You are on page 1of 84

วิจยั และนวัตกรรมเพือ่ พัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนในฝัน

เรื่อง
การพัฒนาการอ่านออกเสียงสะกดคาภาษาอังกฤษ (Phonics)
โดยใช้ แบบฝึ กทักษะ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
โรงเรียนบ้ านนา้ แคม อาเภอท่ าลี่ จังหวัดเลย

สรียาภรณ์ นนทะปะ

โรงเรียนบ้ านนา้ แคม อาเภอท่ าลี่ จังหวัดเลย


สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาเลยเขต 1

คานา

“วิจยั และนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝัน ” ฉบับนี้ เป็ นส่ วนหนึ่ ง


ของการพัฒนาคุ ณภาพด้านวิชาการของโรงเรี ยนบ้านน้ าแคม อาเภอท่าลี่ จังหวัดเลย สานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลยเขต 1 ซึ่ งได้รับการประเมินให้เป็ นโรงเรี ยนต้นแบบโรงเรี ยน
ในฝันรุ่ นที่ 3 เมื่อปี การศึกษา 2555
โรงเรี ยนบ้านน้ าแคมได้พิจารณาปั ญหาด้านการเรี ยนการสอนทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
แล้ว พบว่า กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศมีปัญหามากที่สุด เนื่องจากนักเรี ยนขาดความรู ้
และทักษะด้านการอ่านออกเสี ยงสะกดคาภาษาอังกฤษ ส่ งผลให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนระดับ
โรงเรี ยน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ อยูใ่ นระดับต่ามาก ดังนั้นจึงต้องเร่ งแก้ปัญหา
ในส่ วนนี้ให้สาเร็ จ เพื่อให้นกั เรี ยนสามารถเรี ยนรู ้ในระดับสู งขึ้นต่อไปได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
โรงเรี ย นบ้า นน้ าแคมหวัง ว่า รายงานการวิจยั ฉบับนี้ จะเป็ นประโยชน์ ต่อทุ ก ภาคส่ วน
ทั้งหน่วยงานการศึกษาหรื อชุ มชนภายนอก เพื่อช่วยให้มีความรู ้และทักษะการอ่านออกเสี ยงสะกด
คาภาษาอังกฤษได้ดีข้ ึน

สรี ยาภรณ์ นนทะปะ


ผูว้ จิ ยั

สรี ยาภรณ์ นนทะปะ (2558) : การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสี ยงสะกดคาภาษาอังกฤษ (Phonics)


โดยใช้ แ บบฝึ กทัก ษะ ของนั ก เรี ยนชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนบ้า นน้ าแคม
อาเภอท่าลี่ จังหวัดเลย
75 หน้า

บทคัดย่ อ

การวิ จ ัย ครั้ งนี้ มี ว ตั ถุ ป ระสงค์เ พื่ อ (1) ศึ ก ษาผลการพัฒ นาการทัก ษะอ่ า นออกเสี ย ง
สะกดคาภาษาอังกฤษของนักเรี ยน และ (2) ศึกษาวิธีการสร้างและหาประสิ ทธิ ภาพของแบบฝึ ก
ทั ก ษะการอ่ า นออกเสี ยงสะกดค าภาษาอั ง กฤษ ประชากรที่ ใ ช้ ใ นการวิ จ ัย คื อ นั ก เรี ยน
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนบ้านน้ าแคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลยเขต 1
ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2557 จานวน 40 คน และใช้วธิ ี การสุ่ มกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง
(Purposive Sampling) เนื่องจากมีนกั เรี ยนร้อยละ 90 ของนักเรี ยนทั้งชั้นเรี ยนอ่านออกเสี ยงสะกด
คาไม่ ได้ เครื่ องมื อที่ ใช้ในการเก็ บรวบรวมข้อมูล คื อแบบฝึ กทักษะการอ่ านออกเสี ยงสะกดค า
ภาษาอังกฤษที่ ผวู ้ ิจยั สร้ างขึ้ น การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิ งปริ มาณโดยใช้ค่าร้ อยละ (%) ค่าเฉลี่ ย (𝑥̅ )
ส่ วนเบี่ ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และค่าทดสอบที (t – test) แบบ Dependent กรณี กลุ่ มตัวอย่าง
ไม่เป็ นอิสระแก่กนั และวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพด้วยการบรรยายเนื้อหา
ผลการวิจยั สรุ ปได้ดงั นี้
(1) ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนด้านการอ่านออกเสี ยงสะกดคาภาษาอังกฤษหลังเรี ยนสู งกว่า
ก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมุติฐานที่ต้ งั ไว้
(2) แบบฝึ กทัก ษะการอ่ า นออกเสี ยงสะกดค าภาษาอัง กฤษที่ ผู ้วิ จ ัย สร้ า งขึ้ นมี ค่ า
ประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ E1/ E2 ร้อยละ 80/ 80 ซึ่งสามารถนาไปใช้ได้
(3) จากผลการสังเกต พบว่า มีปัญหาอุปสรรคมากมาย อันเนื่องมาจากนักเรี ยนส่ วนมาก
เป็ นกลุ่ มปานกลางและอ่อนที่ มี ปัจจัยอื่ นเข้ามาเกี่ ยวข้อง เช่ น ความรู ้ พ้ืนฐาน ระดับสติปัญญา
ความใฝ่ รู ้ ใฝ่ เรี ยน และเจตคติต่อการเรี ยนภาษาอังกฤษ ดังนั้นครู ตอ้ งใช้เวลาเพิ่มเติมในการสอน
ซ่ อมเสริ มนักเรี ยนรายบุคคล นอกจากนี้ นกั เรี ยนส่ วนมากยังขาดทักษะการออกเสี ยงพยัญชนะบาง
เสี ยงที่ไม่มีหรื อแตกต่างจากภาษาไทย และการออกเสี ยงพยัญชนะท้ายคา เนื่องจากความเคยชินใน
การใช้ภาษาแม่ ผูว้ ิจยั จึงเสนอแนะในการทาวิจยั ครั้งต่อไป เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเสี ยงของ
นักเรี ยนให้ดีข้ ึน

SAREEYAPORN NONTAPA (2558) : A DEVELOPMENT OF PHONICS BY USING


PRACTICAL BOOK FOR GRADE 6 STUDENTS OF BAN NAMKHAEM SCHOOL
IN THALI DISTRICT OF LOEI PROVINCE
75 P.

Abstract

The purposes of this research were (1) to learn how learning achievement on phonics
that the students can do, and (2) to learn how to create and develop the efficient Practical Book.
The population was 40 grade 6 students of Ban Namkhaem School in the first semester in academic
year 2014. 20 of them were purposively selected as the sample for this study because of disability
in phonics. Data were collected by Practical Book. The statistics used for the quantitative analysis
were percentage, mean, standard deviation and t-test. Qualitative data was analyzed under the
framework of students’ ability in reading and spelling words. The findings of the study were as
follows:
(1) The comparison of the learning achievement on phonics of grade 6 students showed
that their posttest scores were higher than their pretest scores at significant difference level of 0.05.
(2) The Practical Book was developed until it reached efficiency at 80 : 80 percentages.
(3) The problems gained from the observation are the failure of the most students. It
means that they lack of background knowledge, skills, diligence, and positive attitude in English.
Thus it suggested that teacher should give more time to practice them again and again until they
can read and spell words because it is the basic skill which help them to learn in the upper level.
Moreover, the most students cannot pronounce some consonant sounds and the final sounds
because of the mother tongue. So, teacher should continue developing them in these problem.

กิตติกรรมประกาศ

วิจยั และนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝัน นี้ สาเร็ จลุล่วงไปได้ดว้ ยดี


โดยได้รับ ความอนุ เคราะห์ อย่างดี ยิ่งจาก นางนวภา วงษ์อินตา ศึ กษานิ เทศก์ชานาญการพิเศษ
และนางจัน ทร์ เ พ็ญ รั ต นมาลา ศึ ก ษานิ เ ทศก์ เ ชี่ ย วชาญ สั ง กัด ส านัก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา
ประถมศึกษาเลยเขต 1 ที่ได้ให้คาปรึ กษาชี้แนะแนวทางในการจัดทาจนสาเร็ จในการทาวิจยั
ขอขอบพระคุณ นางสาววิจิตรา บุษบา ครู ชานาญการพิเศษสาขาภาษาอังกฤษ โรงเรี ยน
บ้านหนองหญ้าไซ อาเภอเมืองเลย จังหวัดเลย นางเยาวภา พิลาคุณ ครู ชานาญการพิเศษสาขา
ภาษาอังกฤษ โรงเรี ยนบ้านปากห้วย อาเภอท่าลี่ จังหวัดเลย และนางสาวดวงสุ ดา สุ ปมา ครู
โรงเรี ยนเลยพิทยาคม อาเภอเมือง จังหวัดเลย ที่กรุ ณาเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญ ให้ความอนุเคราะห์ในการ
ตรวจสอบเกี่ ยวกับเนื้ อหาและการใช้ภาษาอังกฤษ ตลอดจนปรับปรุ งเครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั ให้
สาเร็ จลุล่วงไปด้วยดี
ขอขอบพระคุ ณผูอ้ านวยการโรงเรี ยนบ้านน้ าแคมและคณะครู ทุกท่าน ที่ได้ให้โอกาส
พัฒนาตนเองด้านงานวิชาการให้สูงขึ้น และอนุ ญาตให้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการ
วิจยั ให้คาปรึ กษา คาแนะนา และความช่วยเหลือผูว้ จิ ยั ด้วยดีเสมอมา
ขอบใจนักเรี ยนชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนบ้านน้ าแคม อาเภอท่าลี่ จังหวัดเลย
ปี การศึกษา 2557 ทุกคนที่ให้ความร่ วมมือเป็ นอย่างดียงิ่ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจยั ครั้งนี้
คุ ณงามความดี คุ ณค่า อันพึง มาจากวิทยานิ พ นธ์ ฉบับนี้ ผูว้ ิจยั ขออุ ทิศ เป็ นเครื่ องบูช า
พระคุณของบิดามารดา ครู อาจารย์ อันเป็ นที่เคารพยิง่ รวมถึ งผูม้ ีพระคุณทุกท่านทั้งที่ได้กล่าวถึ ง
และมิได้กล่าวถึง และผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ทุกท่าน

สรี ยาภรณ์ นนทะปะ


ผูว้ จิ ยั

สารบัญ
หน้ า
คานา ก
บทคัดย่อภาษาไทย ข
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ค
กิตติกรรมประกาศ ง
สารบัญ จ
สารบัญตาราง ช
สารบัญภาพประกอบ ซ

บทที่ 1 บทนา
1.1 ความเป็ นมาและความสาคัญของการวิจยั 1
1.2 วัตถุประสงค์การวิจยั 2
1.3 สมมุติฐานการวิจยั 2
1.4 ขอบเขตการวิจยั 2
1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ 3
1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง


2.1 หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 4
กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
2.2 การออกเสี ยงภาษาอังกฤษตามหลักภาษาศาสตร์ 6
2.3 การอ่านออกเสี ยงสะกดคา 11
2.4 หลักในการจัดทาแบบฝึ กทักษะ 12
2.5 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 13
2.6 กรอบแนวคิดการวิจยั 14

บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย
3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 15
3.2 เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา 15
3.3 การสร้างเครื่ องมือ 16
3.4 วิธีดาเนินการทดลองและการเก็บรวบรวมข้อมูล 16
3.5 การวิเคราะห์ขอ้ มูล 17
3.6 สถิติที่ใช้ในการวิจยั 17

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล


4.1 ผลการประเมินคุณภาพของแบบฝึ กทักษะในด้านความเที่ยงตรงเชิงเนื้ อหา 18
4.2 ผลการหาประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กทักษะ 19
4.3 ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนด้านการอ่านออกเสี ยงสะกดคาภาษาอังกฤษ 20
4.4 ผลการบันทึกการสังเกต 21

บทที่ 5 สรุ ปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ


5.1 วัตถุประสงค์ของการวิจยั 24
5.2 สมมุติฐานการวิจยั 24
5.3 วิธีดาเนินการวิจยั 24
5.4 สรุ ปผลการวิจยั 25
5.5 อภิปรายผลการวิจยั 26
5.6 ข้อเสนอแนะ 27

บรรณานุกรม 29

ภาคผนวก ก 31

ภาคผนวก ข 40

รายชื่ อผู้เชี่ ยวชาญ 73

ประวัติผ้ วู จิ ัย 75

สารบัญตาราง
หน้ า
ตารางที่ 1
มาตรฐาน ต 1.1 6
ตารางที่ 2
ฐานกรณ์ที่เคลื่อนไหวได้และเคลื่อนไหวไม่ได้ 7
ตารางที่ 3
ค่า IOC ที่ประเมินโดยผูเ้ ชี่ยวชาญ 18
ตารางที่ 4
ข้อเสนอแนะในการปรับปรุ งแก้ไขแบบฝึ กทักษะโดยผูเ้ ชี่ยวชาญ 19
ตารางที่ 5
ค่าประสิ ทธิ ภาพของแบบฝึ กทักษะเมื่อเทียบกับเกณฑ์ที่กาหนด 19
ตารางที่ ค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
6 20
ท้ายบทเรี ยน
ตารางที่ 7 ค่าสถิติของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนก่อนเรี ยน – หลังเรี ยน 21
ตารางที่ 8 ผลการบันทึกการสังเกต 22

สารบัญภาพประกอบ
หน้ า
ภาพประกอบที่ 1 ตาแหน่งของอวัยวะในการออกเสี ยง 8
ภาพประกอบที่ 2 กรอบแนวคิดการวิจยั 14
1

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของกำรวิจัย


หลัก สู ต รแกนกลางกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ภาษาต่ า งประเทศ ตามหลัก สู ตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยนมีเจตคติที่ดีต่อภาษาต่างประเทศ สามารถ
ใช้ภาษาต่างประเทศ สื่ อสารในสถานการณ์ ต่าง ๆ แสวงหาความรู ้ ประกอบอาชี พ และศึกษาต่อ ใน
ระดับที่สูงขึ้น รวมทั้งมีความรู ้ความเข้าใจในเรื่ องราวและวัฒนธรรมอันหลากหลายของประชาคมโลก
และสามารถถ่ายทอดความคิดและวัฒนธรรมไทยไปยังสังคมโลกได้อย่างสร้ างสรรค์ อีกทั้งยัง
กาหนดคุ ณภาพของผูเ้ รี ยนเมื่ อจบชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6ในด้านการออกเสี ยง คือ “อ่านออกเสี ยง
ประโยค ข้อ ความ นิ ท าน และบทกลอนสั้ น ๆ ถู ก ต้อ งตามหลัก การอ่า น” (ส านัก งาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ, 2551: 1-3)
อย่างไรก็ตาม คนไทยนั้นมีปัญหามากมายในการออกเสี ยงภาษาอังกฤษ เนื่ องมาจากความ
แตกต่างระหว่างระบบเสี ยงภาษาอังกฤษกับระบบเสี ยงภาษาไทย ดังนั้นการที่จะให้ผเู ้ รี ยนสามารถ
ออกเสี ย งได้ถู ก ต้องใกล้เคี ย งกับ เจ้า ของภาษาและป้ องกันมิ ใ ห้ผูเ้ รี ย นออกเสี ย งผิดจึ ง ควรสร้ า ง
พื้นฐานและปลู กฝั งลักษณะนิ สัยในการออกเสี ยงให้ถูกต้องชัดเจนตั้งแต่เด็กในระยะเริ่ มต้นหรื อ
ประถมศึกษา (จีรนันท์ เมฆวงษ์, 2547 : 2) ซึ่ งวิธีการจัดการเรี ยนรู ้ที่นิยมใช้ คือการอ่านออกเสี ยง
สะกดคา (Phonics)เป็ นหลักการถอดรหัสเสี ยงและการผสมเสี ยงตัวอักษร ผูเ้ รี ยนจะต้องเข้าใจเสี ยง
ของตัวอักษรต่างๆและออกเสี ยงเหล่านั้นให้ได้อย่างถูกต้องจึงจะสามารถผสมเสี ยงออกมาเป็ นคาได้
เช่น คาว่า cat จะสอนให้รู้จกั ตัว “c” จากเสี ยงของมันคือเสี ยง “ค” ตัว “a” เป็ นเสี ยง “แอะ” และตัว
“t” เป็ นเสี ยง “ท” และผสมเสี ยงกันเป็ น “ค-แอะ-ท แคท” (ดวงใจ ตั้งสง่า, 2555-2556)
และเมื่อพิจารณาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยน
บ้านน้ าแคมพบว่า นักเรี ยนมีผลการเรี ยนรู ้รายวิชาภาษาอังกฤษอยูใ่ นระดับต่า เนื่ องจากขาดทักษะ
การอ่านออกเสี ยงสะกดคา แต่จะใช้วธิ ี การจาคาศัพท์เป็ นคาๆ แล้วเขียนคาอ่านเป็ นภาษาไทยกากับ
ไว้ ทาให้ไม่สามารถอ่านออกเสี ยงคาศัพท์ที่แตกต่างจากบทเรี ยนได้ ซึ่ งเป็ นปั ญหาในการจัดการ
เรี ยนการสอนภาษาอังกฤษและส่ งผลให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและผลการทดสอบระดับชาติ (O-
net) อยูใ่ นระดับต่ากว่าระดับประเทศ ดังนั้น ผูว้ ิจยั จึงจัดทาแบบฝึ กทักษะการอ่านออกเสี ยงสะกด
คา (Phonics) เพื่อพัฒนานัก เรี ยนให้มี พ้ืนฐานด้านการอ่า นและเอื้ อประโยชน์ต่อการเรี ย นใน
ระดับสู งต่อไป
2

