่านช่ องทางต่างๆ เช่ น
ช่องทางผ่านการพูด กริ ยาท่าทาง อิริยาบถต่างๆ การแสดงสี หน้า ภาษาเขียนหรื อภาพต่างๆ
กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร(2551) ให้ ค วามหมายความสามารถในการสื่ อสารว่ า เป็ น
ความสามารถในการรับ และส่ งสาร และทัศนของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนความเข้าใจ ข้อมูลข่าวสาร
และประสบการณ์ ที่เป็ นประโยชน์ต่อ การพัฒนาตนเองและสังคม ทักษะการสื่ อสารประกอบไป
ด้วย ทักษะการพูด การฟัง การอ่านซึ่ งเป็ นเครื่ องมือที่ใช้ในการสื่ อสาร
ดังนั้นสรุ ปได้ว่า การสื่ อสารเป็ นการสื่ อความหมายเพื่อให้เข้าใจซึ่ งกันและกัน และเพื่อ
แลกเปลี่ ยนข้อมูล ความคิด เพื่อความเข้าใจซึ่ งกันและกัน จากผูส้ ่ งสารผ่านตัวกลางไปยังผูร้ ับสาร
ด้วยภาษา ท่าทาง รวมถึงสัญลักษณ์ เพื่อให้เกิดประสิ ทธิ ภาพในการสื่ อสาร
6

ระดับของการสื่ อสาร
เสนาะ ติเยาว์ (อ้างถึงใน ฐิติรัตน์,2554) ได้แบ่งระดับของการสื่ อสารออกเป็ น 6 ระดับ ดังนี้
1. การสื่ อสารในระดับตัวเอง (Intrapersonal Communication)
เป็ นการสื่ อสารรู ปแบบหนึ่ งที่เกิ ดขึ้นเมื่อมี การสื่ อสารกับตนเอง ทั้งการคิ ด การวิเคราะห์
การตัดสิ นใจหรื อการพูดกับตนเอง กิ จกรรมต่างๆ เกิ ดขึ้ นในใจของบุ คคลเพียงลาพัง ที่ สาคัญ
ความหมายของการสื่ อสารที่เกิดขึ้นนั้น ตัวผูส้ ื่ อสารเป็ นผูแ้ ปลความหมายนั้น ๆ เอง
2. การสื่ อสารในระดับบุคคล (Interpersonal Communication)
เป็ นการสื่ อสารตั้งแต่บุคคลสองคนขึ้ นไป เพื่อสร้ างความเข้าใจกันและรู ้ ข่าวสารต่าง ๆ
ของโลก รวมถึงทาให้ รู้จกั ตนเองด้วยเพราะการสื่ อสารเป็ นเสมือนภาพสะท้อนของตนเอง การ
สื่ อสารระดับบุคคลนั้นจะ ก่อให้เกิดผล 3 ประการ คือ
1) ลดความกลัว หรื อความรู ้สึกไม่เชื่อมัน่ ในตนเองที่จะติดต่อบุคคลอื่น
2) ความสอดคล้องของการกระทาที่ตรงกับความเชื่อ ทัศนคติ และค่านิยมของตนเอง
3) สร้างความ ไว้วางใจกัน การสื่ อสารที่มีความจริ งใจย่อมมีประสิ ทธิ ภาพและเสริ มสร้าง
ความสัมพันธ์อนั ดี ระหว่างบุคคล
3. การสื่ อสารในระดับกลุ่มย่ อย
เป็ นกระบวนการสื่ อสารที่ มี ลกั ษณะพิเศษแตกต่า งจากการสื่ อสารในรู ปแบบอื่นๆ การ
สื่ อสารระดับ นี้ มี ป ระสิ ท ธิ ภาพสู ง กว่า โดย พลัง ภายในของกลุ่ ม หรื อระหว่า งกลุ่ ม มี ผ ลกระทบ
โดยตรงต่อความสาเร็ จและความล้มเหลวส่ วนตัวและสมาชิกในกลุ่มและต่อเป้ าหมายของกลุ่ม
4. การสื่ อสารระดับเทคโนโลยี
เป็ นการสื่ อสารผ่านเทคโนโลยีต่างๆ โดยใช้ช่องทาง การสื่ อสารผ่านตัวกลางที่เป็ นอุปกรณ์
เทคโนโลยี เช่น วิทยุ โทรทัศน์ เครื่ องคอมพิวเตอร์ เป็ นต้น โดยผูท้ ี่จะสื่ อสารด้วยช่องทางนี้ตอ้ งมี
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีได้ในระดับนึง ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการสื่ อสาร ที่
รวดเร็ วและสามารถสื่ อสารได้หลายเป้ าหมายพร้อมกันด้วยตัวกลางเพียงตัวเดียว
5. การสื่ อสารระดับชุ มชน (Public Communication)
การสื่ อสารระดับ ชุ ม ชนเกิ ดขึ้ นในลักษณะต่ อเนื่ อง เป็ นแนวทางเดี ย วกันเป็ นส่ วนใหญ่
มักจะเกิ ดขึ้น ในโอกาสพิเศษ ซึ่ งการเตรี ยมตัวสาหรับการสื่ อสารในระดับชุมชนจึงต้องจัดทาเป็ น
การเฉพาะ กาหนดเป้ าหมายหรื อวัตถุประสงค์ให้ชดั เจน ซึ่ งส่ วนใหญ่จะสื่ อสารเพื่อแจ้งข้อมูลหรื อ
ชักชวนให้ คล้อยตามและเพื่อความบันเทิง ที่สาคัญการแจ้งข้อมูลจะต้องมีลกั ษณะการนาเสนอที่
ผูร้ ับสารไม่ เคยรู ้ มาก่อน หรื อวิธีการนาเสนอที่แปลกใหม่ไปกว่าเดิ ม เพื่อทาให้การสื่ อสารระดับ
ชุมชนเกิดการ เปลี่ยนแปลงความเชื่อ ทัศนคติ ค่านิยม และพฤติกรรมของผูร้ ับสาร
7

6. การสื่ อสารระดับมวลชน (Mass Communication)


เป็ นความก้าวหน้าทางสื่ อหรื อตัวกลางของการสื่ อสาร จาเป็ นต้องอาศัยสื่ ออย่างมากเพื่อให้
การสื่ อสารต่อมวลชนประสบความสาเร็ จ โดยมีผรู้ ั บสารอย่างจานวนมากและไม่จากัด ซึ่ งมีความ
แตกต่างกัน อย่างสิ้ นเชิ ง รู ปแบบของการสื่ อสารมวลชนมี ลักษณะแตกต่างกันโดยอาศัยสื่ อ
หลากหลายประเภท เช่น โทรทัศน์ วิทยุ หนังสื อพิมพ์ หนังสื อ เป็ นต้น