1.1 วัตถุประสงค์ กำรวิจัย


1.1.1 เพื่อศึกษาผลการพัฒนาการทักษะอ่านออกเสี ยงสะกดคาภาษาอังกฤษของนักเรี ยน
1.1.2 เพื่อศึกษาวิธีการสร้างและหาประสิ ทธิ ภาพของแบบฝึ กทักษะการอ่านออกเสี ยง
สะกดคาภาษาอังกฤษ

1.2 สมมุติฐำนกำรวิจัย
1.2.1 นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนด้านการอ่านออกเสี ยงสะกดคาภาษาอังกฤษหลัง
เรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
1.2.2 แบบฝึ กทักษะมีประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ร้อยละ 80/80

1.3 ขอบเขตของกำรวิจัย
การวิจยั ครั้ งนี้ ผูว้ ิจยั พัฒนาทัก ษะการอ่ านออกเสี ย งสะกดค าภาษาอังกฤษที่เป็ นปั ญหา
สาหรับนักเรี ยน ซึ่ งมีขอบเขตของการศึกษา ดังนี้
1.3.1 ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ ำง
ประชากรที่ ใ ช้ใ นการวิจยั ครั้ งนี้ คื อ นักเรี ย นชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 6 โรงเรี ย น
บ้านน้ าแคม อาเภอท่าลี่ จังหวัดเลย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลยเขต 1 ภาคเรี ยนที่
1 ปี การศึกษา 2557 จานวน 40 คน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ คือ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6/2 โรงเรี ยน
บ้านน้ าแคม อาเภอท่าลี่ จังหวัดเลย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลยเขต 1 ภาคเรี ยนที่
1 ปี การศึกษา 2557 จานวน 20 คน โดยใช้วิธีการสุ่ มแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling)
เนื่องจากมีนกั เรี ยนร้อยละ 90 ของนักเรี ยนทั้งชั้นเรี ยนอ่านออกเสี ยงสะกดคาไม่ได้

1.3.2 ระยะเวลำ
ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจยั ได้แก่ ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2557

1.3.3 เนือ้ หำ
เนื้ อหาที่ใช้ในการวิจยั ได้แก่ คาศัพท์พ้ืนฐานระดับประถมศึกษา ส่ วนใหญ่เป็ น
คาที่มีจานวน 1-2 พยางค์ แต่ไม่เกิ น 4 พยางค์ เพื่อความสะดวกต่อการอ่านออกเสี ยงสะกดคา
สาหรับผูเ้ ริ่ มต้น
3

1.4 นิยำมศัพท์เฉพำะ
1.4.1 กำรอ่ ำนออกเสี ยงสะกดคำภำษำอังกฤษ หมายถึง การอ่านออกเสี ยงพยัญชนะ –
สระ การประสมคา และการอ่านออกเสี ยงคาให้ถูกต้องตามหลักการออกเสี ยงภาษาอังกฤษ ได้แก่
การออกเสี ยงพยัญชนะท้ายคา (final sound) และการลงเสี ยงเน้นหนักในคา (stress)

1.4.2 แบบฝึ กทักษะ หมายถึง เอกสารที่ประกอบด้วยคาศัพท์ รู ปภาพ และความหมาย


ของคาที่เป็ นได้ท้ งั ใบความรู ้ และแบบทดสอบ ซึ่ งมีเนื้ อหาดังนี้ เสี ยงพยัญชนะเดี่ยว (Consonant)
เสี ยงพยัญชนะควบกล้ า (Cluster) เสี ยงสระเดี่ยว (Vowel) เสี ยงสระผสม (Diphthong) การอ่าน
ออกเสี ย งสะกดค า (Phonics) การออกเสี ย งพยัญ ชนะท้า ยค า (Final Sound) และการลงเสี ย ง
เน้นหนัก ในค า (Stress) อี กทั้ง มี ส่วนประกอบอื่ นๆ ภายในเล่ ม ดังนี้ ค าชี้ แจงส าหรั บครู ผูส้ อน
แบบทดสอบท้ายบทเรี ยนที่ 1 – 3 แบบทดสอบก่อนเรี ยน – หลังเรี ยน (Pretest - Posttest) และแบบ
ประเมินสาหรับครู
1.4.3 ผลสั มฤทธิ์ทำงกำรเรี ยน หมายถึ ง ผลลัพธ์ของคะแนนความสามารถในการอ่าน
ออกเสี ยงสะกดคาภาษาอังกฤษของนักเรี ยนจากการใช้แบบทดสอบก่อนเรี ยน – หลังเรี ยน (Pretest -
Posttest) และแบบทดสอบท้ายบทเรี ยน

1.4.4 ประสิ ทธิภำพของสื่ อ หมายถึง ผลของการใช้แบบฝึ กทักษะที่ผวู ้ ิจยั สร้างขึ้นโดย


กลุ่มทดลองประสิ ทธิ ภาพเครื่ องมือตามเกณฑ์ E1/E2 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80/80 โดยที่ E1 หมายถึง
คะแนนการทดสอบหลังเรี ยน และ E2 หมายถึงคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบท้ายบทเรี ยนทั้ง 3 ครั้ง

1.5 ประโยชน์ ทคี่ ำดว่ำจะได้ รับ


1.5.1 นักเรี ยนสามารถอ่านออกเสี ยงสะกดคาภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ซึ่ ง
เป็ นพื้นฐานในการเรี ยนระดับสู งต่อไป
1.5.2 ได้แบบฝึ กทักษะที่มีประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด ซึ่งสามารถนาไปใช้จดั การ
เรี ยนรู้ กบั นักเรี ยนชั้นอื่ นๆ ที่ มีปัญหา หรื อใช้กบั นักเรี ยนชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 6 ในปี การศึกษา
ต่อไปได้ ตลอดจนเผยแพร่ ผลงานให้เป็ นที่ประจักษ์ต่อสถานศึกษา หน่วยงานภายนอก และชุมชน
เพื่อใช้ประโยชน์จากแบบฝึ กทักษะฉบับนี้
4

บทที่ 2
เอกสำรและงำนวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง

ในการดาเนิ นการวิจยั เรื่ องการพัฒนาการอ่านออกเสี ยงสะกดคาภาษาอังกฤษ (Phonics)


โดยใช้ชุดการสอน ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนบ้านน้ าแคม อาเภอท่าลี่ จังหวัด
เลย เพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรี ยนในฝัน ผูว้ ิจยั ได้ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องต่างๆเพื่อเป็ น
แนวทางในการดาเนินงานตามหัวข้อดังต่อไปนี้
2.1 หลัก สู ตรแกนกลางการศึ ก ษาขั้นพื้ นฐาน พุ ทธศักราช 2551 กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้
ภาษาต่างประเทศ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
2.2 การออกเสี ยงภาษาอังกฤษตามหลักภาษาศาสตร์
2.3 การอ่านออกเสี ยงสะกดคา
2.4 หลักในการจัดทาแบบฝึ กทักษะ
2.5 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
2.6 กรอบแนวคิดการวิจยั

2.1 หลั ก สู ตรแกนกลำงกำรศึ ก ษำขั้ นพื้ น ฐำน พุ ท ธศั ก รำช 2551 กลุ่ มสำระกำรเรี ย นรู้
ภำษำต่ ำงประเทศชั้นประถมศึกษำปี ที่ 6 (กระทรวงศึกษาธิการ, สพฐ., 2551: คานา -19)
สานัก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้นพื้นฐานได้พฒั นาหลักสู ตรให้มีค วามเหมาะสม
ชัดเจนยิ่งขึ้น ทั้งเป้ าหมายในการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยนและกระบวนการนาหลักสู ตรไปสู่ การปฏิบตั ิ
ในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา พร้อมทั้งได้จดั ทาสาระการเรี ยนรู ้ แกนกลางของกลุ่ม
สาระการเรี ยนรู้ 8 กลุ่มสาระในแต่ละระดับชั้น เพื่อให้เขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานระดับท้องถิ่น
และสถานศึกษาที่จดั การศึกษาขั้นพื้นฐานได้นาไปใช้เป็ นกรอบและทิศทางในการพัฒนาหลักสู ตร
และจัดการเรี ยนการสอน ซึ่ งในส่ วนของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ ได้กล่าวไว้ดงั นี้

2.1.1 จุดมุ่งหมำยของหลักสู ตรกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ภำษำต่ ำงประเทศ


ในสังคมโลกปั จจุบนั การเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศมีความสาคัญและจาเป็ นอย่างยิ่ง
ในชี วิตประจาวัน เนื่ องจากเป็ นเครื่ องมือสาคัญในการติดต่อสื่ อสาร การศึกษา การแสวงหาความรู ้
การประกอบอาชี พ การสร้ า งความเข้า ใจเกี่ ยวกับ วัฒนธรรมและวิสั ยทัศ น์ข องชุ มชนโลก และ
ตระหนักถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมและมุมมองของสังคมโลก นามาซึ่งมิตรไมตรี และความ
ร่ วมมื อกับประเทศต่างๆ ช่ วยพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีความเข้าใจตนเองและผูอ้ ื่ นดี ข้ ึ น เรี ยนรู ้ และเข้า
5

ใจความแตกต่ า งของภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนี ยมประเพณี การคิ ด สั ง คม เศรษฐกิ จ


การเมือง การปกครอง มีเจตคติที่ดีต่อการใช้ภาษาต่างประเทศ และใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อการ
สื่ อสารได้ รวมทั้งเข้าถึ งองค์ความรู ้ต่างๆ ได้ง่ายและกว้างขึ้น และมีวสิ ัยทัศน์ในการดาเนินชีวติ
ภาษาต่างประเทศที่เป็ นสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐาน ซึ่ งกาหนดให้เรี ยนตลอดหลักสู ตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ ภาษาอังกฤษ ส่ วนภาษาต่างประเทศอื่ น เช่ น ภาษาฝรั่งเศส เยอรมัน จี น
ญี่ ปุ่ น อาหรั บ บาลี และภาษากลุ่ ม ประเทศเพื่ อ นบ้า น หรื อ ภาษาอื่ น ๆ ให้ อ ยู่ใ นดุ ล ยพิ นิ จ ของ
สถานศึกษาที่จะจัดทารายวิชาและจัดการเรี ยนรู้ตามความเหมาะสม
กลุ่ ม สาระการเรี ยนรู ้ ภ าษาต่ า งประเทศ มุ่ ง หวัง ให้ ผู ้เ รี ยนมี เ จตคติ ที่ ดี ต่ อ
ภาษาต่างประเทศ สามารถใช้ภาษาต่างประเทศ สื่ อสารในสถานการณ์ต่าง ๆ แสวงหาความรู ้ ประกอบ
อาชี พ และศึ กษาต่ อ ในระดับที่ สู งขึ้ น รวมทั้งมี ความรู ้ ความเข้าใจในเรื่ องราวและวัฒนธรรมอัน
หลากหลายของประชาคมโลก และสามารถถ่ายทอดความคิดและวัฒนธรรมไทยไปยังสังคมโลกได้
อย่างสร้างสรรค์ ประกอบด้วยสาระสาคัญ ดังนี้
1.) ภำษำเพื่อกำรสื่ อสำร การใช้ภาษาต่างประเทศในการฟั ง พูด อ่า น
เขี ย น แลกเปลี่ ย นข้อมู ล ข่ า วสาร แสดงความรู้ สึ ก และความคิ ดเห็ น ตี ความ น าเสนอข้อ มู ล
ความคิ ดรวบยอดและความคิ ดเห็ น ในเรื่ อ งต่ า งๆ และสร้ า งความสั ม พันธ์ ระหว่า งบุ ค คลอย่า ง
เหมาะสม
2.) ภำษำและวัฒ นธรรม การใช้ภ าษาต่ า งประเทศตามวัฒนธรรมของ
เจ้าของภาษาความสัมพันธ์ ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของ
ภาษา ภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับวัฒนธรรมไทย และนาไปใช้อย่างเหมาะสม
3.) ภำษำกั บ ควำมสั มพั น ธ์ กั บ กลุ่ มสำระกำรเรี ยนรู้ อื่ น การใช้
ภาษาต่ างประเทศในการเชื่ อมโยงความรู ้ ก ับกลุ่ มสาระการเรี ย นรู ้ อื่น เป็ นพื้ นฐานในการพัฒนา
แสวงหาความรู้ และเปิ ดโลกทัศน์ของตน
4.) ภำษำกับควำมสั มพันธ์ กับชุ มชนและโลก การใช้ภาษาต่างประเทศใน
สถานการณ์ ต่างๆ ทั้งในห้องเรี ยนและนอกห้องเรี ยน ชุ มชน และสังคมโลก เป็ นเครื่ องมือพื้นฐานใน
การศึกษาต่อ ประกอบอาชีพ และแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กบั สังคมโลก
6

2.1.2 คุณภำพผู้เรียน
จากหลัก สู ต รการศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐาน พุ ท ธศัก ราช 2551 กลุ่ ม สาระการเรี ยนรู ้
ภาษาต่างประเทศ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 กาหนดคุณภาพผูเ้ รี ยนเมื่อจบชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ใน
ด้านการออกเสี ยงไว้ดงั นี้
“... อ่ านออกเสี ยงประโยค ข้อความ นิ ท าน และบทกลอนสั้ น ๆ ถู ก ต้อ งตาม
หลักการอ่าน ... ”

2.1.3 มำตรฐำน ตัวชี้วดั และสำระกำรเรียนรู้ แกนกลำง ชั้นประถมศึกษำปี ที่ 6


สำระที่ 1 ภำษำเพือ่ กำรสื่ อสำร

ตำรำงที่ 1 มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจกระบวนการฟั งและการอ่าน สามารถตีความเรื่ องที่ฟังและอ่าน


จากสื่ อประเภทต่างๆและนาความรู ้มาใช้อย่างมีวจิ ารณญาณ

ตัวชี้วดั สำระกำรเรี ยนรู้ แกนกลำง


ป.6/2 อ่านออกเสี ยงข้อความ นิทาน ข้อความ นิทาน และบทกลอน
และบทกลอนสั้นๆ ถูกต้องตาม การใช้พจนานุกรม
หลักการอ่าน หลักการอ่านออกเสี ยง เช่น
- การออกเสี ยงพยัญชนะต้นคาและพยัญชนะ ท้ายคา
- การออกเสี ยงเน้นหนัก-เบา ในคาและกลุ่มคา
- การออกเสี ยงตามระดับเสี ยงสู ง-ต่า ในประโยค
- การออกเสี ยงเชื่อมโยง (linking sound) ในข้อความ
- การออกเสี ยงบทกลอนตามจังหวะ
ทีม่ ำ : กระทรวงศึกษาธิการ, สพฐ. (2551: 13)

2.2 กำรออกเสี ยงภำษำอังกฤษตำมหลักภำษำศำสตร์


ในการสื่ อสารที่มีประสิ ทธิ ภาพนั้นจาเป็ นต้องออกเสี ยงให้ถูกต้องชัดเจน เพื่อให้ผสู ้ ่ งสาร
และผูร้ ับสารเกิ ดความเข้าใจตรงกัน ดังนั้นการฝึ กออกเสี ยงภาษาอังกฤษตามหลักภาษาศาสตร์ จึง
จาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะช่วยให้ผเู ้ รี ยนได้ฝึกออกเสี ยงพยัญชนะและสระได้ถูกต้องชัดเจน ดังรายละเอียด
ต่อไปนี้
7