วัตถุประสงค์ ของการสื่ อสาร


คณาจารย์ของมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย (2551) กล่าวถึง วัตถุประสงค์ของการ
สื่ อสารไว้ดงั นี้
1. เพื่อแจ้งให้ทราบ (Inform) ในการทาการสื่ อสาร ผูท้ าการสื่ อสารควรมีความ ต้องการที่
จะบอกกล่าวหรื อชี้แจงข่าวสาร เรื่ องราว เหตุการณ์ หรื อสิ่ งอื่นใดให้ผรู ้ ับสารได้รับทราบ
2. เพื่อสอนหรื อให้การศึกษา (Teach or Education) ผูท้ าการสื่ อสารอาจมีวตั ถุประสงค์
เพื่อจะ ถ่ายทอดวิชาความรู ้ หรื อเรื่ องราวเชิงวิชาการ เพื่อให้ผรู้ ับสารได้มีโอกาสพัฒนาความรู้ให้
เพิ่มพูนยิง่ ขึ้น
3. เพื่อสร้างความพอใจหรื อให้ความบันเทิง (Please of Entertain) ผูท้ าการสื่ อสารอาจ ใช้
วัตถุประสงค์ในการสื่ อสารเพื่อสร้างความพอใจ หรื อให้ความบันเทิงแก่ผรู ้ ับสาร โดยอาศัยสารที่
ตนเองส่ งออกไป ไม่วา่ จะอยูใ่ นรู ปของการพูด การเขียน หรื อการแสดงกิริยาต่าง ๆ
4. เพื่อเสนอหรื อชักจูงใจ (Propose or Persuade) ผูท้ าการสื่ อสารอาจใช้วตั ถุประสงค์ใน
การสื่ อสารเพื่อให้ขอ้ เสนอแนะ หรื อชักจูงใจในสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งต่อผูร้ ับสาร และอาจชักจูงใจให้ผรู้ ับ
สารมีความคิดคล้อยตาม หรื อยอมปฏิบตั ิตามการเสนอแนะของตน
5. เพื่อเรี ยนรู้ (learn) วัตถุประสงค์น้ ีมีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับผูร้ ับสาร การแสวงหา
ความรู้ ของผูร้ ับสาร โดยอาศัยลักษณะของสาร ในกรณี น้ ี มกั จะเป็ นสารที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับ
วิชาความรู้ เป็ นการหาความรู ้เพิ่มเติมและเป็ นการทาความเข้าใจกับเนื้ อหาของสารที่ผทู ้ าการ
สื่ อสารถ่ายทอดมาถึงตน
6. เพื่อกระทาหรื อตัดสิ นใจ (Dispose or Decide) ในการดาเนินชีวิตของคนเรามี สิ่ งหนึ่ งที่
ต้องกระทา อยูเ่ สมอก็คือ การตัดสิ นใจกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่ งการตัดสิ นใจ นั้นอาจได้รับ
การเสนอแนะ หรื อชักจูงใจให้กระทาอย่างนั้นอย่างนี้จากบุคคลอื่นอยูเ่ สมอ ทางเลือกในการ
ตัดสิ นใจของเราจึงขึ้นอยูก่ บั ข้อเสนอแนะนั้น
8

2. ทฤษฏีการพัฒนาตน
การพัฒนาตน (Self-development) คือการเปลี่ยนแปลงตนเองให้เหมาะสมเพื่อตอบสนอง
ความต้องการและเป้ าหมายของตนเอง เพื่อให้สอดคล้องกับสิ่ งที่สังคมคาดหวัง
ศศลักษณ์ ทองปานดี (2551) ได้ให้ความหมายของการพัฒนาตนเองว่า การพัฒนาตนเอง
หมายถึง การดาเนิ นการเกี่ยวกับการส่ งเสริ มบุคคลให้มีความรู้ ความสามารถ มีทกั ษะการทางานดี
ขึ้น ตลอดจนมีทศั นคติที่ดีในการทางาน อันจะเป็ นผลให้การปฏิบตั ิงานมีประสิ ทธิ ภาพดียงิ่ ขึ้น และ
การพัฒนาบุ คคลควรส่ งเสริ ม และพัฒนาทั้ง ร่ างกาย อารมณ์ สั งคม และสติ ปั ญญาอย่างทัว่ ถึ ง
สม่าเสมอและต่อเนื่อง
โสภณ ช้างกลาง (2550) กล่าวว่า การพัฒนาตนเองหมายถึง การดึงเอาศักยภาพของตนเอง
ออกมาแก้ไขปรับเปลี่ ยนให้เกิ ดความเจริ ญดี ข้ ึนกว่าอดี ต สร้ างความแปลกใหม่ให้กบั ตนเอง เป็ น
การสร้ างศักยภาพของตนเองให้ดีข้ ึน เพื่อให้สามารถดารงชี วิตอยู่ในสถานการณ์ ที่แตกต่างกันได้
อย่างมีความสุ ข เป็ นกระบวนการที่จะเพิ่มพูนความรู ้ เพื่อยกระดับมาตรฐานหรื อความชานาญใน
การปฏิบตั ิงานให้สูงขึ้นและตนเองมีความเจริ ญก้าวหน้า

โดยสิ ริวรรณ นันทจันทูล (อ้างถึงใน สุ นทรี บุญจันทร์ , 2555)ได้จาแนกตามลักษณะทิศทาง


ของการสื่ อสารดังนี้
1. การติดต่อสื่ อสารทางเดียว (One-way Communication) เป็ นการสื่ อสารโดยที่ผสู ้ ่ งสาร
นั้นเป็ นผูส้ ่ งสารไปยังรับผูร้ ับสารฝ่ ายเดียว ไม่มีการเปิ ดโอกาสให้ผรู ้ ับสารตอบกลับแต่อย่างใด
2. การติดต่อสื่ อสารสองทาง (Two-way Communication) เป็ นการสื่ อสารที่ผร็ ับสารและผู้
ส่ งสารมีการตอบโด้กนั ได้ เพื่อนามาซึ่ งความเข้าใจที่ถูกต้อง
3. การสื่ อสารตามภาษาสัญลักษณ์ที่แสดงออก มี 2 ลักษณะ คือ วัจนภาษา และ อวัจนภาษา
ดังนี้
3.1 วัจนภาษา หรื อ ภาษาถ้อยคา (Verbal Language) ได้แก่ จาพวกคาพูดหรื อ
ตัวหนังสื อทีเป็ นทีกาหนด ตกลงร่ วมกันของคนในสังคม ซึ่ งรวมถึงเสี ยงและลายลักษณ์อกั ษร ซึ่ งวัจ
นภาษาจะเป็ นภาษที่มนุ ษย์สร้างขึ้นในรู ปแบบที่มีความเป็ นระเบียบ มีหลักการไวยากรณ์ ซึ่ งคนใน
สังคมต้องอาศัยการเรี ยน ทาความเข้าใจผ่านการฝึ กฟัง พูด อ่าน และเขียน
3.2 อวัจนภาษา หรื อ ภาษาที่ไม่เป็ นถ้อยคา (Nonverbal Language) คือการสื่ อสาร
ที่ไม่ใช้คาพูดหรื อตัวอักษร แต่จะเป็ นการใช้กริ ยา ท่าทาง อิริยาบถต่างๆ ซึ่ งต้องเป็ นภาษาที่ผสู ้ ่ งสาร
และผูร้ ับสารมีความเข้าใจร่ วมกัน เช่น ภาษากาย หรื อ ภาษาเงียบ เป็ นต้น
9

ทฤษฏีเกีย่ วกับการพัฒนาตน
ทฤษฏี เกี่ ยวกับการพัฒนาตนของ Boy dell (อ้างถึ งใน วิชรวัชร งามละม่อม, 2555)ได้
กาหนดขอบเขตเนื้อหาสาระสาคัญของทฤษฎีการพัฒนาตนเอง แบ่งเป็ น 4 ด้าน
1. ด้านสุ ขภาพ สิ่ งสาคัญในการพัฒนาตนเอง บุคคลจะต้องมีสุขภาพจิตที่ดีและร่ างกาย
จะต้องแข็งแรง แยกเป็ น 3 ระดับ
1.1 ระดับความคิด ไม่ด้ื อรั้นดันทุรัง แต่จะต้องยึดมัน่ ในความคิดเห็ นและความ
เชื่อที่มนั่ คงและต่อเนื่อง ในเวลาเดียวกันก็สามารถมีชีวติ อยูก่ บั ความคลุมเครื อขัดแย้งได้
1.2 ระดับความรู ้สึก รับรู ้ ยอมรับความรู ้สึก มีความสมดุลทั้งภายในและภายนอก
อย่างมัน่ คง
1.3 ระดับ ความมุ่ ง มั่น คุ ณ ค่ า ของโภชนาการในเรื่ อ งอาหารการกิ น สุ ข ภาพที่
แข็งแรง มีรูปแบบชีวติ ที่ดี
2. ด้านทักษะ จะต้องการพัฒนาทักษะทางสมอง และการสร้างสรรค์ความคิดในหลาย
รู ปแบบ รวมทั้ งความทรงจ า ความมี เ หตุ ผ ล ความคิ ด สร้ า งสรรค์ การพั ฒ นาทั ก ษะ
ประกอบด้วย 3 ระดับ คือ
2.1 ระดับความคิด ทักษะทางใจและการคิดคานึ งที่ดี เช่น ความรู ้สึกในเรื่ องงาน
ความทรงจาที่มีเหตุผล การสร้างสรรค์ มีความคิดริ เริ่ ม
2.2 ระดับความรู้ สึก ทัก ษะด้านสังคม ด้านศิ ลปะและการแสดงออก ต้องนา
ความรู ้สึกของตนเข้าร่ วมกับแต่ละสถานการณ์ และสามารถถ่ายทอดความรู ้สึกได้
2.3 ระดับความมุ่งมัน่ มีทกั ษะทางเทคนิ ค ทางกายภาพ สามารถกระทาได้อย่าง
ศิลปิ น มิใช่เป็ นผูท้ ี่มีความชานาญเท่านั้น
3. ด้านการกระทาให้สาเร็ จ การกระทาหรื อการปฏิบตั ิสิ่งต่างๆ ให้สาเร็ จลุล่วงโดยกล้า
กระทาด้วยตัวเองโดยไม่ตอ้ งรอคาสั่ง หรื อไม่รอคอยให้เกิดขึ้นเอง มี 3 ระดับ คือ
3.1 ระดับความคิด มีความสามารถที่จะเลือก และเสี ยสละได้
3.2 ระดับ ความรู้ สึ ก มี ค วามสามารถในการจัดการเปลี่ ย นสภาพจากความไม่
สมหวัง ไม่เป็ นสุ ขให้เป็ นความเข้มแข็ง
3.3 ระดับความมุ่งมัน่ สามารถลงมือริ เริ่ มการกระทาได้ ไม่รอคอยให้เกิดขึ้นเอง
4. ด้านเอกภาพของตนเอง เป็ นการยอมรับข้อดี และข้อเสี ยของตนเองด้วยความพอใจใน
ความสามารถและยอมรับข้อบกพร่ องของตนเองและพยายามแก้ไขให้ดีที่สุด มี 3ระดับ คือ
4.1 ระดับความคิด มีความยอมรับ รู้จกั และเข้าใจตนเอง
10

4.2 ระดับความรู ้สึก ยอมรับตนเองแม้แต่ความอ่อนแอ และยินดีในความเข้มแข็ง


ของตนเอง
4.3 ระดับความมัน่ คง มีแรงผลักดันตนเอง มีเป้ าหมายภายใน มีจุดประสงค์ใน
ชีวติ

กระบวนการในการพัฒนาตนเอง
การพัฒนาตนเองให้ประสบความสาเร็ จ ควรจะมีกระบวนการตามขั้นตอนซึ่ ง (สุ วรี เที่ยว
ทัศน์ อ้างถึงใน วิชรวัชร งามละม่อม, 2555) ได้กล่าวถึงกระบวนการในการพัฒนาตนเอง สรุ ปดังนี้
1. สารวจตัวเอง การที่คนเราจะประสบความสมหวังหรื อไม่ สาเหตุที่สาคัญ คือ จะต้องมี
การส ารวจตนเองเพราะตนเองเป็ นผูก้ ระท าตนเอง คนบางคนไม่ ป ระสบความส าเร็ จ ในชี วิ ต
เนื่ องจากบุ คคลมี จุดอ่อนหรื อคุ ณสมบัติที่ ไม่ดี การที่ จะทราบว่า ตนมี คุ ณสมบัติอย่างไร ควรจะ
ได้รับการสารวจตนเอง ทั้งนี้ เพื่อที่จะได้ปรับปรุ งแก้ไข หรื อพัฒนาตนเองให้ดีข้ ึน เพื่อจะได้มีชีวิต
ที่สมหวังต่อไป
2. การปลู กคุ ณสมบัติที่ดีงาม โดยคุ ณสมบัติของบุคคลสาคัญของโลกเป็ นแบบอย่าง ซึ่ ง
คุณสมบัติของบุคคลไม่ใช่สิ่งที่ติดตัวมาแต่เกิด แต่สามารถเกิดขึ้นได้
3. การปลูกใจตนเอง เป็ นสิ่ งสาคัญ เพราะบุคคลที่มีกาลังใจดี ย่อมมุ่งมัน่ ดาเนิ นการให้
บรรลุเป้ าหมายของชีวติ ที่กาหนดไว้
4. การส่ งเสริ มตนเอง คือการสร้างกาลังกายที่ดี สร้างกาลังใจให้เข้มแข็ง และสร้ างกาลัง
ความคิดของตนให้เป็ นเลิศ
5. การดาเนิ นการพัฒนาตนเอง เป็ นการลงมื อปฏิ บตั ิ เพื่ อเสริ มสร้ างตนเองให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ตามที่ต้ งั ไว้
6. การประเมิ น ผล เพื่ อ จะได้ท ราบว่า การด าเนิ น การพัฒ นาตนเองตามที่ บุ ค คลได้
ตั้ง เป้ าหมายไว้ด าเนิ น การไปได้ผ ลมากน้ อ ยเพี ย งไร จึ ง จ าเป็ นต้อ งอาศัย การวัด ผลและการ
ประเมินผล

3. งานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง


ธี ราภรณ์ กิ จจารั กษ์ (2555) ได้ศึกษาวิจยั เรื่ อง ปั จจัยที่ มีผลต่อการพูดภาษาอังกฤษของ
นัก ศึ ก ษาชั้น ปี ที่ 2 มหาวิ ท ยาลัย ราชภัฏ ในเขตกรุ ง เทพมหานครฯ ซึ่ งมี ว ัต ถุ ป ระสงค์ ใ นการ
ค้น คว้า วิ จ ัย เพื่ อ ศี ก ษาระดับ ความสามารถในการพู ด ภาษาอัง กฤษ และศึ ก ษาปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ
ความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ
11

ชิทชล ยานารมย์ (2556) ได้ศึกษาวิจยั ในหัวข้อ การพัฒนาทักษะการฟัง -พูด ภาษาอังกฤษ


ของนักเรี ยนชั้นปี ที่ 5/1 โดยใช้ภาพยนตร์ ต่างประเทศ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการฟั ง
และการพูดภาษาอังกฤษและเพื่อเปรี ย บเที ย บทักษะการฟั งและการพูดก่ อนและหลัง โดยอาศัย
ภาพยนตร์ ต่างประเทศ
บทที่ 3
วิธีดาเนินการวิจัย

โครงการวิจยั เรื่ อง “วิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลักสู ตร


ภาษาอังกฤษธุ รกิ จ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชี ยงใหม่” โดยงานวิจยั นี้ มีวตั ถุ ประสงค์เพื่อศึ กษาศึกษา
วิธี ก ารในการพัฒนาทัก ษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษของนัก ศึ ก ษาหลัก สู ตรภาษาอัง กฤษธุ รกิ จ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ซึ่ งผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการวิจยั ตามลาดับขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. ขอบเขตของการวิจยั
1.1 ขอบเขตด้านประชากร
1.2 ขอบเขตด้านพื้นที่
1.3 ขอบเขตด้านเวลา
2. วิธีการดาเนินการวิจยั
2.1 ระยะที่ 1 การสารวจพื้นที่เป้ าหมาย เพื่อศึกษาประเด็นที่จะนาไปใช้ในการทา
วิจยั ซึ่ งเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษ
2.2 ระยะที่ 2 การผลิตเครื่ องมือที่ใช้ในการดาเนินการวิจยั
2.3 ระยะที่ 3 การเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจยั
3. การวิเคราะห์ขอ้ มูล
13

1. ขอบเขตของการวิจัย
ผูว้ จิ ยั ได้กาหนดขอบเขตของการวิจยั เพื่อสนองวัตถุประสงค์ของการทาวิจยั ดังนี้
1.1 ขอบเขตด้ านประชากร
ประชากรที่ ใช้ในการศึกษาวิจยั นี้ เป็ นกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาหลักสู ตรศิลป์ ศาสตร์ บณ ั ฑิ ต
คณะมนุ ษย์ศาสตร์ และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุ รกิ จ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชี ยงใหม่
แบบเจาะจง จานวน 10 คน ประกอบไปด้วย นักศึกษาชั้นปี ที่3 ชั้นปี ที่4 และบัณฑิตที่จบการศึกษา
ในปี 2561 ที่มีแนวโน้มในการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษที่ดีข้ ึนอย่างเห็นได้ชดั
1.2 ขอบเขตด้ านพืน้ ที่
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชี ยงใหม่ เลขที่ 202 ถนนช้างเผือก ตาบลช้างเผือก อาเภอเมื อง
เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50300
1.3 ขอบเขตด้ านเวลา
ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2561 ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2562 – กุมภาพันธ์ 2563