2.2.1 ตำแหน่ งของอวัยวะในกำรออกเสี ยงในช่ องปำก (Point of articulation) (กฤษณา


ยอดมงคล, 2553 : 7-12)
เมื่อลมออกจากกล่องเสี ยงเข้าสู่ ช่องปาก อวัยวะในปากจะทางานประสานกัน เช่น
ทาให้ช่องปากมีรูปร่ างแบบต่างๆ มีการกักลมก่อนปล่อยทันที หรื อค่อยๆ ปล่อย อวัยวะที่ใช้เพื่อ
การออกเสี ย งในปากเรี ย กว่า ฐานกรณ์ (Articulators) อวัย วะที่ ไ ม่ เ คลื่ อ นไหว เรี ย กว่า ฐาน
(Passive articulators) ส่ วนอวัยวะที่ เคลื่ อนไหว ขยับตัวไปแตะอวัยวะส่ วนอื่ นๆ เรี ยกว่า กรณ์
(Active articulators) ซึ่ งในที่น้ ี คือ ลิ้น (tongue) สาหรับลิ้นไก่เป็ นอวัยวะที่ขยับตัวได้เช่นกัน แต่
ไม่มากเหมือนลิ้น เมื่อลิ้นแตะ “ฐาน” ต่างๆ คือ ปุ่ มเหงื อก เพดานปาก เพดานอ่อน เป็ นส่ วน
สาคัญที่ทาให้เกิดการกัก เปลี่ยนรู ปร่ างช่องว่างในปาก ช่วยให้เราออกเสี ยงพูดได้
การออกเสี ยงพยัญชนะมีการแตะหรื อการกักลมในปาก แต่เสี ยงสระไม่มีการกัก
ลมหรื อการปิ ดกั้นลมในลักษณะใดๆ ทั้งสิ้ น

ตำรำงที่ 2 ฐานกรณ์ที่เคลื่อนไหวได้และเคลื่อนไหวไม่ได้

ฐำนกรณ์ที่เคลือ่ นไหวได้ ฐำนกรณ์ที่เคลือ่ นไหวไม่ ได้


Normal Form Adj. Form Normal Form Adj. Form
Lower Lip ริ มฝี ปากล่าง Labial Upper Lip ริ มฝี ปากบน Labial
Lower Teeth ฟันล่าง Dental Upper Teeth ฟันบน Dental
Tip of the Tongue ปลายลิ้น Apical Gum Ridge ปุ่ มเหงือก Alveolar
Front of the Tongue Frontal Prepalate Alveolar-
ลิ้นส่วนหน้า เพดานแข็งส่วนหน้า palatal
Center of the Tongue กลางลิ้น Laminal Palate (hard palate) เพดานแข็ง Palatal
Back of the Tongue ลิ้นส่วนหลัง Dorsal Velum (soft palate) เพดานอ่อน Velar

ทีม่ ำ : มณี รัตน์ สุ กโชติรัตน์ (2552, 13)


8

ภาพประกอบที่ 1 ตาแหน่งของอวัยวะในการออกเสี ยง
ที่มา : กฤษณา ยอดมงคล (2553 : 7-12)

2.2.2 เสี ยงพยัญชนะและฐำนทีเ่ กิดของเสี ยง (กรองแก้ว ไชยปะ, 2544 : 27 -29)


ฐานที่เกิดของเสี ยงเกิดจากคู่ฐานกรณ์แต่ละคู่ที่ทาหน้าที่ผลิตเสี ยง มี 8 เสี ยงดังนี้

1) Bilabial ริ มฝี ปากบนและล่างปิ ดติดกันหรื อห่อเป็ นรู ปวงกลม


เสี ยง ภำษำอังกฤษ ภำษำไทย
/m/ m ม
/w/ w, wh ว
/p/ (unaspirated) p (อยูต่ ามหลัง s เช่น spy) ป
/p/ (aspirated) p พ, ภ, ผ

2) Labio-dental เกิดจากริ มฝี ปากล่างกับฟันบน


เสี ยง ภำษำอังกฤษ ภำษำไทย
/f/ f, ph, gh (phone, graph) ฟ,ฝ
/v/ v ไม่มี
9

3) Dental หรื อ Apico-dental เกิ ดจากปลายลิ้ น กับ ฟั น โดยปลายลิ้ นสอดหรื อ


สัมผัสอยูร่ ะหว่างไรฟันบนและล่าง
เสี ยง ภำษำอังกฤษ ภำษำไทย
/θ/ th (เสี ยงไม่กอ้ ง เช่น thank) ไม่มี
/ð/ th (เสี ยงก้อง เช่น they) ไม่มี

4) Alveolar หรื อ Apico-alveolar เกิ ดจากปลายลิ้ นกับ ปุ่ มเหงื อกแตะกันหรื อ


เบียดชิดกันมาก
เสี ยง ภำษำอังกฤษ ภำษำไทย
/t/ (aspirated) t ท, ธ, ถ, ฑ, ฒ, ฐ
/t/ (unaspirated) t (อยูต่ ามหลัง s เช่น star) ต, ฏ
/d/ d ด, ฎ
/n/ n น, ณ
/s/ s, c (ตาแหน่งท้ายคา เช่น face) ส, ศ, ษ, ซ,
/z/ z ไม่มี
/l/ l ล
/r/ r (ปลายลิ้นงอเกร็ ง) ร (รัวลิ้น)

5) Post-alveolar เกิ ดจากลิ้นส่ วนหน้ากับเพดานแข็งหลังปุ่ มเหงื อกแตะกันหรื อ


เบียดชิดกันมาก
เสี ยง ภำษำอังกฤษ ภำษำไทย
/tʃ/ ch, tch, ช, ฌ (ใกล้เคียง)
/dʒ/ j, g, d, dg (age, bridge) ไม่มี
/ʃ/ sh ไม่มี
/ʒ/ s, gh (vision, beigh) ไม่มี

6) Palatal เกิดจากลิ้นส่ วนกลางเคลื่อนเข้ามาใกล้หรื อเบียดชิดกับเพดานแข็ง


เสี ยง ภำษำอังกฤษ ภำษำไทย
/j/ y ย, ญ
10

7) Velar เกิดจากลิ้นส่ วนหลังเบียดกับเพดานอ่อน


เสี ยง ภำษำอังกฤษ ภำษำไทย
/k/ (unaspirated) k, c (อยูต่ ามหลัง s เช่น sky) ก
/k/ (aspirated) k, c (come) ข, ค, ฆ
/g/ g ไม่มี
/ŋ/ ng, nk ง

8) Glottal เกิดที่บริ เวณเส้นเสี ยง เส้นเสี ยงเปิ ดหรื อปิ ด แล้วเปิ ดให้ลมผ่านสะดวก


เสี ยง ภำษำอังกฤษ ภำษำไทย
/h/ h ห, ฮ
/ʔ/ Uh, huh อ

จากข้อมูลข้างต้นชี้ ให้เห็ นว่า เสี ยงพยัญชนะภาษาอังกฤษที่ไม่มีในภาษาไทยจานวน 8


เสี ยง คือ /v/, /θ/, /ð/, /z/, /dʒ/, /ʃ/, /ʒ/, /g/, อีกทั้งเสี ยง /r/ ที่มีลกั ษณะการออกเสี ยงที่แตกต่างกัน
ในภาษาไทยและภาษาอังกฤษนั้น เป็ นปั ญหาสาหรับคนไทยในการออกเสี ยงให้ถูกต้องตามหลัก
ภาษาศาสตร์ เพราะคนไทยจะใช้เสี ยงพยัญชนะภาษาไทยที่มีความใกล้เคียงกันไปแทนที่เสี ยงนั้นใน
ภาษาอังกฤษ ทาให้คนไทยที่ใช้ภาษาอังกฤษมีความเข้าใจผิดและใช้ภาษาคลาดเคลื่อนไป

2.2.3 เสี ยงพยัญชนะและกำรสกัดกั้นทำงลมของคู่ฐำนกรณ์ Sounds and the Manner


of Articulation (กรองแก้ว ไชยปะ, 2544 : 29 -32)
1) Stops, Plosives (เสี ยงกักหรือเสี ยงระเบิด ) เกิ ดจากฐานกรณ์ คู่ใดคู่หนึ่ งปิ ดกัก
กระแสลมไว้โดยสมบูรณ์ แล้วปล่อยให้พุ่งออกมาในลักษณะระเบิ ด ได้แก่เสี ยง /p/, /t/, /k/, /b/,
/d/, /g/ และ /?/
2) Fricative (เสี ยงเสี ยดแทรก) เกิ ดจากฐานกรณ์ คู่ใดคู่หนึ่ งมาเบี ยดกันหรื อบี บ
หรี่ ให้กระแสลมเสี ยดแทรกออกมาทางช่องแคบๆ อย่างต่อเนื่อง ได้แก่เสี ยง /f/, /v/, /θ/, /ð/, /s/, /z/,
/ʃ/, /ʒ/ และ /h/
3) Affricates (เสี ยงกักเสี ยดแทรก) เป็ นการผสมผสานกันของกลไกเสี ยง Stops
และเสี ยง Fricatives เกิดจากการที่ฐานกรณ์คู่หนึ่ งปิ ดกักกระแสลมเอาไว้แล้วชัว่ ครู่ แล้วเปิ ดหรี่ ให้
ลมเสี ยดแทรกออกทางช่องแคบๆ อย่างต่อเนื่อง ได้แก่เสี ยง /tʃ/ และ /dʒ/
11

4) Nasals (เสี ยงนำสิ ก) เกิดจากฐานกรณ์คู่ใดคู่หนึ่งปิ ดกันสนิ ท ทาให้กระแสลม


ไม่สามารถผ่านออกทางช่องปากได้ ขณะเดี ยวกันเพดานอ่อนเคลื่อนออกจากผนังคอ เปิ ดช่ องให้
กระแสลมผ่านออกทางช่องจมูกอย่างต่อเนื่อง ได้แก่เสี ยง /m/, /n/ และ /ŋ/

5) Lateral (เสี ยงข้ ำงลิน้ ) เกิ ดจากปลายลิ้นกับปุ่ มเหงื อก โดยปลายลิ้นดันอยู่ที่


ปุ่ มเหงือกพร้อมกับแบะข้างลิ้นเป็ นช่องให้ลมผ่านออกมาโดยสะดวก มีเสี ยงเดียวคือ /l/

6) Glides หรือ Semi-vowels (เสี ยงกึ่งสระ) เกิดจากฐานกรณ์คูใ่ ดคู่หนึ่งเคลื่อนที่


ไปจากที่เดิมขณะที่กาลังเปล่งเสี ยง ทาให้กระแสลมที่กาลังผ่านออกมาเปลี่ยนทิศทางไป ได้แก่เสี ยง
/w/, /r/ และ /j/

2.3 กำรอ่ำนออกเสี ยงสะกดคำ (ดวงใจ ตั้งสง่า, 2555-2556)


การอ่านออกเสี ยงสะกดคา Phonics นั้นมีความหมายและความสาคัญ ดังนี้

โฟนิ คส์ (Phonics) คื อวิธีการเรี ยนอ่านเขี ยนและออกเสี ยงภาษาอังกฤษโดยใช้หลักการ


ถอดรหัสเสี ยงและการผสมเสี ยงตัวอักษร a ถึง z ทั้ง 26 ตัว ผูเ้ รี ยนจะต้องเข้าใจเสี ยงของตัวอักษร
ต่างๆ และออกเสี ยงเหล่านั้นให้ได้อย่างถูกต้องจึงจะสามารถผสมเสี ยงออกมาเป็ นคาได้ ยกตัวอย่าง
เช่ น การสะกดคาว่า cat จะสอนให้รู้จกั ตัว “c” จากเสี ยงของมันคือเสี ยง “ค” (ออกเสี ยงเคอะ
เบาๆ ในลาคอ) ตัว “a” เป็ นเสี ยง “แอะ” และตัว “t” เป็ นเสี ยง “ท” (ออกเสี ยง เทอะ เบาๆ ใช้
ปลายลิ้นกระทบฟั นหน้าบน) และผสมเสี ยงกันเป็ น “ค-แอะ-ท แคท” (ลองออกเสี ยง ค – แอะ - ท
ซ้ าๆ เร็ วๆจะพบว่าสุ ดท้ายจะออกเสี ยงเป็ น “แคท”)
การเรี ย นโฟนิ ค ส์ จะช่ วยให้นัก เรี ย นออกเสี ย งได้ถู กต้องท าให้สื่ อสารภาษาอัง กฤษได้
ชัดเจน และสามารถอ่านเขี ยนได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพเพราะสามารถสะกดคาศัพ ท์ต่างๆได้ด้วย
ตัวเองอย่างคล่องแคล่วจากการรู ้จกั เสี ยงของตัวอักษรและเข้าใจหลักการผสมเสี ยง แม้ในช่วงแรก
การเรี ยนแบบโฟนิ คส์ จะดูช้ากว่าการเรี ยนแบบท่องจามาก เพราะเด็กต้องทาความเข้าใจเสี ยงและ
หลักการผสมคาจากง่ายไปยาก ต้องฝึ กซ้ าๆ เพื่อให้จาได้ นอกจากนี้มีบทศึกษามากมายที่ยืนยันว่า
เด็ก ที่ เรี ยนการอ่านเขี ย นแบบนี้ จะสามารถเรี ย นภาษาอังกฤษได้มีป ระสิ ทธิ ภาพและรวดเร็ วกว่า
นัก เรี ย นทั่ว ไปและมี ค วามแตกฉานทางภาษา รั ก การอ่ า น การค้น คว้า หาความรู้ ซึ่ งจะเป็ น
ประโยชน์กบั ตัวนักเรี ยนเองในอนาคต
หลักโฟนิ คส์ เป็ นหลักการอ่านเขียนที่เรี ยนกันมาตั้งแต่โบราณ แต่เมื่อประมาณ 20 - 40
ปี ที่ผา่ นมาได้เลือนหายไป เนื่ องจากมีทฤษฎีใหม่ที่บอกว่าการอ่านแบบโฟนิคส์ น้ นั ยุง่ ยากจึงเปลี่ยน
12

มาใช้วธิ ีเรี ยนแบบจาคาศัพท์เป็ นคาๆ ที่เรี ยกว่า Whole Language เพราะเร็ วกว่า โรงเรี ยนในประเทศ
ที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาหลัก เช่ น สหรั ฐอเมริ กา อังกฤษ ออสเตรเลี ยจึ งเลิ กสอนโฟนิ คส์ ไป
ตามๆ กัน แต่เมื่อเวลาผ่านไปหลายสิ บปี กลับพบว่าความสามารถในการอ่านเขียนของประชาชน
ต่าลงเพราะคนเรานั้นจดจาคาศัพท์ได้จากัด และการไม่รู้หลักการสะกดนั้นก็ทาให้อ่านได้ไม่คล่อง
เมื่อเห็นคายากหรื อคาใหม่ที่ไม่คุน้ เคยก็ไม่อยากอ่านทาให้การอ่านค้นคว้าความรู ้ต่างๆ ลดลงตามไป
ด้วย จึงมีการฟื้ นฟูการเรี ยนโฟนิคส์อีกครั้ง เพื่อให้นกั เรี ยนเข้าใจหลักการอ่านเขียนอย่างแท้จริ ง

2.4 หลักในกำรจัดทำแบบฝึ กทักษะ (ณัฐฎา แสงคา,2553)


ในการจัดทาแบบฝึ กทักษะ ต้องศึกษารายละเอียดดังต่อไปนี้

2.4.1 ควำมหมำยของแบบฝึ กเสริมทักษะ


แบบฝึ กเสริ มทักษะ หมายถึง งานหรื อกิจกรรมที่ครู สร้างขึ้น โดยมีรูปแบบกิ จกรรมที่
หลากหลาย มีจุดมุ่งหมายเพื่อฝึ กให้นกั เรี ยนมีความรู ้ ความเข้าใจบทเรี ยนได้ดียิ่งขึ้น และช่ วยฝึ ก
ทักษะต่าง ๆ ให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้อย่างแท้จริ ง

2.4.2 ลักษณะทีด่ ีของแบบฝึ กเสริมทักษะ


แบบฝึ กเสริ มทัก ษะที่ ดี ครู ผู้ส ร้ า งจะต้ อ งยึ ด หลั ก จิ ต วิ ท ยา ใช้ ส านวนภาษาที่
ง่ าย เหมาะสมกับวัย ความสามารถของผูเ้ รี ย น มี กิจกรรมหลากหลาย มี คาสั่ ง คาอธิ บาย และ
คาแนะนาการใช้แบบฝึ กเสริ ม ทักษะที่ ชัดเจนเข้าใจง่ า ย ใช้เวลาในการฝึ กไม่นานและที่ ส าคัญมี
ความหมายต่อชีวติ เพื่อนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้

2.4.3 หลักกำรสร้ ำงแบบฝึ กเสริมทักษะ


1. ต้อ งยึ ด หลัก จิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ แ ละพัฒ นาการของผูเ้ รี ย นในแต่ ล ะวัย และต้อ ง
คานึงถึงความสามารถ ความสนใจ แรงจูงใจของนักเรี ยน
2. ต้องตั้งจุดประสงค์ในด้านทักษะและเนื้อหา
3. แบบฝึ กเสริ มทักษะต้องไม่ยากไม่ง่ายจนเกินไป และต้องเรี ยงลาดับจากง่ายไปหายาก
4. ต้องศึกษาขั้นตอนต่างๆ ในการสร้างแบบฝึ กเสริ มทักษะ ปั ญหาและข้อบกพร่ องของ
นักเรี ยน
5. แบบฝึ กเสริ มทักษะต้องมี คาชี้ แจง และควรมีตวั อย่างเพื่อให้นักเรี ยนมีความเข้าใจ
มากขึ้น และสามารถทาได้ดว้ ยตนเอง
6. แบบฝึ กเสริ มทักษะควรมีหลายรู ปแบบ หลายลักษณะ เพื่อจูงใจในการทา
13

7. ควรมีรูปภาพประกอบที่สวยงามเหมาะสมกับวัยของเด็ก
8. ควรใช้ภาษาสั้นๆ ง่ายๆ ไม่วา่ จะเป็ นเนื้อหาหรื อคาสั่ง
9. ควรมีการทดลองใช้เพื่อหาข้อบกพร่ องต่าง ๆ ก่อนนาไปใช้จริ ง
10. ควรจัดทาเป็ นรู ปเล่มซึ่ งสามารถเก็บรักษาได้ง่ายและใช้ในทบทวน

2.5 งำนวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง


จีรนันท์ เมฆวงศ์ (2547) ได้ทาวิทยานิ พนธ์เรื่ องการพัฒนาความสามารถในการออก
เสี ยงภาษาอังกฤษและความคงทนในการเรี ยนรู ้ คาศัพท์ดว้ ยวิธีการสอนแบบโฟนิ กส์ ผลปรากฏว่า
ความสามารถในการออกเสี ยงภาษาอังกฤษของนักเรี ยนที่ได้รับการสอนด้วยวิธีโฟนิ กส์ โดยรวม
ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด นอกจากนั้นผูเ้ รี ยนมีความคงทนในการจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษหลังจากที่ได้รับ
การสอนด้วยวิธีโฟนิกส์
วิไ ลวรรณ ร่ ว มชาติ (2549) ได้ท าการวิ จยั เรื่ อ ง การพัฒ นาทัก ษะการอ่ า นค าศัพ ท์
ภาษาอังกฤษของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5/2 โรงเรี ยนบ้านปงสนุ ก จังหวัดลาปาง โดยใช้
แบบฝึ กการอ่านคาพ้องภาษาอังกฤษ – ไทย ผลปรากฏว่า นักเรี ยนมีคะแนนทักษะการอ่านคาศัพท์
ภาษาอังกฤษภายหลังเรี ยนด้วยแบบฝึ กฯ สู งขึ้นทุกคน นอกจากนี้ยงั พบว่านักเรี ยนมีความสุ ขในการ
เรี ย นภาษาอัง กฤษ มี เจตคติ ที่ ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษและครู ผูส้ อนภาษาอัง กฤษ ไม่ เครี ยด และ
นักเรี ยนมีการรับรู้ความสามารถของตนด้านการอ่านคาศัพท์ภาษาอังกฤษสู งขึ้น
อิ นทิ รา ศรี ประสิ ทธิ์ (2553) ได้ทาการวิจยั เรื่ อง โครงการศึ กษาเสริ มทักษะการอ่า น
ภาษาอังกฤษด้วยระบบถอดรหัสตัวอักษรให้เป็ นเสี ยง ผลปรากฏว่า ครู และนักศึกษาของวิทยาลัย
บริ หารธุ รกิ จและการท่องเที่ยวกรุ งเทพฯ ความรู ้ ทางด้านทฤษฎีโฟนิ คส์ เพิ่มขึ้นจาก ระดับอนุ บาล
(A) มาเป็ น ระดับดีมาก (G) โดยเฉลี่ย และพัฒนาการในการอ่านออกเสี ยงดีข้ ึนโดยรวมจากระดับ
อนุบาลเป็ นระดับเกรด 2 โดยเฉลี่ย
นภาพร วงศ์พุ ท ธา (2554) ได้ท าการวิจ ัย เรื่ อง การพัฒ นาทัก ษะการอ่ า นออกเสี ย ง
ภาษาอังกฤษของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/12 โรงเรี ยนนวมินททราชินูทิศ สตรี วิทยา พุทธ
มณฑล ผลปรากฏว่า หลังจากนักเรี ยนได้อ่านชุ ดฝึ ก นักเรี ยนมี ทกั ษะการอ่านดี ข้ ึ นและมีความ
มัน่ ใจในการอ่านมากขึ้น
ปริ ญดา สากระแส (2555) ได้ทาการวิจยั ในชั้นเรี ยนเรื่ อง การพัฒนาทักษะการอ่านออก
เสี ยงและเขียนคาศัพท์ภาษาอังกฤษ โดยใช้บทเรี ยนสาเร็ จรู ปของนักเรี ยนที่มีความบกพร่ องทางการ
อ่านและเขียนชั้นมัธยมศึ กษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนปริ นส์ รอยแยลส์ วิทยาลัย ผลปรากฏว่า นักเรี ยนมี
14

ความสามารถด้านการอ่านและเขียนสะกดคาศัพท์ได้ดีข้ ึน โดยผลการทดสอบ Post Test มีค่าร้ อย


ละสู ง ขึ้ นจาก Pre Test นอกจากนี้ ผู ้วิ จ ัย ให้ ข ้ อ เสนอแนะว่ า ทัก ษะการอ่ า นและการเขี ย น
ภาษาอังกฤษเป็ นทักษะที่ควบคู่กนั ดังนั้นควรให้นกั เรี ยนฝึ กฝนตั้งแต่ช้ นั ประถมศึกษา จะช่วยให้
นักเรี ยนมีการสังเกตและมีทกั ษะการอ่าน – การเขียนมากขึ้น

2.6 กรอบแนวคิดกำรวิจัย
ผูว้ จิ ยั ได้กาหนดกรอบแนวคิดการวิจยั ดังนี้

ภาพประกอบที่ 2 กรอบแนวคิดการวิจยั
15

บทที่ 3
วิธีดำเนินกำรวิจัย

การด าเนิ น การวิ จ ัย เรื่ อ ง เรื่ อ งการพัฒ นาการอ่ า นออกเสี ย งสะกดค าภาษาอัง กฤษ
(Phonics) โดยใช้แบบฝึ กทักษะของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนบ้านน้ าแคม อาเภอท่าลี่
จังหวัดเลย เพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรี ยนในฝัน ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้
3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
3.2 เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา
3.3 การสร้างและหาคุณภาพเครื่ องมือ
3.4 วิธีดาเนินการทดลองและการเก็บรวบรวมข้อมูล
3.5 การวิเคราะห์ขอ้ มูล
3.6 สถิติที่ใช้ในการวิจยั

3.1 ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ ำง
ประชากรที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ คือ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนบ้านน้ าแคม
อาเภอท่ า ลี่ จัง หวัด เลย ส านัก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษาเลยเขต 1 ภาคเรี ย นที่ 1 ปี
การศึกษา 2557 จานวน 40 คน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ คือ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6/2 โรงเรี ยน บ้าน
น้ าแคม อาเภอท่าลี่ จังหวัดเลย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลยเขต 1 ภาคเรี ยนที่ 1 ปี
การศึ ก ษา 2557 จ านวน 20 คน โดยใช้วิ ธี ก ารสุ่ ม แบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling)
เนื่องจากมีนกั เรี ยนร้อยละ 90 ของนักเรี ยนทั้งชั้นเรี ยนอ่านออกเสี ยงสะกดคาไม่ได้

3.2 เครื่องมือทีใ่ ช้ ในกำรศึกษำ


เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ คือ แบบฝึ กทักษะการอ่านออกเสี ยงภาษาอังกฤษ โดยมี
ลักษณะเป็ นเอกสารที่ประกอบด้วยคาศัพท์ รู ปภาพ และความหมายของคาที่เป็ นได้ท้ งั ใบความรู ้
และแบบทดสอบ ซึ่ ง มี เนื้ อหาดังนี้ เสี ย งพยัญชนะเดี่ ย ว (Consonant) เสี ย งพยัญชนะควบกล้ า
(Cluster) เสี ย งสระเดี่ ย วและสระผสม (Vowel and Diphthong) การอ่ า นออกเสี ย งสะกดค า
(Phonics) การออกเสี ยงพยัญชนะท้ายคา (Final Sound) และการลงเสี ยงเน้นหนักในคา (Stress) อีก
ทั้งมีส่วนประกอบอื่นๆ ภายในเล่ม ดังนี้ คาชี้แจงสาหรับครู ผสู ้ อน แบบทดสอบท้ายบทเรี ยนที่ 1 –
3 แบบทดสอบก่อนเรี ยน – หลังเรี ยน (Pretest - Posttest) และตัวอย่างแบบบันทึกการทดสอบ
16

3.3 กำรสร้ ำงเครื่องมือ


ผูว้ จิ ยั ได้สร้างแบบฝึ กทักษะการอ่านออกเสี ยงภาษาอังกฤษ (Phonics) ดังขั้นตอนต่อไปนี้
3.3.1 ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
3.3.2 กาหนดส่ วนประกอบของแบบฝึ กทักษะ และวางแผนการจัดทาอย่างละเอียด
3.3.3 สร้างแบบฝึ กทักษะการอ่านออกเสี ยงภาษาอังกฤษ
3.3.4 ประเมินคุณภาพของแบบฝึ กทักษะด้วยค่าความเที่ยงตรงเชิ งเนื้ อหาหรื อค่าความ
สอดคล้องระหว่า งข้อค าถามกับ วัตถุ ป ระสงค์ (Index of item objective congruence : IOC) โดย
ผูเ้ ชี่ยวชาญจานวน 3 ท่าน จากนั้นปรับปรุ งแก้ไขตามคาแนะนาของผูเ้ ชี่ยวชาญ
3.3.5 หาค่ า ประสิ ทธิ ภ าพเครื่ องมื อ โดยทดลองใช้ แ บบฝึ กทัก ษะกับ กลุ่ ม ทดลอง
ประสิ ทธิ ภาพเครื่ องมือ จากนั้นปรับปรุ งให้สมบูรณ์
3.3.6 นาแบบฝึ กทักษะไปใช้กบั กลุ่มตัวอย่าง

3.4 วิธีดำเนินกำรทดลองและกำรเก็บรวบรวมข้ อมูล


ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
3.5.3 ทดสอบก่อนเรี ยนและบันทึกคะแนนรายบุคคล
3.5.4 นาแบบฝึ กทักษะไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
1) จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้บทที่ 1 เรื่ องเสี ยงพยัญชนะและพยัญชนะควบกล้ า โดย
เน้นย้าซ้ าทวนเสี ยงพยัญชนะแต่ละเสี ยงจนนักเรี ยนจาได้
2) ทดสอบท้ายบทเรี ยนที่ 1 และบันทึกคะแนนรายบุคคลพร้อมบันทึกการสังเกต
3) จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้บทที่ 2 เรื่ องการอ่านออกเสี ยงสะกดคาและการออกเสี ยง
พยัญชนะท้ายคา โดยฝึ กอ่านสะกดคาจากตัวอย่างคาในเสี ยงสระแต่ละชุด
4) ทดสอบท้ายบทเรี ยนที่ 2 และบันทึกคะแนนรายบุคคลพร้อมบันทึกการสังเกต
5) จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้บทที่ 3 เรื่ องการลงเสี ยงเน้นหนักในคา
6) ทดสอบท้ายบทเรี ยนที่ 3 และบันทึกคะแนนรายบุคคลพร้อมบันทึกการสังเกต
3.5.5 ทดสอบหลังเรี ยนและบันทึกคะแนนรายบุคคล
17

3.5 กำรวิเครำะห์ ข้อมูล


การวิ เ คราะห์ ข ้อ มู ล ที่ ไ ด้จ ากการวิ จ ัย ครั้ งนี้ เป็ นการวิ เ คราะห์ ข ้อ มู ล เชิ ง ปริ ม าณจาก
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ผูว้ จิ ยั มีข้ นั ตอนในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ดังนี้
3.5.1 วิเคราะห์ขอ้ มูลด้านปริ มาณค่าสถิติพ้นื ฐาน
3.5.2 วิเคราะห์ขอ้ มูลด้านคุณภาพด้วยการบรรยาย

3.6 สถิติทใี่ ช้ ในกำรวิจัย


ผูว้ จิ ยั นาผลการทดลองมาวิเคราะห์ดว้ ยวิธีการทางสถิติ ดังนี้
3.6.1 สถิ ติพ้ืนฐานที่ ใ ช้ใ นการวิเคราะห์ ข ้อมูล ได้แก่ ค่ า ร้ อยละ (%) ค่า เฉลี่ ย ( x )
ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
3.6.2 สถิติพ้ืนฐานที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐาน ได้แก่ ค่าที (T-test) แบบ dependent
กรณี กลุ่มตัวอย่างไม่เป็ นอิสระแก่กนั
18

บทที่ 4
ผลกำรวิเครำะห์ ข้อมูล

การวิจยั เรื่ องการพัฒนาการอ่านออกเสี ยงสะกดคาภาษาอังกฤษ (Phonics) โดยใช้แบบฝึ ก


ทักษะของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนบ้านน้ าแคม อาเภอท่าลี่ จังหวัดเลย เพื่อพัฒนา
คุณภาพโรงเรี ยนในฝัน ผูว้ จิ ยั ได้วเิ คราะห์ผลการทดลอง ดังต่อไปนี้
4.1 ผลการประเมินคุณภาพของแบบฝึ กทักษะในด้านค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้ อหา
4.2 ผลการหาค่าประสิ ทธิ ภาพของแบบฝึ กทักษะ
4.3 ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนด้านการอ่านออกเสี ยงสะกดคาภาษาอังกฤษ
4.4 ผลการบัน ทึ ก การสั ง เกตการจั ด การเรี ยนรู ้ เ รื่ องการอ่ า นออกเสี ยงสะกดค า
ภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึ กทักษะ

4.1 ผลกำรประเมิน คุณภำพของแบบฝึ กทักษะในด้ ำนค่ ำควำมเที่ยงตรงเชิ งเนื้อหำ หรื อค่าความ


สอดคล้ อ งระหว่ า งข้ อ ค าถามกั บ วัต ถุ ป ระสงค์ / เนื้ อหา (IOC : Index of item objective
congruence) โดยผูเ้ ชี่ยวชาญจานวน 3 ท่าน สรุ ปได้ดงั นี้

ตำรำงที่ 3 แสดงค่า IOC ที่ประเมินโดยผูเ้ ชี่ยวชาญจานวน 3 ท่าน

ผู้เชี่ ยวชำญท่ ำนที่


ที่ ข้ อคำถำม เฉลีย่ สรุ ป
1 2 3
1 ความถูกต้องเหมาะสมของเนื้ อหาที่ใช้ ได้แก่ 0 -1 1 0.00 ปรับปรุ ง
- เสี ยงพยัญชนะเดี่ยว
- เสี ยงพยัญชนะควบกล้ า
- การอ่านออกเสี ยงสะกดคาและการออกเสี ยงพยัญชนะท้ายคา
- เสี ยงสระเดี่ยวและสระผสม
- การลงเสี ยงเน้นหนักในคา
2 ความเหมาะสมของคาศัพท์ที่ใช้กบั ระดับชั้นของผูเ้ รี ยน 1 1 1 1.00 ใช้ได้
3 ความเหมาะสมของรู ปแบบการใช้ตวั อักษร รู ปภาพ 1 1 1 1.00 ใช้ได้
สรุ ปผลในภำพรวม 0.67 ใช้ ได้
19

จากตารางที่ 3 เมื่อพิจารณาแต่ละข้อคาถาม พบว่า ข้อที่ 1 ด้านความถูกต้องเหมาะสม


ของเนื้ อหาที่ใช้ มีค่าเฉลี่ ย 0.00 ซึ่ งไม่สอดคล้องกับเกณฑ์ที่กาหนดคือต้องมี ค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 0.50
ขึ้นไป แสดงว่าผูว้ ิจยั ต้องปรั บปรุ งแก้ไข ส่ วนข้อคาถามที่ 2 และ 3 ด้านความเหมาะสมของ
คาศัพท์ที่ใช้กบั ระดับของผูเ้ รี ยนและความเหมาะสมของรู ปแบบการใช้ตวั อักษร รู ปภาพ มีค่าเฉลี่ย
1.00 ซึ่ งสอดคล้องกับเกณฑ์ที่กาหนด แสดงว่า เหมาะสมและนาไปใช้ได้ และเมื่อพิจารณาใน
ภาพรวมของแบบฝึ กทักษะ พบว่ามี ค่า 0.67 ซึ่ งสอดคล้องกับเกณฑ์ที่กาหนด แสดงว่าสามารถ
นาไปใช้ได้ แต่ตอ้ งปรับปรุ งแก้ไขตามคาแนะนาของผูเ้ ชี่ยวชาญ