2. วิธีการดาเนินการวิจัย
การวิ จ ัย เรื่ อง “วิ ธี ก ารพัฒ นาทัก ษะการสื่ อ สารภาษาอัง กฤษของนัก ศึ ก ษาหลัก สู ต ร
ภาษาอังกฤษธุ รกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่” มีวธิ ี การดาเนินการวิจยั ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ระยะที่ 1 การสารวจพืน้ ที่เป้าหมาย เพื่อศึกษาประเด็นที่จะนาไปใช้ ในการทาวิจัย ซึ่งเกี่ยวกับการ
พัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษ
ลงพื้ น ที่ เ ป้ าหมาย เพื่ อ ศึ ก ษา และค้น คว้า ถึ ง ประเด็ น ที่ ส นใจ ณ มหาวิ ท ยาลัย ราชภัฏ
เชียงใหม่ เลขที่ 202 ถนนช้างเผือก ตาบล ช้างเผือก อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
ระยะที่ 2 การผลิตเครื่องมือทีใ่ ช้ ในการดาเนินการวิจัย
การสร้ างเครื่องมือการวิจัย
1. ใช้บนั ทึกเสี ยงวิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลักสู ตร
ภาษาอังกฤษธุ รกิจ
2. การศึกษาวิจยั นี้ มุ่งเน้นไปที่วิธีที่ใช้ในการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษ (Oral
communication) ของนักศึกษาหลักสู ตรภาษาอังกฤษธุ รกิ จ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชี ยงใหม่ ซึ่ งเป็ น
วิจยั เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยเครื่ องมือที่ใช้ในการดาเนินงานวิจยั คือ แบบสัมภาษณ์
(Interview form) ซึ่ งเป็ นการสัมภาษณ์แบบเชิงลึก (Indepth interview) โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจาก
14

กลุ่มตัวอย่างนักศึกษาหลักสู ตรภาษาอังกฤษธุ รกิ จที่ มีแนวโน้มในการพัฒนาภาษาอังกฤษที่ ดีข้ ึ น


จานวน 10 คน
ระยะที่ 3 การเก็บรวบรวมข้ อมูลการวิจัย
ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลมีดงั ต่อไปนี้
1. ผูว้ ิจยั ได้ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักศึ กษาหลักสู ตรภาษาอังกฤษธุ รกิ จผ่านการ
สัมภาษณ์ กลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง 10 คน ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเชี ยงใหม่ ผูว้ ิจยั ได้ทาการ
สัมภาษณ์ขอ้ มูลเชิงลึกและบันทึกคาพูดเกี่ยวกับวิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษ
2. นาข้อมูลที่ได้รับจากการสัมภาษณ์ นกั ศึ กษาหลักสู ตรภาษาอังกฤษธุ รกิ จมาวิเคราะห์
ข้อมูล วิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษ

3. การวิเคราะห์ ข้อมูล
การดาเนิ นงานวิจยั ครั้งนี้ ผสู ้ ัมภาษณ์ ได้ใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้ อหา (Content Analysis)และ
ถอดบทสัมภาษณ์เพื่อวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพที่ได้จากการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

โครงการวิจยั เรื่ อง “วิธีการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลักสู ตรภาษาอังกฤษ


ธุ ร กิ จ มหาวิ ท ยาลัย ราชภัฏ เชี ย งใหม่ ” เป็ นงานวิจยั เชิ ง คุ ณ ภาพ(Qualitative Research) โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศึกษาวิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาหลักสู ตร
ภาษาอังกฤษธุ รกิจ

ผูว้ ิจยั ได้ทาการรวบรวมข้อมูลจากนักศึกษาหลักสู ตรภาษาอังกฤษธุ รกิ จ ของมหาวิทยาลัย


ราชภัฏเชียงใหม่ พร้อมกับนามาวิเคราะห์โดยใช้วธิ ี การสัมภาษณ์พร้อมกับบันทึกเสี ยงการสัมภาษณ์
และทาการวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)และหาค่าความถี่(Frequency)
จากการวิเคราะห์ได้มีการเสนอผลการวิเคราะห์ออกเป็ น 2 ส่ วน คือ
ส่ วนที1่ ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงปริ มาณ
ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่าง
ตอนที่ 2 ประวัติการเรี ยนพิเศษภาษาอังกฤษนอกสถาบัน
ส่ วนที่ 2 ผลการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ
ตอนที่ 1 วิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษผ่านช่องทางต่างๆ
- ช่องทางการทางานพิเศษระหว่างเรี ยน
- ช่องทางออนไลน์
- ช่องทางออฟไลน์ (เจ้าของภาษาโดยตรง)
ตอนที่ 2 ความติดเห็นเกี่ยวกับการเรี ยนรู ้ทกั ษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษ
- เปรี ยบเทียบการเรี ยนรู้นอกห้องเรี ยนและในห้องเรี ยน
ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสาร
ภาษาอังกฤษ

ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
ผูว้ ิจยั ท าการวิเคราะห์ ข ้อมูลออกมาในรู ปแบบตาราง และการวิเคราะห์ เนื้ อหา(Content
Analysis)ผ่านการรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก
16

ส่ วนที่ 1 การวิเคราะห์เชิงปริ มาณ

ข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่ มตัวอย่างเป็ นนั้นด้าน เพศ ประวัติการเรี ยนพิเศษนอกสถาบัน และ


ประวัติการทางานพิเศษระหว่างเรี ยน

ตารางที่ 1 จานวนร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง โดยนักศึกษาหลักสู ตรภาษาอังกฤษธุ รกิจ จาแนกตาม


เพศ ดังนี้
เพศ จานวน ร้อยละ (%)
1. ชาย 4 40%
2. หญิง 6 60%
รวม 10 100%

จากตารางที่ 1 กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดจานวน 10 คน คิดเป็ น 100% พบว่ามีจานวนเพศชาย 4


คน คิดเป็ นร้อยละ40% และ เพศหญิงจานวน 6 คิดเป็ นร้อยละ 60%

ตารางที่ 2 จานวนร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง โดยนักศึกษาหลักสู ตรภาษาอังกฤษธุ รกิจ จาแนกตาม


ประวัติการเรี ยนพิเศษนอกสถาบัน ดังนี้
ประวัติการเรี ยนพิเศษ จานวน ร้อยละ (%)
ภาษาอังกฤษ
1. เคยเรี ยน 5 50%
2. ไม่เคยเรี ยนพิเศษ 5 50%
รวม 10 100%

จากตารางที่ 2 จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 10 คน พบว่ามีผทู ้ ี่เคยเรี ยนพิเศษ 5 คน คิดเป็ นร้อย


ละ 50% และมีผเู ้ คยไม่เรี ยนพิเศษอยู่ 5 คน คิดเป็ นร้อยละ 50%
17

ส่ วนที่ 2 การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ

ตอนที่ 1 วิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษผ่านช่องทางต่างๆ


ผูว้ ิจยั ได้ทาการสัมภาษณ์แบบเชิ งลึก (In-depth Interview)โดยมีการกาหนดคาถามเอาไว้
ล่วงหน้าและสัมภาษณ์ เจาะประเด็นเกี่ ยวกับวิธีที่กลุ่ มตัวอย่างใช้ในการพัฒนาทักษะการสื่ อสาร
ภาษาอังกฤษ เพื่อศึกษาว่ามีวิธีการใดบ้างที่นาไปสู่ พฒั นาการที่ดีในด้านการสื่ อสารภาษาอังกฤษ
จากกลุ่ มตัวอย่าง 10 คนที่ เป็ นนัก ศึ กษาหลัก สู ตรภาษาอังกฤษธุ รกิ จ ของมหาวิทยาลัย ราชภัฏ
เชียงใหม่ ได้แบ่งออกเป็ น 3 ช่องทางดังนี้

ช่ องทางการทางานพิเศษ
ผลการวิเคราะห์ ขอ้ มูลจากวิธีการพัฒนาทัก ษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษผ่านการทางาน
พิเศษ เป็ นการวิเคราะห์ ผ่านวิธีการที่ กลุ่มตัวอย่างใช้ในการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษ
ผ่านช่องทางการทางานพิเศษ (n = 9)

ตารางที่ 3 วิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษผ่านการทางานพิเศษ