ตำรำงที่ 4 แสดงข้อเสนอแนะในการปรับปรุ งแก้ไขแบบฝึ กทักษะโดยผูเ้ ชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่าน

ที่ ข้ อเสนอแนะ

1 ควรศึกษาเสี ยงและตัวอย่างคาของแต่ละเสี ยงให้ถูกต้อง


2 ควรแยกหัวข้อให้ชดั เจนและถูกต้องเหมาะสม เช่น แยกเสี ยงพยัญชนะเดี่ยวและพยัญชนะควบกล้ า
แยกเสี ยงสระเดี่ยวและสระผสม เป็ นต้น
3 เสี ยงสระผสมควรเขียนเสี ยงสระให้ชดั เจน เช่น อีเออะ หรื อ เอีย /Iə/

จากตารางที่ 4 แสดงให้เห็ นว่า ผูเ้ ชี่ ยวชาญทั้ง 3 ท่านได้ให้คาแนะนาในการปรับปรุ ง


ด้านความถูกต้องและเหมาะสมของเนื้อหาจานวน 3 ข้อ ดังรายละเอียดในตาราง

4.2 ผลกำรหำค่ ำประสิ ทธิภำพของแบบฝึ กทักษะกำรอ่ ำนออกเสี ยงสะกดคำภำษำอังกฤษ จากการ


ทดลองประสิ ทธิ ภาพแบบฝึ กทักษะโดยนักเรี ยนกลุ่มทดลองประสิ ทธิ ภาพเครื่ องมือจานวน 20
คน มีค่าเฉลี่ยดังนี้

ตำรำงที่ 5 แสดงค่าประสิ ทธิ ภาพของแบบฝึ กทักษะเมื่อเทียบกับเกณฑ์ที่กาหนด

จำนวน ค่ ำเฉลีย่ ร้ อยละของคะแนน ค่ ำเฉลีย่ ร้ อยละของคะแนน ค่ ำประสิ ทธิภำพตำมเกณฑ์


นักเรียน กำรทดสอบท้ำยบทเรียนที่ 1-3 กำรทดสอบหลังเรียน E1/ E2 ร้ อยละ 80/80
E1 E2
20 80.00 81.00 80.00 / 81.00
20

จากตารางที่ 5 แสดงให้เห็นว่า ผลของการใช้แบบฝึ กทักษะการอ่านออกเสี ยงสะกดคา


ภาษาอัง กฤษที่ ผู ้วิ จ ัย สร้ า งขึ้ น มี ค่ า ประสิ ท ธิ ภ าพตามเกณฑ์ E1/ E2 ร้ อ ยละ 80/ 80 กล่ า วคื อ
อัตราส่ วนระหว่างค่าเฉลี่ ยร้ อยละของคะแนนการทดสอบท้ายบทเรี ยน และค่ าเฉลี่ ยร้ อยละของ
คะแนนการทดสอบหลัง เรี ย น มี ค่ า 80.00 / 81.00 ซึ่ งหมายถึ งแบบฝึ กทัก ษะมี ประสิ ทธิ ภาพที่
สามารถนาไปใช้ทดลองกับกลุ่มตัวอย่างได้

4.3 ผลสั มฤทธิ์ทำงกำรเรียนด้ ำนกำรอ่ำนออกเสี ยงสะกดคำภำษำอังกฤษ


4.3.1 ผลสั มฤทธิ์ทำงกำรเรียนท้ำยบทเรียน หลังจากที่ทดสอบนักเรี ยนด้านการอ่านออกเสี ยง
สะกดคาโดยใช้แบบทดสอบท้ายบทเรี ยนที่ 1 – 3 แล้ว ปรากฏผลดังนี้

ตำรำงที่ 6 แสดงค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนด้านการอ่านออก


เสี ยงสะกดคาโดยใช้แบบทดสอบท้ายบทเรี ยนที่ 1 – 3 ของนักเรี ยนกลุ่มตัวอย่าง

คะแนนท้ำย คะแนนท้ำย คะแนนท้ำย


บทเรียนที่ 1 ร้ อยละ บทเรียนที่ 2 ร้ อยละ บทเรียนที่ 3 ร้ อยละ เฉลีย่ ร้ อยละ
(5) (5) (5)
x̅ 3.70 74.00 4.10 82.00 4.30 86.00 4.03 80.67
S.D. 0.73 0.64 0.80 0.60

จากตารางที่ 6 แสดงให้เห็ นว่า ในการทดสอบท้ายบทเรี ยนที่ 1 นักเรี ยนสามารถออก


เสี ยงพยัญชนะภาษาอังกฤษได้เฉลี่ย 3.70 คะแนนจากจานวนทั้งหมด 5 คะแนน คิดเป็ นร้อยละ
74.00 คะแนน มีค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.83 การทดสอบท้ายบทเรี ยนที่ 2 นักเรี ยนสามารถ
ออกเสี ยงได้เฉลี่ ย 4.10 คิ ดเป็ นร้ อยละ 82.00 คะแนนมี ค่ า ส่ วนเบี่ ย งเบนมาตรฐาน 0.64 การ
ทดสอบท้ายบทเรี ยนที่ 3 นักเรี ยนสามารถออกเสี ยงได้เฉลี่ย 4.30 คิดเป็ นร้อยละ 86.00 มีค่าส่ วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.60 ทั้งนี้ การทดสอบทั้งสามครั้งมีค่าเฉลี่ ย 4.03 คิดเป็ นร้อยละ 80.67 มีค่า
ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.60 แสดงว่าหลังจากการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้แบบฝึ กทักษะและสอนซ่อม
เสริ มในแต่ละบทเรี ยนแล้ว นักเรี ยนมีทกั ษะการอ่านออกเสี ยงสะกดคาภาษาอังกฤษที่ดีข้ ึน
21

4.3.2 ผลสั มฤทธิ์ทำงกำรเรียนก่ อนเรียน – หลังเรียน หลังจากที่ทดสอบนักเรี ยนด้านการอ่าน


ออกเสี ยงสะกดคาโดยใช้แบบทดสอบก่อนเรี ยน –หลังเรี ยนแล้ว ปรากฏผลดังนี้

ตำรำงที่ 7 แสดงค่ า สถิ ติ ข องผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นด้า นการอ่ า นออกเสี ย งสะกดค าโดยใช้
แบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนของนักเรี ยนกลุ่มตัวอย่าง

กำรทดสอบ ค่ ำเฉลีย่ ร้ อยละ ส่ วนเบี่ยงเบน ควำมต่ ำง ค่ ำทดสอบที SIG.


(𝒙
̅) (%) มำตรฐำน (S.D.) (𝑫̅) (T-TEST)
ก่อนเรี ยน 0.95 19.00 1.10
3.30 20.142** 0.000
หลังเรี ยน 4.25 85.00 0.44

** มีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตารางที่ 7 แสดงให้เห็ นว่าในการทดสอบก่ อนเรี ยนนักเรี ยนสามารถอ่านออกเสี ยง


สะกดคาได้เฉลี่ย 0.95 คะแนนจากคะแนนเต็ม 5 คะแนน คิดเป็ นร้อยละ 19.00 มีค่าส่ วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน 1.10 และเมื่ อท าการทดสอบหลัง เรี ย นนัก เรี ย นสามารถอ่ า นออกเสี ย งได้เฉลี่ ย 4.25
คะแนน คิดเป็ นร้อยละ 85.00 มีค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.44 ทั้งนี้ผลต่างของค่าคะแนนทั้งสอง
ครั้ งเฉลี่ ย 3.30 แสดงว่าหลังจากการจัดการเรี ยนรู ้ โดยใช้แบบฝึ กทักษะและสอนซ่ อมเสริ มแล้ว
นักเรี ยนมีทกั ษะการอ่านออกเสี ยงสะกดคาภาษาอังกฤษที่ดีข้ ึน
อีกทั้งเมื่อนาคะแนนทั้งสองส่ วนไปหาค่าทดสอบที (t-test) แบบ Dependent กรณี กลุ่ ม
ตัวอย่างไม่เป็ นอิสระแก่กนั เท่ากับ 20.142 โดยมีค่า SIG. น้อยกว่าค่านัยสาคัญทางสถิ ติที่ระดับ
.05 แสดงว่าผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนด้านการอ่านออกเสี ยงสะกดคาภาษาอังกฤษหลังเรี ยนสู งกว่า
ก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมุติฐานที่ต้ งั ไว้

4.4 ผลกำรบันทึกกำรสั งเกตกำรจัดกำรเรี ยนรู้ เรื่ องกำรอ่ ำนออกเสี ยงสะกดคำภำษำอังกฤษโดยใช้


แบบฝึ กทักษะ ในกระบวนการเก็บข้อมูลวิจยั โดยการทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง ผูว้ ิจยั ได้สังเกต
และจดบันทึกการสังเกต สรุ ปได้ดงั นี้
22

ตำรำงที่ 8 แสดงผลการบันทึกการสังเกตของนักเรี ยนกลุ่มตัวอย่าง

ประเด็นที่
ควำมสำเร็จ ปัญหำ / อุปสรรค ข้ อเสนอแนะ
สั งเกต
นักเรี ยนกลุ่มเก่งจาเสี ยง นักเรี ยนออกเสี ยง ควรทาวิจยั ในเรื่ องการ
พยัญชนะได้อย่างคล่องแคล่ว พยัญชนะบางเสี ยงที่ไม่มี ออกเสี ยงพยัญชนะที่
กำรอ่ำนออก
แต่นกั เรี ยนส่ วนมากที่เป็ น หรื อแตกต่างจาก เป็ นปัญหาสาหรับ
เสี ยงพยัญชนะ
กลุ่มปานกลางและอ่อนยัง ภาษาไทยไม่ชดั เจน เช่น นักเรี ยนโดยเฉพาะ
ภำษำอังกฤษ
ตะกุกตะกักและช้ามาก ต้อง /v/, /θ/, /ð/, /z/, /dʒ/, เพื่อการสื่ อสารที่มี
สอนซ่อมเสริ ม /ʃ/, /ʒ/, /g/, /r/ ประสิ ทธิภาพ
นักเรี ยนกลุ่มเก่งสามารถอ่าน นักเรี ยนบางส่ วนอ่านออก ครู ตอ้ งเน้นย้าซ้ าทวนให้
ออกเสี ยงสะกดคาได้อย่าง เสี ยงสะกดคาได้ชา้ นักเรี ยนอ่านออกเสี ยง
กำรอ่ำนออก
คล่องแคล่ว แต่นกั เรี ยนกลุ่ม เพราะปัจจัยหลายด้าน สะกดคาให้ได้ทุกคน
เสี ยงสะกดคำ
ปานกลางและอ่อนอ่านได้ชา้ นอกจากนี้ส่วนมากยังขาด และควรทาวิจยั ในเรื่ อง
จำกเสี ยงสระ
มาก บางคนอ่านไม่ได้ ต้อง ทักษะการออกเสี ยง การออกเสี ยงพยัญชนะ
แต่ ละชุ ด
สอนซ่อมเสริ มรายบุคคล พยัญชนะท้ายคา เพราะ ท้ายคา
เป็ นสิ่ งที่ไม่มีภาษาไทย
นักเรี ยนส่ วนมากออกเสี ยง นักเรี ยนส่ วนมากขาด ในแต่ละบทเรี ยน
เน้นหนักในคาจากตัวอย่างคา ความใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยน ครู ควรนานักเรี ยน
กำรออกเสี ยง ในแบบฝึ กทักษะได้ แต่ใน ไม่ศึกษาค้นคว้า อ่านออกเสี ยงคาศัพท์
เน้ นหนักในคำ คาอื่นๆ ต้องขึ้นอยูก่ บั ด้วยตนเอง ให้ชดั เจนและถูกต้อง
ประสบการณ์ และความใฝ่ รู้ เพื่อให้นกั เรี ยนได้นา
ใฝ่ เรี ยนของนักเรี ยน ไปใช้ในชีวติ ประจาวัน
นักเรี ยนกลุ่มเก่งเรี ยนรู ้ได้เร็ ว กระบวนการเรี ยนการ ครู ตอ้ งใช้เวลามากกว่า
อ่านได้ถูกต้องและคล่องแคล่ว สอนในชั้นเรี ยน เวลาที่กาหนดไว้ ดังนั้น
พฤติกรรม แต่นกั เรี ยนส่ วนมากที่เป็ น ตลอดจนการสอนซ่อม ในงานวิจยั
นักเรียน กลุ่มปานกลางและอ่อนต้อง เสริ มสาหรับนักเรี ยนที่ จึงต้องกาหนดเวลาแบบ
โดยรวม ใช้ความพยายามจึงสามารถ อ่านไม่ได้น้ นั ยืดหยุน่ ได้
อ่านได้ บางคนไม่ยอมรับรู ้ ต้องใช้เวลาค่อนข้างมาก เพื่อให้เหมาะสมกับ
จนกว่าครู จะเน้นตัวต่อตัว บริ บทโรงเรี ยน
23

จากตารางที่ 8 แสดงให้เห็ นว่า ในการทดลองกับ กลุ่ ม ตัวอย่า งนั้นมี ปัญหาอุ ป สรรค


มากมาย อันเนื่ องมาจากนักเรี ยนส่ วนมากเป็ นกลุ่มปานกลางและอ่อนที่มีปัจจัยอื่นเข้ามาเกี่ ยวข้อง
เช่น ความรู ้พ้นื ฐาน ระดับสติปัญญา ความใฝ่ รู ้ใฝ่ เรี ยน และเจตคติต่อการเรี ยนภาษาอังกฤษ ซึ่งครู
ต้องใช้เวลาในการสอนซ่ อมเสริ มนักเรี ยนรายบุคคลค่อนข้างมาก การกาหนดเวลาที่ใช้ในการวิจยั
จึงต้องกาหนดแบบยืดหยุ่นตามบริ บทของโรงเรี ยน นอกจากนี้ นกั เรี ยนส่ วนมากยังขาดทักษะการ
ออกเสี ยงพยัญชนะบางเสี ยงที่ไม่มีหรื อแตกต่างจากภาษาไทย และการออกเสี ยงพยัญชนะท้ายคา
เนื่ องจากความเคยชิ นในการใช้ภาษาแม่ ผูว้ ิจยั จึงเสนอแนะในการทาวิจยั ครั้ งต่อไป เพื่อพัฒนา
ทักษะการอ่านออกเสี ยงของนักเรี ยนให้ดีข้ ึน
24

บทที่ 5
สรุปผลกำรวิจัย อภิปรำยผล และข้ อเสนอแนะ

การวิจยั เรื่ องการพัฒนาการอ่านออกเสี ยงสะกดคาภาษาอังกฤษ (Phonics) โดยใช้แบบฝึ ก


ทักษะของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนบ้านน้ าแคม อาเภอท่าลี่ จังหวัดเลย เพื่อพัฒนา
คุณภาพโรงเรี ยนในฝัน ผูว้ จิ ยั ได้สรุ ปผลครอบคลุมสาระ ดังนี้
5.1 วัตถุประสงค์ของการวิจยั
5.2 สมมุติฐานการวิจยั
5.3 วิธีดาเนินการวิจยั
5.4 สรุ ปผลการวิจยั
5.5 อภิปรายผลการวิจยั
5.6 ข้อเสนอแนะ

5.1 วัตถุประสงค์ กำรวิจัย


5.1.1 เพื่อศึกษาผลการพัฒนาการทักษะอ่านออกเสี ยงสะกดคาภาษาอังกฤษของนักเรี ยน
5.1.2 เพื่อศึกษาวิธีการสร้างและหาประสิ ทธิ ภาพของแบบฝึ กทักษะการอ่านออกเสี ยง
สะกดคาภาษาอังกฤษ

5.2 สมมุติฐำนกำรวิจัย
5.2.1 นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนด้านการอ่านออกเสี ยงสะกดคาภาษาอังกฤษหลัง
เรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
5.2.2 แบบฝึ กทักษะมีประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ร้อยละ 80/80

5.3 วิธีดำเนินกำรทดลองและกำรเก็บรวบรวมข้ อมูล


ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
5.3.1 ทดสอบก่อนเรี ยนและบันทึกคะแนนรายบุคคล
5.3.2 นาแบบฝึ กทักษะไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
1) จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้บทที่ 1 เรื่ องเสี ยงพยัญชนะและพยัญชนะควบกล้ า โดย
เน้นย้าซ้ าทวนเสี ยงพยัญชนะแต่ละเสี ยงจนนักเรี ยนจาได้
2) ทดสอบท้ายบทเรี ยนที่ 1 และบันทึกคะแนนรายบุคคลพร้อมบันทึกการสังเกต
25

3) จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้บทที่ 2 เรื่ องการอ่านออกเสี ยงสะกดคาและการออกเสี ยง


พยัญชนะท้ายคา โดยฝึ กอ่านสะกดคาจากตัวอย่างคาในเสี ยงสระแต่ละชุด
4) ทดสอบท้ายบทเรี ยนที่ 2 และบันทึกคะแนนรายบุคคลพร้อมบันทึกการสังเกต
5) จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้บทที่ 3 เรื่ องการลงเสี ยงเน้นหนักในคา
6) ทดสอบท้ายบทเรี ยนที่ 3 และบันทึกคะแนนรายบุคคลพร้อมบันทึกการสังเกต
5.3.3 ทดสอบหลังเรี ยนและบันทึกคะแนนรายบุคคล

5.4 สรุ ปผลกำรวิจัย


5.4.1 ผลกำรประเมินคุณภำพของแบบฝึ กทักษะในด้ ำนค่ ำควำมเทีย่ งตรงเชิงเนือ้ หำ หรื อ
ค่ า ความสอดคล้อ งระหว่ า งข้อ ค าถามกับ วัต ถุ ป ระสงค์ / เนื้ อ หา (IOC : Index of item objective
congruence) โดยผูเ้ ชี่ยวชาญจานวน 3 ท่าน สรุ ปได้ดงั นี้
เมื่ อพิ จารณาแต่ ล ะข้อค าถาม พบว่า ข้อที่ 1 ด้านความถู ก ต้องเหมาะสมของ
เนื้ อหาที่ใช้ ไม่สอดคล้องกับเกณฑ์ที่กาหนดแสดงว่าผูว้ ิจยั ต้องปรับปรุ งแก้ไข ส่ วนข้อคาถามที่ 2
และ 3 ด้านความเหมาะสมของคาศัพท์ที่ใช้กบั ระดับของผูเ้ รี ยนและความเหมาะสมของรู ปแบบ
การใช้ตวั อักษร รู ปภาพ สอดคล้องกับเกณฑ์ที่กาหนด แสดงว่าเหมาะสมและนาไปใช้ได้ และเมื่อ
พิจารณาในภาพรวมของแบบฝึ กทักษะ พบว่า สอดคล้องกับเกณฑ์ที่ กาหนด แสดงว่าสามารถ
นาไปใช้ได้ แต่ตอ้ งปรับปรุ งแก้ไขตามคาแนะนาของผูเ้ ชี่ยวชาญ ดังนี้
1) ควรศึกษาเสี ยงและตัวอย่างคาของแต่ละเสี ยงให้ถูกต้อง
2) ควรแยกหัวข้อให้ชดั เจนและถูกต้องเหมาะสม เช่น แยกเสี ยงพยัญชนะเดี่ ยวและ
พยัญชนะควบกล้ า แยกเสี ยงสระเดี่ยวและสระผสม เป็ นต้น
3) เสี ยงสระผสมควรเขียนเสี ยงสระให้ชดั เจน เช่น อีเออะ หรื อ เอีย /Iə/

5.4.2 ผลกำรหำค่ ำประสิ ทธิ ภ ำพของแบบฝึ กทั ก ษะกำรอ่ ำ นออกเสี ย งสะกดค ำ


ภำษำอังกฤษ จากการทดลองประสิ ทธิ ภาพแบบฝึ กทักษะโดยนักเรี ยนกลุ่มทดลองประสิ ทธิ ภาพ
เครื่ องมือจานวน 20 คน มีค่าเฉลี่ยดังนี้
ผลของการใช้แบบฝึ กทักษะการอ่านออกเสี ยงสะกดคาภาษาอังกฤษที่ผวู้ ิจยั สร้าง
ขึ้ นมี ค่ าประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์ E1/ E2 ร้ อยละ 80/ 80 แสดงว่าแบบฝึ กทักษะมีประสิ ทธิ ภาพที่
สามารถนาไปใช้ทดลองกับกลุ่มตัวอย่างได้
26

5.4.3 ผลสั มฤทธิ์ทำงกำรเรียนด้ ำนกำรอ่ำนออกเสี ยงสะกดคำภำษำอังกฤษ : ผลสั มฤทธิ์


ก่อนเรียน – หลังเรียน และท้ำยบทเรียน หลังจากที่ทดสอบนักเรี ยนด้านการอ่านออกเสี ยงสะกดคา
โดยใช้แบบทดสอบก่อนเรี ยน –หลังเรี ยนแล้ว ปรากฏผลดังนี้
หลังจากการจัดการเรี ยนรู้ โดยใช้แบบฝึ กทัก ษะในแต่ละบทเรี ยนและสอนซ่ อม
เสริ มแล้ว นักเรี ยนมีทกั ษะการอ่านออกเสี ยงสะกดคาภาษาอังกฤษที่ดีข้ ึน
อี ก ทั้ง เมื่ อ นาคะแนนทั้ง สองส่ ว นไปหาค่ า ทดสอบที (t-test) แบบ Dependent
กรณี กลุ่มตัวอย่างไม่เป็ นอิสระแก่กนั พบว่า ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนด้านการอ่านออกเสี ยงสะกด
คาภาษาอังกฤษหลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิ ติที่ระดับ .05 ซึ่ งสอดคล้องกับ
สมมุติฐานที่ต้ งั ไว้

5.4.4 ผลกำรบั น ทึ ก กำรสั ง เกตกำรจั ด กำรเรี ย นรู้ เรื่ อ งกำรอ่ ำ นออกเสี ย งสะกดค ำ
ภำษำอังกฤษโดยใช้ แบบฝึ กทักษะ ในกระบวนการเก็บข้อมูลวิจยั โดยการทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง
ผูว้ จิ ยั ได้สังเกตและจดบันทึกการสังเกต สรุ ปได้ดงั นี้
ในการทดลองกับ กลุ่ ม ตัว อย่า งนั้น มี ปั ญ หาอุ ป สรรคมากมาย อัน เนื่ อ งมาจาก
นักเรี ย นส่ วนมากเป็ นกลุ่ มปานกลางและอ่อนที่ มีปั จจัยอื่ นเข้า มาเกี่ ย วข้อง เช่ น ความรู ้ พ้ืนฐาน
ระดับสติปัญญา ความใฝ่ รู ้ใฝ่ เรี ยน และเจตคติต่อการเรี ยนภาษาอังกฤษ ซึ่ งครู ตอ้ งใช้เวลาในการ
สอนซ่ อมเสริ มนักเรี ยนรายบุคคลค่อนข้างมาก การกาหนดเวลาที่ใช้ในการวิจยั จึงต้องกาหนดแบบ
ยืดหยุน่ ตามบริ บทของโรงเรี ยน นอกจากนี้ นกั เรี ยนส่ วนมากยังขาดทักษะการออกเสี ยงพยัญชนะ
บางเสี ยงที่ไม่มีหรื อแตกต่างจากภาษาไทย และการออกเสี ยงพยัญชนะท้ายคา เนื่องจากความเคย
ชิ นในการใช้ภาษาแม่ ผูว้ ิจยั จึงเสนอแนะในการทาวิจยั ครั้ งต่อไป เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออก
เสี ยงของนักเรี ยนให้ดีข้ ึน

5.5 อภิปรำยผลกำรวิจัย
ผลสั มฤทธิ์ทำงกำรเรี ยนด้ ำนกำรอ่ ำนออกเสี ยงสะกดคำภำษำอังกฤษ : ผลสั มฤทธิ์ก่อน
เรียน – หลังเรียน และท้ ำยบทเรียน หลังจากที่ทดสอบนักเรี ยนด้านการอ่านออกเสี ยงสะกดคาโดย
ใช้แบบทดสอบก่อนเรี ยน –หลังเรี ยนแล้ว ปรากฏผลดังนี้
หลังจากการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้แบบฝึ กทักษะในแต่ละบทเรี ยนและสอนซ่ อมเสริ มแล้ว
นักเรี ยนมีทกั ษะการอ่านออกเสี ยงสะกดคาภาษาอังกฤษที่ดีข้ ึน อีกทั้งเมื่อนาคะแนนทั้งสองส่ วนไป
หาค่าทดสอบที (t-test) แบบ Dependent กรณี กลุ่มตัวอย่างไม่เป็ นอิสระแก่กนั พบว่า ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยนด้านการอ่านออกเสี ยงสะกดคาภาษาอังกฤษหลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สาคัญ
27

ทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่ งสอดคล้องกับสมมุติฐานที่ต้ งั ไว้โดยคะแนนการทดสอบการอ่านออกเสี ยง


หลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน ซึ่ งสอดคล้องกับจีรนันท์ เมฆวงศ์ (2547) ที่ทาวิทยานิ พนธ์เรื่ องการ
พัฒนาความสามารถในการออกเสี ยงภาษาอังกฤษและความคงทนในการเรี ยนรู้คาศัพท์ดว้ ยวิธีการ
สอนแบบโฟนิ กส์ ผลปรากฏว่า ความสามารถในการออกเสี ยงภาษาอังกฤษของนักเรี ยนที่ได้รับ
การสอนด้วยวิธีโฟนิ กส์ โดยรวมผ่านเกณฑ์ที่กาหนด นอกจากนั้นผูเ้ รี ยนมีความคงทนในการจา
คาศัพท์ภาษาอังกฤษหลังจากที่ได้รับการสอนด้วยวิธีโฟนิกส์
นอกจากนี้ ยงั สอดคล้องกับ วิไลวรรณ ร่ วมชาติ (2549) ที่ทาการวิจยั เรื่ อง การพัฒนา
ทักษะการอ่านคาศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรี ยนชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 5/2 โรงเรี ยนบ้านปงสนุ ก
จังหวัดลาปาง โดยใช้แบบฝึ กการอ่านคาพ้องภาษาอังกฤษ – ไทย อินทิรา ศรี ประสิ ทธิ์ (2553) ที่
ทาการวิจยั เรื่ อง โครงการศึกษาเสริ มทักษะการอ่านภาษาอังกฤษด้วยระบบถอดรหัสตัวอักษรให้
เป็ นเสี ย ง นภาพร วงศ์พุ ท ธา (2554) ที่ ท าการวิจ ัย เรื่ อง การพัฒนาทัก ษะการอ่ า นออกเสี ย ง
ภาษาอังกฤษของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/12 โรงเรี ยนนวมินททราชินูทิศ สตรี วิทยา พุทธ
มณฑล และปริ ญดา สากระแส (2555) ที่ทาการวิจยั ในชั้นเรี ยนเรื่ อง การพัฒนาทักษะการอ่าน
ออกเสี ยงและเขียนคาศัพท์ภาษาอังกฤษ โดยใช้บทเรี ยนสาเร็ จรู ปของนักเรี ยนที่มีความบกพร่ อง
ทางการอ่านและเขียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนปริ นส์ รอยแยลส์ วิทยาลัย ผลการวิจยั ทั้ง 4
ท่านได้ขอ้ สรุ ปคล้ายๆ กัน กล่าวคือ คะแนนการทดสอบหลังเรี ยนมากกว่าคะแนนทดสอบก่อน
เรี ยน แสดงว่านักเรี ยนมีพฒั นาการด้านการอ่านออกเสี ยงภาษาอังกฤษที่ดีข้ ึน

5.6 ข้ อเสนอแนะในกำรทำวิจัย
5.6.1 ข้ อเสนอแนะทัว่ ไป
 ด้านเนื้ อหา ครู สามารถปรับปรุ งและประยุกต์ใช้คาศัพท์ได้จากบทเรี ยนปกติ
หรื อแหล่งการเรี ยนรู ้อื่นๆ ที่เหมาะสมกับระดับชั้นของนักเรี ยนได้อย่างหลากหลาย
 รู ปแบบของแบบฝึ กทักษะ ครู สามารถประยุกต์ใช้ได้หลากหลายวิธี เช่น ฉาย
บนโปรเจ็คเตอร์ หรื อเพิ่มลูกเล่นอื่น เช่น แทรกไฟล์เสี ยง เป็ นต้น
 การอ่ า นออกเสี ย งสะกดค าเป็ นทัก ษะพื้ น ฐานที่ ส าคัญ ที่ สุ ด ในการอ่ า นใน
ระดับสู ง ดังนั้นเมื่อจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ และทดสอบไปแล้ว แต่นกั เรี ยนยังอ่านไม่ได้ ครู ควร
อดทนกับการสอนซ่ อมเสริ มนักเรี ยนรายบุคคล โดยอาจจะใช้เวลามากหรื อน้อยแตกต่างกันไปใน
แต่ละบริ บทโรงเรี ยน
28

5.6.2 ข้ อเสนอแนะในกำรทำวิจัยครั้งต่ อไป


 ควรมีการวิจยั เกี่ยวกับการออกเสี ยงพยัญชนะภาษาอังกฤษที่เป็ นปั ญหาสาหรับ
นักเรี ยน เพื่อแก้ไขปั ญหาในการจัดการเรี ยนการสอน หรื อเพื่อศึกษาเป็ นกรณี ตวั อย่าง
 ควรมีการวิจยั เกี่ ยวกับการออกเสี ยงพยัญชนะท้ายคา (final sound) เนื่ องจาก
นักเรี ยนเป็ นปัญหามากสาหรับคนไทย เพราะในภาษาไทยไม่มีการออกเสี ยงพยัญชนะท้ายคา
 ควรมีการวิจยั เกี่ ยวกับการอ่านออกเสี ยงประโยค เพื่อให้นกั เรี ยนนาไปใช้ใน
ชีวติ ประจาวันได้
29

บรรณำนุกรม
30

บรรณำนุกรม

กระทรวงศึกษาธิ การ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักวิชาการและมาตรฐาน


การศึกษา. ตัวชี้ วัดและสำระกำรเรี ยนรู้ แกนกลำงกลุ่มสำระกำรเรี ยนรู้ ภำษำต่ ำงประเทศ
ตำมหลักสู ตรแกนกลำงกำรศึ กษำขั้นพืน้ ฐำน พุทธศั กรำช ๒๕๕๑. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์
ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจากัด, 2551.
กฤษณา ยอดมงคล. เอกสำรประกอบกำรสอน 1535203 สั ท ศำสตร์ และสรวิ ท ยำ 3(2-2-5)
Practical English Phonetics and Phonology. เลย : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 2553.
กรองแก้ ว ไชยปะ. สั ท ศำสตร์ อั ง กฤษและสรวิ ท ยำเบื้อ งต้ น . เลย : คณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละ
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย,2548.
จีรนันท์ เมฆวงษ์. กำรพัฒนำควำมสำมำรถในกำรออกเสี ยงภำษำอังกฤษและควำมคงทนในกำร
เรียนรู้ คำศัพท์ ด้วยวิธีกำรสอนแบบโฟนิกส์. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,2547.
ดวงใจ ตั้งสง่า. ชวนลูกเรียนรู้ ภำษำอังกฤษ ตอน โฟนิคส์ คืออะไร ทำไมต้ องเรี ยน[Online].เข้าถึงได้
จากhttp://taamkru.com/th/โฟนิคส์คืออะไร-ทาไมต้องเรี ยน/, 2555-2556. (15 กรกฎาคม
2557)
ณัฐฎา แสงคา, แบบฝึ กเสริมทักษะ. [Online]. เข้าถึงได้จาก http://www.sahavicha.com/
?name=media&file=readmedia&id=1667, 2553. (15 กรกฎาคม 2557)
มณี รัตน์ สุ กโชติรัตน์. ออกเสี ยงภำษำอังกฤษอย่ำงง่ ำย. กรุ งเทพฯ : นานมีบุค๊ ส์พบั ลิเคชัน่ ส์, 2552.
สานักงานคณะกรรมการการศึ กษาขั้นพื้ นฐาน กระทรวงศึ ก ษาธิ การ. UTQ online e-Training
Course UTQ – 2108 : กลุ่ ม สำระกำรเรี ยนรู้ ภ ำษำต่ ำ งประเทศ ส ำหรั บ ครู ผ้ ู ส อนระดั บ
ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ ำ .ก รุ ง เ ท พ ฯ : ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น
กระทรวงศึกษาธิการ : 2555.
ส านั ก วิ ช าการและมาตรฐานการศึ ก ษา ส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน
กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร.ตั ว ชี้ วั ด และสำระกำรเรี ย นรู้ แกนกลำงกลุ่ ม สำระกำรเรี ย นรู้
ภำษำต่ ำ งประเทศ ตำมหลัก สู ต รแกนกลำงกำรศึ ก ษำขั้ น พื้นฐำน พุ ทธศั ก รำช ๒๕๕๑.
กรุ งเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว, 2551.
31