รู ปแบบของงาน วิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษผ่าน


การทางาน
- การทางานโดยเฉพาะงานด้านบริ การ
จะต้องได้ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่ อสาร
งานพิเศษที่ทาระหว่างเรี ยน (n = 9) แน่นอน
(n = 9)
- พูดไปแบบไม่ตอ้ งกลัวผิดลูกค้าจะคอย
ช่วยเหลือหากพูดภาษาอังกฤษผิด
(n = 2)
- การทางานเป็ นประสบการณ์จริ ง
(n = 9)
- มีหวั หน้างานเป็ นชาวต่างชาติ (n = 2)
18

จากตารางที่ 3 ได้ร วบรวมข้อ มู ล จากนัก ศึ ก ษาหลัก สู ต รภาษาอัง กฤษธุ ร กิ จ ผ่า นการ


สัมภาษณ์ แบบเชิ งลึกกับนักศึกษากลุ่มตัวอย่างทั้งหมดจานวน 10 คน ผลการวิเคราะห์สรุ ปได้ดงั นี้
นักศึ กษาจานวน 9 คน คิ ดเป็ นร้ อยละ90 ของจานวนกลุ่ มตัวอย่างได้อาศัยการเรี ย นรู ้ ท กั ษะการ
สื่ อสารภาษาอังกฤษผ่านการทางานพิเศษอย่างน้อยคนละ 2 งานขึ้นไป นักศึกษาทั้ง 9 คนคิดเป็ น
ร้อยละ90 มีการทางานด้านการบริ การและได้ใช้ภาษาอังกฤษสื่ อสารอย่างแน่นอนและได้ระบุวา่ การ
ทางานนั้นเป็ นประสบการณ์จริ ง มีนกั ศึกษาที่มีหวั หน้างานเป็ นชาวต่างชาติ 2 คนคิดเป็ นร้ อยละ20
และมีนกั ศึกษาที่สื่อสารภาษาอังกฤษแบบไม่กงั วลเรื่ องความถูกต้องเนื่ องจากมีลูกค้าช่ วยเหลื อใน
กรณี ที่พดู ผิดอยู่ 2คน คิดเป็ นร้อยละ20

ช่ องทางออนไลน์
วิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอัง กฤษผ่านช่ องทางออนไลน์เป็ นการวิเคราะห์ ถึ ง
วิธีการที่กลุ่มตัวอย่างใช้ในการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษผ่านช่องทางออนไลน์ของกลุ่ม
ตัวอย่าง (n = 10)

ตารางที่ 4 วิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษผ่านช่องทางออนไลน์


วิธีการในการพัฒนาทักษะการสื่ อสาร
ช่องทางออนไลน์ ภาษาอังกฤษผ่านช่องทางออนไลน์
- อาศัยการการฟังเพลงต่างประเทศ
Youtube (n = 8) หรื อเพลงสากล (n = 4)
- การดูรายการที่ตนเองสนใจ (n = 4)
Social Media (Facebook, Twitter, Ig) - ติดต่อกับเจ้าของภาษาผ่าน Facebook
(n = 8) (n = 3)
- ดูวดิ ีโอคลิปสอนการใช้ภาษาอังกฤษ
จากเพจสอนภาษา (n = 6)
- ใช้ในการฝึ กฟั ง พยายามฟั งเยอะๆเพื่ อ
Applications (TED,BBC) เวลาสื่ อสารจะได้เข้าใจได้ง่ายขึ้น
(n = 3) (n = 3)
- ดูภาพยนตร์ หรื อซี รีส์ดว้ ยระบบ sound
ดูหนังและซีรีส์ (n = 4) track (n = 4)
- ดูแบบไม่มีซบั ภาษาอังกฤษ (n = 1)
19

จากตารางที่ 4 จะพบว่าจากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักศึ กษาหลักสู ตรภาษาอังกฤษ


ธุ รกิ จ ผ่า นการสั ม ภาษณ์ แบบเชิ ง ลึ ก ผลการวิเคราะห์ พ บว่า มี นัก ศึ ก ษาที่ ใ ช้ช่ อ งทาง Youtube
จานวน 8 คน คิดเป็ นร้อยละ80 ซึ่ งมีจานวนเช่นเดียวกันกับช่องทาง Social Media มีนกั ศึกษาที่ใช้
ช่องทางการดูหนังและซี รีส์จานวน 4 คน คิดเป็ นร้อยละ40 และช่องทาง Applications โดยมีผใู้ ช้
ช่ องทางนี้ จานวน 3 คน คิดเป็ นร้ อยละ30 โดยแต่ละช่ องทางก็มีวิธีการที่ แตกต่างกัน ซึ่ งช่ องทาง
Youtube มีนกั ศึกษาที่ใช้การฟั งเพลงต่างประเทศหรื อเพลงสากลและการดูรายการต่างประเทศที่
ตนเองสนใจอยูจ่ านวน 4 คน คิดเป็ นร้อยละ40 ช่องทาง Social Media มีนกั ศึกษาที่ใช้วิธีการติดต่อ
กับเจ้าของภาษาผ่าน Facebook จานวน 3 คน คิดเป็ นร้อยละ30 และอาศัยการดูวดิ ีโอคลิปสอนภาษา
จากเพจที่สอนภาษาจานวน 6 คน คิดเป็ นร้ อยละ60 ช่องทาง Applications นักศึกษาใช้วิธีการฟั ง
เยอะ ๆ เพื่อเวลาสื่ อสารจะได้เข้าใจง่ายขึ้นจานวน 3 คน คิดเป็ นร้ อยละ30 และช่ องทางการดูหนัง
และซีรีส์ดว้ ยระบบ Soundtrack จานวน 4 คน คิดเป็ นร้อยละ40 และมีนกั ศึกษาที่พยายามดูแบบไม่
มีซบั ภาษาอังกฤษจานวน 1 คน คิดเป็ นร้อยละ10

ช่ องทางออฟไลน์
ผลการวิเคราะห์จากวิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษผ่านช่องทางออฟไลน์เป็ น
การวิเคราะห์ ถึงวิธีการที่กลุ่มตัวอย่างใช้ในการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษผ่านช่ องทาง
ออฟไลน์หรื อการสื่ อสารโดยตรงกับเจ้าของภาษา (n = 8)

ตารางที่ 5 แสดงวิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษผ่านช่องทางออฟไลน์

รู ปแบบของช่องทางออฟไลน์ วิธีการในการพัฒนาทักษะการสื่ อสาร


ภาษาอังกฤษผ่านช่องทางออฟไลน์
- ทาความรู ้ จกั กับคนทีเป็ นเจ้าของภาษา
โดยตรงผ่านญาติหรื อคนรู ้จกั อีกที
ญาติและคนรู้จกั ของญาติ (n = 5) (n = 5)
- พยายามพูดคุย หรื อชักชวนให้เขาคุยกับ
เราซึ่ ง อาจเกิ ดจากความสนใจในเรื่ อ ง
คนแปลกหน้าที่พบเจอตามสถานที่ท่องเที่ยว เดียวกัน (n = 3)
(n = 3) - มี แ ฟนหรื อเลื อ กคบหากั บ คนที่ เ ป็ น
เจ้าของภาษา (n = 3)
20

จากตารางที่ 5 ในส่ วนของการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษผ่านช่องทางออฟไลน์


หรื อ การสื่ อสารกับเจ้าของภาษาโดยตรง โดยไม่ผ่านช่ องทางออนไลน์ ผลการวิเคราะห์พบว่า มี
นักศึกษาที่ใช้ช่องทางออฟไลน์จานวน 8 คน คิดเป็ นร้อยละ80 จากการสัมภาษณ์น้ นั มีนกั ศึกษาที่มี
ญาติและคนรู้ จกั ของญาติจานวน 5 คน คิดเป็ นร้ อยละ50 และพบเจอคนแปลกหน้าตามสถานที่
ท่องเที่ ยวจานวน 3 คน คิ ดเป็ นร้ อยละ 30 โดยใช้วิธี ก ารทาความรู ้ จกั กับคนที เป็ นเจ้า ของภาษา
โดยตรงผ่านญาติหรื อคนรู ้จกั อีกทีจานวน 5 คน คิดเป็ นร้อยละ50 และ พยายามพูดคุย หรื อชักชวน
ให้เขาคุ ย กับ เราซึ่ งอาจเกิ ดจากความสนใจในเรื่ องเดี ยวกันจานวน 3 คนคิ ดเป็ นร้ อยละ 30 ซึ่ งมี
จานวนเท่ากันกับการมีแฟนหรื อเลือกคบหากับคนที่เป็ นเจ้าของภาษา

ตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรี ยนรู ้ทกั ษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษ

ผูว้ ิจยั ได้เล็งเห็นถึงความแตกต่างในการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษที่เกิ ดขึ้นใน


ห้องเรี ยนและนอกห้องเรี ยน ดังนั้นผูว้ ิจยั ได้ทาการสัมภาษณ์แบบเชิ งลึก(In-depth Interview)กับ
กลุ่ มตัวอย่างซึ่ งเป็ นนักศึ ก ษาหลัก สู ตรภาษาอังกฤษธุ รกิ จจานวน 10คน โดยค าถามจะเป็ นการ
เปรี ยบเทียบถึงความแตกต่างในห้องเรี ยนกับนอกห้องเรี ยน และวิธีการได้ที่ได้ผลมากที่สุดสาหรับ
การพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษ (n = 10)

ตารางที่ 6 แสดงการเปรี ยบเทียบระหว่างทักษะการสื่ อสารในห้องเรี ยนและนอกห้องเรี ยน ดังนี้


ทักษะการสื่ อสาร
ในห้องเรี ยน นอกห้องเรี ยน
- เน้นทฤษฎี (n = 3) - ไม่ตอ้ งกังวลเรื่ องความถูกต้อง (n = 5)
- กั ง วลเรื่ องความถู ก ผิ ด ในหลั ก การ - กล้าพูดมากกว่าในห้องเรี ยน (n = 4)
สื่ อ ส า ร เ ช่ น ก า ร พู ด ใ ห้ ถู ก ห ลั ก - ไม่มีเวลาให้คิด (n = 4)
ไวยากรณ์ หรื อ ใช้ค าศัพ ท์ไ ม่ ถู ก ต้อ ง - เป็ นสถานการณ์จริ ง (n = 3)
เป็ นต้น (n = 5) - ไม่เน้นทางการมากจนเกินไป (n = 3)
- กังวลในการถูกติจากอาจารย์หรื อเพื่อน - การสื่ อสารประสบความสาเร็ จ (n = 10)
ที่สื่อสารได้ (n = 4)
- อาศัยเวลาในการคิ ดเพื่อจะสื่ อสารกับ
อาจารย์ (n = 2)
21

จากตารางที่ 6 แสดงถึ งความแตกต่างของการเรี ยนรู ้ ท กั ษะการสื่ อสารผ่านการเรี ยนใน


ห้องเรี ยนกับนอกห้องเรี ยน ผลการวิเคราะห์พบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดซึ่ งคิดเป็ นร้อยละร้อยได้ให้
ความเห็นว่าการเรี ยนรู ้ทกั ษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษจากนอกห้องเรี ยนประสบความสาเร็ จมากกว่า
การเรี ยนในห้อง มีนกั ศึกษาระบุวา่ ในห้องเรี ยนเน้นทฤษฎีจานวน 3คน คิดเป็ นร้อยละ30 กังวลเรื่ อง
ความถูกผิดในหลักการสื่ อสาร เช่น การพูดให้ถูกหลักไวยากรณ์ หรื อ ใช้คาศัพท์ไม่ถูกต้อง เป็ นต้น
มีจานวน 5 คน คิดเป็ นร้อยละ50 มีนกั ศึกษาที่กงั วลในการถูกติจากอาจารย์หรื อเพื่อนที่สื่อสารได้
จานวน 4คน คิดเป็ นร้ อยละ40 และ อาศัยเวลาในการคิดเพื่อจะสื่ อสารกับอาจารย์จานวน 2คน คิด
เป็ นร้อยละ20 ซึ่ งในห้องเรี ยนนักศึกษาให้ความเห็ นว่าไม่ตอ้ งกังวลเรื่ องความถูกต้องจานวน 5คน
คิดเป็ นร้อยละ50 โดยนักศึกษาระบุว่ากล้าพูดมากกว่าในห้องเรี ยนและไม่มีเวลาให้คิดอยูจ่ านวน 4
คน คิดเป็ นร้อยละ40 และมีนกั ศึกษาที่ระบุวา่ ไม่เน้นทางการมากจนเกินไปและเป็ นสถานการณ์จริ ง
จานวน 3คน คิดเป็ นร้อยละ 30

ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษ

จากการสัมภาษณ์ กลุ่มตัวอย่างที่เป็ นนักศึกษาหลักสู ตรภาษาอังกฤษธุ รกิ จ จานวน10 คน


ได้มีผใู ้ ห้คาแนะนาเกี่ยวกับวิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษ สรุ ปได้ดงั นี้
1. แนะนาให้ไปเรี ยนต่างประเทศเพราะได้เจอสภาพแวดล้อมที่ใช้การสื่ อสารภาษาอังกฤษ
จริ งๆ หากมีทุนทรัพย์
2. อย่ากลัวที่จะสื่ อสาร ต้องกล้าแสดงออกและกลี่จะสื่ อสาร
3. การมีเพื่อนเป็ นชาวต่างชาติหรื อเจ้าของภาษานั้นช่วยพัฒนาทักษะการสื่ อสารได้ดี
4. พยายามพัฒนาตัวเองต่อไปเรื่ อยๆและค้นหาสิ่ งใหม่ๆอยูต่ ลอดเวลา
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ

โครงการวิจยั เรื่ อง “วิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลักสู ตร


ภาษาอังกฤษธุ รกิ จ มหาวิยาลัยราชภัฏเชี ยงใหม่” เป็ นการวิจยั เชิ งคุณภาพ โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อ
ศึกษาวิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาหลักสู ตรภาษาอังกฤษธุ รกิจ
กลุ่ มตัวอย่างแบบเจาะจงเป็ นนักศึ กษาหลักสู ตรภาษาอังกฤษธุ รกิ จ ที่ มีแนวโน้มในการ
พัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษของตนเองที่ดีข้ ึน จากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชี ยงใหม่ จานวน
10 คน
เครื่ องมือที่ใช้ในการทาวิจยั ประกอบด้วย
1) แบบสัมภาษณ์
2) การบันทึกเสี ยง

ผูว้ ิจยั วิเคราะห์ ขอ้ มูล โดยการวิเคราะห์ เนื้ อหา (Content Analysis) ดัง นั้นการอภิ ปราย
ผลการวิจยั ในบทนี้ เป็ นการอภิปรายผลตามวัตถุ ประสงค์เป็ นหลักและมีขอ้ เสนอแนะตามประเด็น
ดังต่อไปนี้
1. สรุ ปผลการวิจยั
2. อภิปรายผลการวิจยั
3. ข้อเสนอแนะ

สรุ ปผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์
โดยวัตถุประสงค์ของงานวิจยั นี้ คือ เพื่อศึกษาวิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษ
ของนักศึกษาหลักสู ตรภาษาอังกฤษธุ รกิจ และผลจากการสัมภาษณ์นกั ศึกษาหลักสู ตรภาษาอังกฤษ
ธุ รกิจจากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จานวน 10 คน มีรายละเอียดของผลการวิจยั ดังต่อไปนี้
นัก ศึ ก ษากลุ่ ม ตัว อย่า งทั้ง หมดมี วิธี ก ารในการพัฒนาทัก ษะการสื่ อ สารภาษาอัง กฤษที่
แตกต่างกันออกไป พบว่ามีวิธีการในการพัฒนาทั้งหมด 3 ช่องทางประกอบไปด้วย 1) การทางาน
พิเศษ 2) ช่องทางออนไลน์ 3) ช่องทางออฟไลน์ ซึ่ งนักศึกษากลุ่มตัวอย่างใช้ช่องทางดังที่กล่าวมา
นี้ ในการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษและนักศึกษากลุ่ มตัวอย่างทั้งหมดระบุ ว่าวิธีการที่
ตนเองพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษได้ดีที่สุดนั้นคือวิธีการเรี ยนรู ้นอกห้องเรี ยน
23