ภำคผนวก ก

1. ผลกำรประเมินคุณภำพแบบฝึ กทักษะโดยผู้เชี่ ยวชำญ


2. ผลสั มฤทธิ์ทำงกำรเรียนของกลุ่มทดลองประสิ ทธิภำพเครื่องมือ
3. ผลสั มฤทธิ์ทำงกำรเรียนของนักเรี ยนกลุ่มตัวอย่ ำง
4. ผลกำรหำค่ ำ T-test เพือ่ ทดสอบสมมุติฐำน
32

แบบสรุปกำรประเมินคุณภำพแบบฝึ กทักษะกำรอ่ำนออกเสี ยงภำษำอังกฤษ (Phonics)


ในด้ ำนค่ำควำมเทีย่ งตรงเชิงเนือ้ หำ หรือค่ ำควำมสอดคล้องระหว่ ำงข้ อคำถำมกับ
วัตถุประสงค์ /เนือ้ หำ (IOC : Index of item objective congruence)
โดยผู้เชี่ยวชำญจำนวน 3 ท่ ำน

กำรกำหนดค่ ำคะแนน มีดงั นี้ +1 คือ เหมาะสม


0 คือ ไม่แน่ใจ
-1 คือ ไม่เหมาะสม
เกณฑ์ กำรแปลควำมหมำย
ค่าความเที่ยงตรงเชิ งเนื้อหาที่ยอมรับได้ ต้องมีค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป (ทั้งรายข้อและ
ค่าเฉลี่ยในภาพรวม)
ผู้เชี่ ยวชำญท่ ำนที่
ที่ ข้ อคำถำม เฉลีย่ สรุ ป
1 2 3
1 ความถูกต้องเหมาะสมของเนื้ อหาที่ใช้ 0 -1 1 0.00 ปรับปรุ ง
- เสี ยงพยัญชนะเดี่ยว
- เสี ยงพยัญชนะควบกล้ า
- การอ่านออกเสี ยงสะกดคาและการออกเสี ยงพยัญชนะ
ท้ายคา
- เสี ยงสระเดี่ยวและสระผสม
- การลงเสี ยงเน้นหนักในคา
2 ความเหมาะสมของคาศัพท์ที่ใช้กบั ระดับชั้นของผูเ้ รี ยน 1 1 1 1.00 ใช้ได้
3 ความเหมาะสมของรู ปแบบการใช้ตวั อักษร รู ปภาพ 1 1 1 1.00 ใช้ได้
สรุ ปผลในภำพรวม 0.67 ใช้ ได้

ข้ อเสนอแนะ
1. ควรศึกษาเสี ยงและตัวอย่างคาของแต่ละเสี ยงให้ถูกต้อง
2. ควรแยกหัวข้อให้ชดั เจนและถูกต้องเหมาะสม เช่น แยกเสี ยงพยัญชนะเดี่ยวและพยัญชนะ
ควบกล้ า แยกเสี ยงสระเดี่ยวและสระผสม เป็ นต้น
3. เสี ยงสระผสมควรเขียนเสี ยงสระให้ชดั เจน เช่น อีเออะ หรื อ เอีย /Iə/
33

แบบบันทึกกำรทดสอบก่ อนเรียน – หลังเรียน (Pretest – Posttest)


ของนักเรียนกลุ่มทดลองประสิ ทธิภำพเครื่องมือ
นักเรียน คะแนน คะแนน ผลต่ ำงของค่ ำ
ร้ อยละ ร้ อยละ ร้ อยละ
คนที่ ก่อนเรียน (5) หลังเรียน (5) คะแนน (5)
1 0 0.00 1 20.00 1 20.00
2 0 0.00 3 60.00 3 60.00
3 1 20.00 4 80.00 3 60.00
4 3 60.00 5 100.00 2 40.00
5 1 20.00 4 80.00 3 60.00
6 2 40.00 5 100.00 3 60.00
7 1 20.00 4 80.00 3 60.00
8 1 20.00 4 80.00 3 60.00
9 1 20.00 4 80.00 3 60.00
10 0 0.00 3 60.00 3 60.00
11 0 0.00 4 80.00 4 80.00
12 1 20.00 4 80.00 3 60.00
13 3 60.00 5 100.00 2 40.00
14 3 60.00 5 100.00 2 40.00
15 2 40.00 5 100.00 3 60.00
16 0 0.00 3 60.00 3 60.00
17 2 40.00 5 100.00 3 60.00
18 1 20.00 4 80.00 3 60.00
19 3 60.00 5 100.00 2 40.00
20 0 0.00 4 80.00 4 80.00
เฉลีย่ 1.25 25.00 4.05 81.00 2.80 56.00
S.D. 1.12 1.00 0.70
34

แบบบันทึกกำรทดสอบท้ ำยบทเรียน (Test 1-3)


ของนักเรียนกลุ่มทดลองประสิ ทธิภำพเครื่องมือ

นักเรียน คะแนนท้ำย ร้ อยละ คะแนนท้ำย ร้ อยละ คะแนนท้ำย ร้ อยละ เฉลีย่ ร้ อยละ


คนที่ บทเรียนที่ 1 บทเรียนที่ 2 บทเรียนที่ 3 (5)
(5) (5) (5)
1 3 60.00 5 100.00 3 60.00 3.67 73.33
2 3 60.00 3 60.00 4 80.00 3.33 66.67
3 3 60.00 5 100.00 5 100.00 4.33 86.67
4 5 100.00 5 100.00 5 100.00 5.00 100.00
5 4 80.00 4 80.00 4 80.00 4.00 80.00
6 4 80.00 5 100.00 4 80.00 4.33 86.67
7 3 60.00 4 80.00 5 100.00 4.00 80.00
8 4 80.00 4 80.00 3 60.00 3.67 73.33
9 3 60.00 4 80.00 3 60.00 3.33 66.67
10 4 80.00 3 60.00 4 80.00 3.67 73.33
11 4 80.00 3 60.00 3 60.00 3.33 66.67
12 3 60.00 4 80.00 4 80.00 3.67 73.33
13 5 100.00 5 100.00 5 100.00 5.00 100.00
14 5 100.00 5 100.00 5 100.00 5.00 100.00
15 4 80.00 5 100.00 4 80.00 4.33 86.67
16 3 60.00 3 60.00 3 60.00 3.00 60.00
17 4 80.00 4 80.00 4 80.00 4.00 80.00
18 3 60.00 4 80.00 4 80.00 3.67 73.33
19 5 100.00 5 100.00 5 100.00 5.00 100.00
20 3 60.00 4 80.00 4 80.00 3.67 73.33
เฉลีย่ 3.75 75.00 4.20 84.00 4.05 81.00 4.00 80.00
S.D. 0.79 0.77 0.89 0.69
35

แบบบันทึกกำรทดสอบก่ อนเรียน – หลังเรียน (Pretest – Posttest)


ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่ ำง

นักเรียน คะแนน คะแนน ผลต่ ำงของค่ ำ


ร้ อยละ ร้ อยละ ร้ อยละ
คนที่ ก่อนเรียน (5) หลังเรียน (5) คะแนน (5)
1 1 20.00 4 80.00 3 60.00
2 0 0.00 4 80.00 4 80.00
3 1 20.00 4 80.00 3 60.00
4 1 20.00 4 80.00 3 60.00
5 0 0.00 4 80.00 4 80.00
6 3 60.00 5 100.00 2 40.00
7 3 60.00 5 100.00 2 40.00
8 0 0.00 4 80.00 4 80.00
9 0 0.00 4 80.00 4 80.00
10 0 0.00 4 80.00 4 80.00
11 1 20.00 4 80.00 3 60.00
12 2 40.00 5 100.00 3 60.00
13 0 0.00 4 80.00 4 80.00
14 0 0.00 4 80.00 4 80.00
15 1 20.00 4 80.00 3 60.00
16 0 0.00 4 80.00 4 80.00
17 1 20.00 4 80.00 3 60.00
18 3 60.00 5 100.00 2 40.00
19 0 0.00 4 80.00 4 80.00
20 2 40.00 5 100.00 3 60.00
เฉลีย่ 0.95 19.00 4.25 85.00 3.30 66.00
S.D. 1.10 0.44 0.73
36

แบบบันทึกกำรทดสอบท้ ำยบทเรียน (Test 1-3)


ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่ ำง

นักเรียน คะแนนท้ำย ร้ อยละ คะแนนท้ำย ร้ อยละ คะแนนท้ำย ร้ อยละ เฉลีย่ ร้ อยละ


คนที่ บทเรียนที่ 1 บทเรียนที่ 2 บทเรียนที่ 3
(5) (5) (5)
1 2 40.00 3 60.00 4 80.00 3.00 60.00
2 3 60.00 3 60.00 3 60.00 3.00 60.00
3 3 60.00 3 60.00 3 60.00 3.00 60.00
4 4 80.00 4 80.00 5 100.00 4.33 86.67
5 4 80.00 5 100.00 5 100.00 4.67 93.33
6 4 80.00 4 80.00 5 100.00 4.33 86.67
7 5 100.00 5 100.00 4 80.00 4.67 93.33
8 5 100.00 5 100.00 5 100.00 5.00 100.00
9 3 60.00 4 80.00 4 80.00 3.67 73.33
10 3 60.00 3 60.00 3 60.00 3.00 60.00
11 3 60.00 4 80.00 4 80.00 3.67 73.33
12 3 60.00 4 80.00 5 100.00 4.00 80.00
13 4 80.00 4 80.00 4 80.00 4.00 80.00
14 3 60.00 4 80.00 4 80.00 3.67 73.33
15 3 60.00 4 80.00 5 100.00 4.00 80.00
16 3 60.00 4 80.00 5 100.00 4.00 80.00
17 4 80.00 4 80.00 3 60.00 3.67 73.33
18 4 80.00 4 80.00 5 100.00 4.33 86.67
19 5 100.00 5 100.00 5 100.00 5.00 100.00
20 4 80.00 4 80.00 5 100.00 4.33 86.67
เฉลีย่ 3.70 74.00 4.10 82.00 4.30 86.00 4.03 80.67
S.D. 0.73 0.64 0.80 0.60
37

แบบบันทึกกำรสั งเกต ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่ ำง

ประเด็นที่
ควำมสำเร็จ ปัญหำ / อุปสรรค ข้ อเสนอแนะ
สั งเกต
นักเรี ยนกลุ่มเก่งจาเสี ยง นักเรี ยนออกเสี ยง ควรทาวิจยั ในเรื่ องการ
พยัญชนะได้อย่างคล่องแคล่ว พยัญชนะบางเสี ยงที่ไม่มี ออกเสี ยงพยัญชนะที่
กำรอ่ำนออก
แต่นกั เรี ยนส่ วนมากที่เป็ นกลุ่ม หรื อแตกต่างจาก เป็ นปัญหาสาหรับ
เสี ยงพยัญชนะ
ปานกลางและอ่อนยัง ภาษาไทยไม่ชดั เจน เช่น นักเรี ยนโดยเฉพาะ
ภำษำอังกฤษ
ตะกุกตะกักและช้ามาก ต้อง /v/, /θ/, /ð/, /z/, /dʒ/, เพื่อการสื่ อสารที่มี
สอนซ่อมเสริ ม /ʃ/, /ʒ/, /g/, /r/ ประสิ ทธิภาพ
นักเรี ยนกลุ่มเก่งสามารถอ่าน นักเรี ยนบางส่ วนอ่านออก ครู ตอ้ งเน้นย้าซ้ าทวน
ออกเสี ยงสะกดคาได้อย่าง เสี ยงสะกดคาได้ชา้ ให้นกั เรี ยนอ่านออก
กำรอ่ำนออก
คล่องแคล่ว แต่นกั เรี ยนกลุ่ม เพราะปัจจัยหลายด้าน เสี ยงสะกดคาให้ได้ทุก
เสี ยงสะกดคำ
ปานกลางและอ่อนอ่านได้ชา้ นอกจากนี้ส่วนมากยังขาด คน
จำกเสี ยงสระ
มาก บางคนอ่านไม่ได้ ต้อง ทักษะการออกเสี ยง และควรทาวิจยั ใน
แต่ ละชุ ด
สอนซ่อมเสริ มรายบุคคล พยัญชนะท้ายคา เพราะ เรื่ องการออกเสี ยง
เป็ นสิ่ งที่ไม่มีภาษาไทย พยัญชนะท้ายคา
นักเรี ยนส่ วนมากออกเสี ยง นักเรี ยนส่ วนมากขาด ในแต่ละบทเรี ยน
เน้นหนักในคาจากตัวอย่างคา ความใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยน ครู ควรนานักเรี ยน
กำรออกเสี ยง ในแบบฝึ กทักษะได้ แต่ในคา ไม่ศึกษาค้นคว้า อ่านออกเสี ยงคาศัพท์
เน้ นหนักในคำ อื่นๆ ต้องขึ้นอยูก่ บั ด้วยตนเอง ให้ชดั เจนและถูกต้อง
ประสบการณ์ และความใฝ่ รู้ เพื่อให้นกั เรี ยนได้นา
ใฝ่ เรี ยนของนักเรี ยน ไปใช้ในชีวติ ประจาวัน
นักเรี ยนกลุ่มเก่งเรี ยนรู ้ได้เร็ ว กระบวนการเรี ยนการ ครู ตอ้ งใช้เวลามากกว่า
อ่านได้ถูกต้องและคล่องแคล่ว สอนในชั้นเรี ยน เวลาที่กาหนดไว้
พฤติกรรม แต่นกั เรี ยนส่ วนมากที่เป็ นกลุ่ม ตลอดจนการสอนซ่อม ดังนั้นในงานวิจยั
นักเรียน ปานกลางและอ่อนต้องใช้ เสริ มสาหรับนักเรี ยนที่ จึงต้องกาหนดเวลา
โดยรวม ความพยายามจึงสามารถอ่าน อ่านไม่ได้น้ นั แบบยืดหยุน่ ได้
ได้ บางคนไม่ยอมรับรู ้ ต้องใช้เวลาค่อนข้างมาก เพื่อให้เหมาะสมกับ
จนกว่าครู จะเน้นตัวต่อตัว บริ บทโรงเรี ยน
38

T-TEST PAIRS=VAR00001 WITH VAR00002 (PAIRED)


/CRITERIA=CI(.9500)
/MISSING=ANALYSIS.
T-Test
Notes
Output Created 18-JUN-2015 15:53:57
Comments
Input Active Dataset DataSet0
Filter <none>
Weight <none>
Split File <none>
N of Rows in Working
20
Data File
Missing Value Handling Definition of Missing User defined missing values are
treated as missing.
Cases Used Statistics for each analysis are based
on the cases with no missing or out-
of-range data for any variable in the
analysis.
Syntax T-TEST PAIRS=VAR00001 WITH
VAR00002 (PAIRED)
/CRITERIA=CI(.9500)
/MISSING=ANALYSIS.
Resources Processor Time 00:00:00.02
Elapsed Time 00:00:00.01
Paired Samples Statistics
Std. Error
Mean N Std. Deviation Mean
Pair 1 VAR00001 .9500 20 1.09904 .24575
VAR00002 4.2500 20 .44426 .09934
39

Paired Samples Correlations


N Correlation Sig.
Pair 1 VAR00001 &
20 .889 .000
VAR00002

Paired Samples Test


Paired Differences
95%
Confidence
Interval of the
Std. Error Difference
Mean Std. Deviation Mean Lower
Pair 1 VAR00001 -
-3.30000 .73270 .16384 -3.64291
VAR00002

Paired Samples Test


Paired
Differences
95% Confidence
Interval of the
Difference
Upper t df Sig. (2-tailed)
Pair 1 VAR00001 - VAR00002 -2.95709 -20.142 19 .000
40

ภำคผนวก ข

แบบฝึ กทักษะกำรอ่ำนออกเสี ยงสะกดคำภำษำอังกฤษ


แบบฝึ กทักษะ
การอ่ านออกเสี ยงสะกดคาภาษาอังกฤษ
(Phonics)

1
คาชี้แจงและวิธีการสอนสาหรับครู ผู้สอน

แบบฝึ กทักษะการอ่านออกเสียงสะกดคา (Phonics) ฉบับนี้ ประกอบด้ วย


1. แบบทดสอบก่อนเรี ยนจำนวน 30 คำ พร้อมเกณฑ์กำรให้คะแนน
(ทดสอบพร้อมบันทึกคะแนนรำยบุคคล)