อภิปรายผลการวิจัย
จากการรวบรวมข้อ มู ล ผ่ า นการสั ม ภาษณ์ นัก ศึ ก ษาหลัก สู ต รภาษาอัง กฤษธุ ร กิ จ ที่ มี
แนวโน้มในการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษจานวน 10 คนนั้น ผลการอภิปรายออกมาดังนี้
วิธีการที่ กลุ่ มตัวอย่างใช้ในการพัฒนาตนเองนั้น เป็ นการพัฒนาตนในระดับทักษะซึ่ ง
สอดคล้องกับทฤษฎี การพัฒนาตนของ Boy Dell (อ้างถึ งใน วิชรวัชร งามละม่อม, 2555) ที่ได้
กาหนดขอบเขตเนื้ อหาสาระสาคัญของทฤษฎี การพัฒนาตนเอง แบ่งเป็ น 4 ด้าน ซึ่ งในด้านที่กลุ่ม
ตัวอย่างใช้ในการพัฒนาตนนั้นอยู่ในด้านที่ เป็ น ด้านทักษะ ที่จะต้องอาศัยการพัฒนาทักษะทาง
สมอง และการสร้ า งสรรค์ค วามคิ ดในหลากหลายรู ป แบบ รวมทั้งความทรงจา ความมี เหตุ ผ ล
ความคิดสร้างสรรค์ การพัฒนาทักษะของกลุ่มตัวอย่างอยูใ่ น ระดับมุ่งมัน่ ซึ่ งกลุ่มตัวอย่างส่ วนใหญ่
นั้นมีทกั ษะทางเทคนิ ค ในรู ปแบบที่คล้ายคลึ งกับแตกต่างกันออกไป นอกจากด้านทักษะนั้น ยังมี
ด้านที่เป็ น ด้านการกระทาให้สาเร็ จ การกระทาหรื อการปฏิ บ ัติสิ่งต่างๆ ให้สาเร็ จลุ ล่วงโดยกล้า
กระทาด้วยตัวเองโดยไม่ตอ้ งรอคาสั่ง หรื อไม่รอคอยให้เกิดขึ้นเอง โดยผ่านวิธีการทาความรู ้จกั และ
พบเจอกับเจ้าของภาษาเพื่อให้ตนได้ฝึกฝนทักษะภาษาอังกฤษ ซึ่ งอยู่ในระดับมุ่งมัน่ ซึ่ งนักศึกษา
กลุ่มตัวอย่างนั้นสามารถลงมือริ เริ่ มการกระทาได้ ไม่รอคอยให้เกิดขึ้นเอง โดยที่เขาพัฒนาด้วยตัว
ของพวกเขาเอง

ระดับในการสื่ อสารโดยการพัฒนาทักษะการสื่ อสารผ่านช่องทางดังต่อไปนี้


1. การทางานพิเศษ
ผลการวิจยั พบว่า มีนกั ศึกษาหลักสู ตรภาษาอังกฤษธุ รกิจที่ มีพฒั นาการทางด้านการสื่ อสาร
ภาษาอังกฤษที่ดีข้ ึนผ่านการทางานพิเศษ โดยประเภทของงานที่ทานั้นเป็ นงานด้านการบริ การซึ่ ง
อาศัยการใช้ภาษาอังกฤษเป็ นตัวกลางในการสื่ อสารกับชาวต่างชาติ นักศึ กษามองว่าการทางาน
พิเศษที่อาศัยการสื่ อสารผ่านประสบการณ์การทางานจริ งนั้น มีการพบเจอพูดคุยในการทางานและ
ทาให้เกิดทักษะการสื่ อสารที่ดี และมีของกลุ่มตัวอย่างมองว่าตนเองมีการพัฒนาทักษะการสื่ อสาร
ภาษาอังกฤษได้ดีข้ ึ นน้อย เนื่ องด้วยประเภทของงานที่ ทา ทาให้ทกั ษะการสื่ อสารพัฒนาได้น้อย
เนื่องจากใช้การสื่ อสารด้วยคาศัพท์หรื อประโยคเดิมตลอดเวลาทาให้มีพฒั นาการที่นอ้ ยกว่างานอื่น
ซึ่ งจากการสัมภาษณ์พบอีกว่า กลุ่มตัวอย่างมีการทางานพิเศษมากกว่า 2 งาน และงานส่ วนใหญ่เป็ น
งานบริ ก าร ซึ่ ง ช่ อ งทางการสื่ อ สารผ่า นการท างานพิ เศษนั้น เป็ นการสื่ อ สารในระดับ บุ ค คล
(Interpersonal Communication) เป็ นการสื่ อสารตั้งแต่บุคคลสองคนขึ้นไป เพื่อสร้างความเข้าใจกัน
ในการทางาน ซึ่ งในการสื่ อสารระดับบุคคลผ่านการทางานนั้นทาให้กลุ่มตัวอย่างนั้นไม่เกิ ดความ
24

กลัวและกล้าที่จะพูด ซึ่ งสอดคล้องกับการแบ่งระดับการสื่ อสารของเสนาะ ติเยาว์(อ้างถึงใน ฐิติรัตน์


, 2554)

2. ช่ องทางออนไลน์
ผลการวิจยั พบว่า นักศึกษาทั้งหมด 10 คน ใช้ช่องทางออนไลน์ในการพัฒนาทักษะการ
สื่ อสารภาษาอังกฤษด้วยตนเอง เนื่ องด้วยปั จจุบนั เทคโนโลยีน้ นั สามารถเข้าถึงได้ง่ายกว่าสมัยก่อน
นักศึกษากลุ่มนี้จึงได้ใช้ช่องทางออนไลน์ในการพัฒนาทักษะการสื่ อสารของตนเอง ซึ่ งช่องทางที่ใช้
นั้นประกอบไปด้วย YouTube ซึ่ งอาศัยการฟั งเพลงหรื อดูวิดีโอคลิ ปที่ ตนเองสนใจในรู ปแบบ
ภาษาอังกฤษ, Social Media (Facebook, Instragram, Twitter) ใช้ในการติดต่อสื่ อสารกับคนที่ใช้
โปรแกรมเดียวกันซึ่ งเป็ นคนที่ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่ อสารบ้าง, Application (BBC,TED Talk)
และการดูหนังหรื อซี รีส์ภาษาอังกฤษ โดยช่ องทางออนไลน์น้ นั มี ผูใ้ ช้ทุกคนต่างกันเพียงจานวน
ช่องทาง ซึ่ งส่ วนใหญ่ใช้ช่องทางออนไลน์อย่างน้อย 2 ช่องทาง ซึ่ งแต่ละช่องทางจะมีวิธีการพัฒนา
ในรู ปแบบที่แตกต่างกันออกไป ซึ่ งช่องทางออนไลน์สอดคล้องกับระดับที่ เสนาะ ติเยาว์ ได้แบ่งไว้
ซึ่ งช่ องทางนี้ ตรงกับการสื่ อสารในระดับเทคโนโลยี ซึ่ งช่องทางนี้ อาศัยตัวกลางเป็ นเทคโนโลยีใน
การสื่ อสารซึ่ ง โดยผูท้ ี่ จะสื่ อสารด้ว ยช่ องทางนี้ ต้องมี ค วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีไ ด้ใ น
ระดับนึ ง ซึ่ งจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการสื่ อสาร ที่รวดเร็ วและสามารถสื่ อสารได้หลายเป้ าหมาย
พร้อมกันด้วยตัวกลางเพียงตัวเดียว และการใช้ช่องทางออนไลน์ซ่ ึ งมีวิธีการที่อาศัยการดูภาพยนตร์
ต่างประเทศเพื่อฝึ กทักษะภาษาอังกฤษซึ่ งสอดคล้องกับงานวิจยั ของ ชิ ทชล ยานารมย์ (2556) ที่ได้
นาภาพยนตร์มาใช้ในการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ

3. ช่ องทางออฟไลน์
ผลการวิจยั พบว่า มีนกั ศึกษากลุ่มตัวอย่างมีคนรู ้ จกั หรื อคนใกล้ตวั ที่ใช้ภาษาอังกฤษถึ ง 8
คนจาก 10 คน ซึ่ งอาศัยวิธีการโดยการพูดคุยหรื อสนทนากับคนรู ้จกั ซึ่ งอาจเป็ นญาติหรื อคนใกล้ชิด
อีกที ซึ่ งใช้ภาษาอังกฤษในการสื่ อสารเสมอ และมี 1 คนจากกลุ่มตัวอย่างที่อาศัยการพบปะกับคน
ตามสถานที่ท่องเที่ยวซึ่ งใช้วธิ ี การเข้าไปพูดคุยโดยพยายามเข้าหาผ่านการพูดคุยในเรื่ องที่สนใจแบบ
เดี ยวกันจะทาให้เกิ ดการสื่ อสารภาษาอังกฤษขึ้น ซึ่ งช่ องทางนี้ จะเป็ นการสื่ อสารในระดับบุคคล
อย่างเช่ นกับช่ องทางการทางาน เป็ นการสื่ อสารในระดับบุคคล (Interpersonal Communication)
เป็ นการสื่ อสารตั้งแต่บุคคลสองคนขึ้นไป เพื่อสร้างความเข้าใจกัน
25

ข้ อเสนอแนะ
จากผลการวิจยั ครั้งนี้ผวู ้ จิ ยั มีขอ้ เสนอแนะในการวิจยั สรุ ปได้ดงั ต่อไปนี้
1. ควรมีการขยายขอบเขตด้านพื้นที่และประชากรเพิ่มเพื่อคุณภาพของงานที่ดีข้ ึน
2. ควรศึกษาปั จจัยหรื อช่องทางที่จะส่ งผลให้เกิดการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษ
ให้มากขึ้น
3. ควรมีการทาวิจยั อย่างต่อเนื่องเพื่อความทันต่อสมัยและทันต่อเทคโนโลยีในอนาคต
4. ควรมีการทาวิจยั กับชาวต่างชาติที่ไม่ได้ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่ อสารและมีวามต้องการ
จะใช้ภาษาอังกฤษในการสื่ อสาร
26

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษา. (2551). หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุ งเทพฯ: คุรุ
สภาลาดพร้าว
กระทรวงศึกษา. (2555). ความสาคัญของภาษาอังกฤษ. สื บค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2562,จาก
http://english.obec.go.th/english/2013/index.php/th
กระทรวงศึกษา. (2555). English-Speaking Year. สื บค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2562,จาก
https://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=26451&Key=news1
คณาจารย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2551). วัตถุประสงค์ ของการสื่ อสาร. สื บค้นเมื่อ 17 มกราคม
2563, จาก http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter1-4.html
ชิทชล ยานารมย์. (2556). การพัฒนาทักษะการฟัง-พูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ 5/1 โดยใช้ ภาพยนตร์ ต่างประเทศ. สื บค้นเมื่อ 30 ธันวาคม 2562 ,
จาก http://www.hu.ac.th/Conference/conference2014/proceedings/data/3511/3511-6.pdf
ฐิติรัตน์ ชุ่มน้อย. (2554). การสื่ อสารเพือ่ การจัดการการเปลีย่ นแปลงในองค์ กร. สื บค้นเมื่อ 18
มกราคม 2563, จาก http://library1.nida.ac.th/termpaper6/lang/2554/19864.pdf
ทรงธรรม ธี ระกุล. (2548). กลยุทธ์ ความสาเร็จขององค์ กร. สื บค้นเมื่อ 22 มกราคม 2563, จาก
http://grad.tsu.ac.th/main/files_sec/
นงสมร พงษ์พานิช, (2552). การศึกษาปั ญหาของการพูดภาษาอังกฤษในการสื่ อสารด้ วยวาจาของ
นิสิตคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตุลาคม 2550 ถึง
กันยายน 2551. สื บค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2562,จาก file:///C:/Users/user/Downloads/
54201-Article%20Text-125461-1-10-20160404%20(1).pdf
นพรัตน์ ชานาญสิ งห์. (2552). การสร้ างสื่ อการเรียนการสอน. สื บค้นเมื่อ 26 ธันวาคม 2562, จาก
http://www.pkach2.blogspot.com/
ศศลักษณ์ ทองปานดี. (2551). การศึกษาความต้ องการพัฒนาตนของพนักงานบริษัทพาวเวอร์ ปั๊ม.
สื บค้นเมื่อ 14 มกราคม 2563, จาก http://newtdc.thailis.or.th/docview
วิชรวัชร งามละม่อม. (2558). แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาตนเอง. สื บค้นเมื่อ 7 มกราคม
2563, จาก http://learningofpublic.blogspot.com/2015/09/blog-post_95.html
สุ นทรี บุญจันทร์. (2555). การศึกษาทักษะการสื่ อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้ นทีม่ ีภาวะ
ออทิสซึม. กรุ งเทพฯ:มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ
27

สมเกียรติ อ่อนวิมล. (2555). การใช้ ภาษาอังกฤษและภาษาอืน่ ในภูมิภาคกับอนาคตของ


ไทยในอาเซียน.สื บค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2562,
จาก http://www.dla.go.th/upload/ebook/column/
โสภณ ช้างกลาง. (2550). ความต้ องการพัฒนาตนเองของข้ าราชการตารวจตระเวนชายแดน
กองกากับการตารวจตระเวนชายแดนที่. สื บค้นเมื่อ 14 มกราคม 2563,
จาก http://newtdc.thailis.or.th/docview.aspx?tdcid=62079
ภาคผนวก
29

ภาคผนวก ก
รายนามผู้เชี่ ยวชาญ

ชื่อ-นามสกุล อ.ดร.นิตยา สงวนงาม


ตาแหน่ ง อาจารย์ภาควิชาภาษาตะวันตก
คณะ มนุษย์ศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

ชื่อ-นามสกุล อ.ภัทรกมล รักสวน


ตาแหน่ ง อาจารย์ภาควิชาภาษาตะวันตก
คณะ มนุษย์ศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

ภาคผนวก ข
30

แบบสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อการวิจยั
เรื่ อง
วิธีการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลักสู ตรภาษาอังกฤษธุ รกิจ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเชียงใหม่
ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไป
1. เพศ................................
2. คุณเคยเรี ยนพิเศษกับติวเตอร์ นอกสถาบันหรื อไม่..........................................
ตอนที่ 2 คาถามเกี่ยวข้องกับงานวิจยั
1. คุณใช้ช่องทางใดบ้างในการเรี ยนรู ้ภาษาอังกฤษเพื่อเสริ มทักษะการสื่ อสารด้วยตนเอง ?
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
1.1 คุณมีวธิ ี การอย่างไรในการพัฒนาภาษาอังกฤษด้วยตนเองผ่านช่องทางดังกล่าว ?
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
2. คุณเคยทางานพิเศษระหว่างเรี ยนไหม มีท้ งั หมดกี่งาน และงานอะไรบ้าง
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
2.1 หากคุณเคยทางานพิเศษระหว่างเรี ยน คุณคิดว่างานที่คุณทาระหว่างเรี ยนนั้นส่ งผลให้คุณมีการ
พัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษหรื อไม่ ? อย่างไร ? (หากไม่เคยให้ขา้ มข้อนี้)
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
31

3. คุณเคยใช้ทกั ษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษกับเจ้าของภาษาโดยตรงที่ผา่ นการเรี ยนรู้นอกห้องเรี ยน


หรื อไม่? อย่างไร? (นอกจากการทางาน)
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
4. คุณคิดว่าการสื่ อสารภาษาอังกฤษในห้องเรี ยน กับ นอกห้องเรี ยน ต่างกันหรื อไม่? อย่างไร?
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

4.1 คุ ณคิดว่าการสื่ อสารแบบไหนส่ งผลต่อการพัฒนาทักษะการสื่ อสารภาษาอังกฤษของคุณมาก


ที่สุด? อย่างไร?
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
5. ข้อเสนอแนะ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ภาคผนวก ค
32

ประวัติผ้ วู จิ ัย

ชื่อ – สกุล (ภาษาไทย) นาย พีรพัฒน์ อดีตโต


(ภาษาอังกฤษ) Mr.Peraphat Aditto
วัน เดือน ปี เกิด 22 พฤศจิกายน 2541
ทีอ่ ยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 165/26 หมู่ที่ 4 หมู่บา้ นทิพย์ภมร ตาบลแม่เหี ยะ
อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50100
การศึกษา ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษธุ รกิจคณะมนุษยศาสตร์
และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

You might also like