2. ใบควำมรู ้เรื่ องเสี ยงพยัญชนะเดี่ยวและพยัญชนะ


ควบกล้ ำในภำษำอังกฤษ พร้อมตัวอย่ำงคำศัพท์ใน 3. แบบทดสอบท้ำยบทเรี ยนที่ 1
แต่ละเสี ยง จำนวน 30 เสี ยง
(นำนักเรี ยนเทียบเสี ยงพยัญชนะภำษำอังกฤษ - ไทย พร้อมเกณฑ์กำรให้คะแนน
โดยเน้นซ้ ำย้ำทวน จนนักเรี ยนจำได้) (ทดสอบพร้อมบันทึกคะแนน
รำยบุคคล)
4. ใบควำมรู ้เรื่ อง กำรอ่ำนออกเสี ยงสะกดคำ
และกำรออกเสี ยงพยัญชนะท้ำยคำ 5. ใบควำมรู ้เรื่ องเสี ยงสระเดี่ยว
(อธิบำยวิธีกำรและแสดงตัวอย่ำง) และสระผสมในภำษำอังกฤษ
โดยจัดเป็ นกลุ่มตัวอักษร
6. แบบทดสอบท้ำยบทเรี ยนที่ 2 จำนวน
a, e, i, o, u, y พร้อมตัวอย่ำงคำศัพท์
30 คำ พร้อมเกณฑ์กำรให้คะแนน
ในแต่ละหน่วยเสี ยง (อ่ำนออกเสี ยง
(ทดสอบพร้อมบันทึกคะแนนรำยบุคคล)
สะกดคำจำกเสี ยงสระที่กำหนด)

7. ใบควำมรู ้เรื่ องกำรลงเน้นหนักในคำ 8. แบบทดสอบท้ำยบทเรี ยนที่ 3 จำนวน


(อธิบำยวิธีกำรและแสดงตัวอย่ำง) 10 คำ พร้อมเกณฑ์กำรให้คะแนน
(ทดสอบพร้อมบันทึกคะแนนรำยบุคคล)

9. แบบทดสอบหลังเรี ยนจำนวน 30 คำ พร้อมเกณฑ์กำรให้คะแนน


(ทดสอบพร้อมบันทึกคะแนนรำยบุคคล)

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


แบบทดสอบก่ อนเรียน - หลังเรียน
(Pretest - Posttest)
คาสั่ ง : ให้นกั เรี ยนอ่ำนออกเสี ยงสะกดคำต่อไปนี้
ให้ถูกต้องตำมหลักกำรอ่ำน

1. hat 11. eye 21. photo


2. yard 12. think 22. put
3. call 13. birth 23. run
4. shake 14. mind 24. fur
5. around 15. fog 25. July
6. fair 16. floor 26. unit
7. net 17. cook 27. baby
8. flee 18. zoo 28. by
9. search 19. one 29. toy
10. clear 20. wow 30. this

เกณฑ์ การให้ คะแนน (เต็ม 5 คะแนน)


5 4 3 2 1
อ่ำนออกเสี ยง
อ่ำนออกเสี ยง
อ่ำนออกเสี ยง อ่ำนออกเสี ยง สะกดคำ
สะกดคำ
อ่ำนออกเสี ยง สะกดคำ สะกดคำ ได้นอ้ ยมำก
ได้นอ้ ย
สะกดคำ ได้เกือบทุกคำ ได้ปำนกลำง (ผิดเกือบ
(ผิด 16-20 คำ)
ได้ทุกคำ (ผิด 1-5 คำ) (ผิด 6-15 คำ) ทั้งหมด)
ตะกุกตะกัก
อย่ำงคล่องแคล่ว ค่อนข้ำง ตะกุกตะกัก ช้ำมำก
ต้องเทียบเสี ยง
คล่องแคล่ว พอสมควร ต้องเทียบเสี ยง
แต่ละเสี ยง
แต่ละเสี ยง

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


บทที่ 1
เสี ยงพยัญชนะเดีย่ ว (Consonant)
เสี ยงพยัญชนะซ้ อน (Double Letter)
และพยัญชนะควบกลา้ (Cluster)

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


เสี ยงพยัญชนะเดีย่ ว Consonant

b พยัญชนะคล้ำยเสี ยง บ /b/

bat bed (เตียงนอน) bus

c พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ค /k/

cat corn cup

พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ซ /s/

city (เมือง) circle cereal

d พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ด /d/
dog deer dad

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


เสี ยงพยัญชนะเดีย่ ว Consonant
f พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ฟ /f/

fan fat fish

g พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ก / g/

golf gift goat

พยัญชนะคล้ำยเสี ยง จ /dʒ/ (เสี ยงต่ำ พ่นลมแรงๆ)

giant giraffe

h พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ฮ /h/ และ อ

hair home house

พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ฮ /h/ และ อ


hour (ชั่วโมง) honest (ซื่อสั ตย์ ) honour (เกียรติ)

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


เสี ยงพยัญชนะเดีย่ ว Consonant
j พยัญชนะคล้ำยเสี ยง จ /dʒ/ (เสี ยงต่ำ พ่นลมแรงๆ)
jar jug jeep

พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ค /k/
k

key kid king

และ ก /g/ เมื่อตำมหลัง s


sky ski skirt

และ น /g/ เมื่อนำหน้ำ n


knee knife know

l พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ล /l /

leg log lion

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


เสี ยงพยัญชนะเดีย่ ว Consonant
m พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ม /m /

mat monkey mom

n พยัญชนะคล้ำยเสี ยง น / n/

nest neck nose

p พยัญชนะคล้ำยเสี ยง พ /p/

pan pen pig

พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ป /p/ เมื่อตำมหลัง s


Spray spring spoon

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


เสี ยงพยัญชนะเดีย่ ว Consonant
q พยัญชนะคล้ำยเสี ยงควบกล้ ำ คว /kw/

queen quick (เร็ ว) quiet (เงียบ)

r พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ร /r/ (ห่อปำก ม้วนปลำยลิ้น)

rat rose rice

s พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ซ, ส, ศ, ษ /s/

sock sun seven

เป้ นพยัญชนะนำหน้ำพยัญชนะอื่นๆ

school sleep smile

snake square swim

sketch speak stand

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


เสี ยงพยัญชนะเดีย่ ว Consonant
t พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ท /t/

two tie teeth

พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ต /t/ เมื่อตำมหลัง s


star stamp stone

v พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ว ผสม ฝ /v/


van vet view

w พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ว /w/

wing watch worm

พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ร /r/ เมื่อนำหน้ำ r


wrist write wrong

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


เสี ยงพยัญชนะเดีย่ ว Consonant
x พยัญชนะคล้ำยเสี ยง เอกซ์ /eks/

Xmas tree x-ray

พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ซ, ส, ศ, ษ /s/
Xerox xylophone

พยัญชนะคล้ำยเสี ยง กส์ /ks/ เมื่อเป็ นตัวสะกด


box fox six 6

y พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ย / j/

yes (ใช่) you (คุณ) yellow

พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ซ, ส, ศ, ษ /z/ (เสี ยงสัน่ )


z

zip zebra zero

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


เสี ยงพยัญชนะซ้ อน Double Letter

ch พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ช (สั้นๆ) /tʃ/


chick (ลูกไก่) chicken (คำง) chin

sh พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ช (ไล่ ไก่ ยาวๆ) /ʃ/


shoe ship (เรื อ) sheep (แกะ)

พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ท /θ/ ปลำยลิ้นแตะฟันบนและ


th
ล่ำง แล้วหดลิน้ กลับ พร้อมปล่อยลมออกมำ
thin (ผอม) thank (ขอบคุณ) think (คิด)

พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ท /ð/ ปลำยลิ้นแตะฟันบนและล่ำง


th
เติมไม้ เอกในใจ แล้วหดลิ้นกลับ พร้อมปล่อยลมออกมำ
this (นี้ ) these (เหล่ำนี้ ) they (พวกเขำ)

ph พยัญชนะคล้ำยเสี ยง ฟ / f/
phone photo (รู ปถ่ำย) dolphin

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


เสี ยงพยัญชนะควบกลา้ Cluster
ควบกลา้ ด้ วยพยัญชนะ l (ล)

bl พยัญชนะควบกล้ ำ คล้ำยเสี ยง บล /b//l/


black blue

cl พยัญชนะควบกล้ ำ คล้ำยเสี ยง คล /k//l/


clock clip

fl พยัญชนะควบกล้ ำ คล้ำยเสี ยง ฟล /f//l/


flag flower

gl พยัญชนะควบกล้ ำ คล้ำยเสี ยง กล /g//l/


glove glass

pl พยัญชนะควบกล้ ำ คล้ำยเสี ยง พล /p//l/


plane plug

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


เสี ยงพยัญชนะควบกลา้ Cluster
ควบกลา้ ด้ วยพยัญชนะ r (ร)
br พยัญชนะคล้ำยควบกล้ ำ เสี ยง บร /b//r/
brown brush

cr พยัญชนะควบกล้ ำ คล้ำยเสี ยง คร /k//r/


crab cry

dr พยัญชนะควบกล้ ำ คล้ำยเสี ยง ดร /d//r/


dress drum

fr พยัญชนะควบกล้ ำ คล้ำยเสี ยง ฟร /f//r/


frog fruit

gr พยัญชนะคล้ำยควบกล้ ำ เสี ยง คร /g//r/


grape green

pr พยัญชนะควบกล้ ำ คล้ำยเสี ยง พร /p//r/


price pray

tr พยัญชนะควบกล้ ำ คล้ำยเสี ยง ทร /t//r/


train truck
วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ
แบบทดสอบท้ ายบทเรียนที่ 1
เรื่อง การอ่ านออกเสี ยงพยัญชนะ
คาสั่ ง : ให้นกั เรี ยนอ่ำนออกเสี ยงพยัญชนะต่อไปนี้
ให้ถูกต้องตำมหลักกำรอ่ำน

1. g 11. r 21. f
2. y 12. sn 22. p
3. ng 13. c 23. ph
4. l 14. ch 24. v
5. fr 15. t 25. bl
6. b 16. th 26. k
7. s 17. m 27. st
8. sh 18. n 28. d
9. j 19. h 29. z
10. w 20. x 30. q

เกณฑ์ การให้ คะแนน (เต็ม 5 คะแนน)


5 4 3 2 1
อ่ำนออกเสี ยง
อ่ำนออกเสี ยง
อ่ำนออกเสี ยง อ่ำนออกเสี ยง ได้นอ้ ยมำก
ได้นอ้ ย
อ่ำนออกเสี ยงได้ ได้เกือบทุกเสี ยง ได้ปำนกลำง (ผิดเกือบ
(ผิด16-20เสี ยง)
ทุกเสี ยง (ผิด 1-5 เสี ยง) (ผิด 6-15 เสี ยง) ทั้งหมด)
ตะกุกตะกัก
อย่ำงคล่องแคล่ว ค่อนข้ำง ตะกุกตะกัก ช้ำมำก
ต้องเปิ ดดู
คล่องแคล่ว พอสมควร ต้องเปิ ดดู
เนื้อหำด้ำนหน้ำ
เนื้อหำด้ำนหน้ำ

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


บทที่ 2
การอ่ านออกเสี ยงสะกดคา (Phonics)
การออกเสี ยงพยัญชนะท้ ายคา
(final sound)
เสี ยงสระเดีย่ วและสระผสม
(Vowel and Diphthong)

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


การอ่ านออกเสี ยงสะกดคา Phonics
ใช้ ระบบการสะกดคาคล้ ายภาษาไทย ดังนี้
แบบที่ 1 พยัญชนะ - สระ - ตัวสะกด
h - a - t
ฮ - แ - ท
แบบที่ 2 พยัญชนะ - สระ
h - i
ฮ - ไ
แบบที่ 3 สระ - ตัวสะกด (ใช้ อ เป็ นพยัญชนะต้น)
o - n
ออ - น

การออกเสี ยงพยัญชนะท้ ายคา


(final sound)
เช่น
cat อ่ำนว่ำ แคท – ทึ (ออกเสี ยง ทึ เบำๆ)
best อ่ำนว่ำ เบส – สึ – ทึ (ออกเสี ยง สึ - ทึ เบำๆ)
back อ่ำนว่ำ แบ็ค – คึ (ออกเสี ยง คึ เบำๆ)

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


เสี ยงสระเดีย่ ว Vowel
และสระผสม Diphthong

a เสียงสระ (ออกเสี ยงสระได้หลำกหลำย)


เสียงสระเดีย่ ว

แอะ /æ/ bat rat cat

อา /a:/ arm car jar

ออ /ɔ:/ wall ball tall

เออะ /ə/ about (เกี่ยวกับ) around (รอบๆ)

เสียงสระผสม

เออิ cake day nail


หรื อ เอ /eI/

เอเออะ pair (คู่) hair chair


หรื อ แอ /eə/

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


เสี ยงสระเดีย่ ว Vowel
และสระผสม Diphthong

e เสียงสระ (ออกเสี ยงได้หลำกหลำย)

เสียงสระเดีย่ ว

เอะ /e/ egg (ไข่) hen (แม่ไก่) ten

อี /i:/ tea tree three

เออ /ɜ:/ earth (โลก) search learn (เรี ยนรู ้)

เสียงสระผสม

อีเออะ
ear (หู) hear (ได้ยน
ิ ) deer
หรื อ เอีย /Iə/

อาอิ
eye
หรื อ อาย /aI/

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


เสี ยงสระเดีย่ ว Vowel
และสระผสม Diphthong

i เสียงสระ (ออกเสี ยงได้หลำกหลำย)

เสียงสระเดีย่ ว

อิ /I/ in (ใน) bin pin

เออ /ɜ:/ first bird (เกิด) birth (อันดับแรก)

เสียงสระผสม

อาอิ
ice five 5 kite
หรื อ อาย /aI/

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


เสี ยงสระเดีย่ ว Vowel
และสระผสม Diphthong

o เสียงสระ (ออกเสี ยงได้หลำกหลำย)


เสียงสระเดีย่ ว

เอาะ /ɒ/ Ox fox ( rock (ล็อค)

ออ / ɔ:/ door (ประตู) song fork

อุ /Ʊ/ cook book look

อู /u:/ moon root boot

อะ /ʌ/ one 1 mom son

เสียงสระผสม
อาอุ
cow owl down
หรื อ อาว /aƱ/

เออะอุ
bow cold go (ไป)
หรื อ โอ /əƱ/

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


เสี ยงสระเดีย่ ว Vowel
และสระผสม Diphthong

u เสียงสระ (ออกเสี ยงได้หลำกหลำย)

เสียงสระเดีย่ ว

อุ /Ʊ/ Full (เต็ม, อิ่ม) pull push

อะ /ʌ/ run sun gun

เออ /ɜ:/ nurse purse hurt

อู /u:/ June (มิถุนำยน) juice fruit

ยู /ju:/ use (ใช้) uniform unicorn

เสียงสระผสม
อุเออะ pure (บริ สุทธิ์ ) cure (บำบัด, รักษำ) lure (เหยือ่ ล่อ)
หรื อ อุว /Ʊə/

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


เสี ยงสระเดีย่ ว Vowel
และสระผสม Diphthong

y เป็ นได้ ท้ังเสียงพยัญชนะและเสียงสระ (ออกเสียงได้ หลากหลาย)

เสียงสระเดีย่ ว

อิ /I/ lady baby jelly

เสียงสระผสม

อาอิ
shy my (ของฉัน) bye
หรื อ อาย /aI/

อออิ
toy joy soy
หรื อ ออย /ɔI/

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


แบบทดสอบท้ ายบทเรียนที่ 2
เรื่อง การอ่ านออกเสี ยงสะกดคา
คาสั่ ง : ให้นกั เรี ยนอ่ำนออกเสี ยงสะกดคำต่อไปนี้
ให้ถูกต้องตำมหลักกำรอ่ำน

1. fan 11. eye 21. phone


2. bar 12. wing 22. full
3. hall 13. skirt 23. duck
4. cake 14. life 24. nurse
5. about 15. box 25. June
6. chair 16. door 26. use
7. shell 17. foot 27. lady
8. bee 18. room 28. cry
9. learn 19. son 29. boy
10. year 20. brown 30. thank

เกณฑ์ การให้ คะแนน (เต็ม 5 คะแนน)


5 4 3 2 1
อ่ำนออกเสี ยง
อ่ำนออกเสี ยง
อ่ำนออกเสี ยง อ่ำนออกเสี ยง สะกดคำ
สะกดคำ
อ่ำนออกเสี ยง สะกดคำ สะกดคำ ได้นอ้ ยมำก
ได้นอ้ ย
สะกดคำ ได้เกือบทุกคำ ได้ปำนกลำง (ผิดเกือบ
(ผิด 16-20 คำ)
ได้ทุกคำ (ผิด 1-5 คำ) (ผิด 6-15 คำ) ทั้งหมด)
ตะกุกตะกัก
อย่ำงคล่องแคล่ว ค่อนข้ำง ตะกุกตะกัก ช้ำมำก
ต้องเทียบเสี ยง
คล่องแคล่ว พอสมควร ต้องเทียบเสี ยง
แต่ละเสี ยง
แต่ละเสี ยง

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


บทที่ 3
การลงเสี ยงเน้ นหนักในคา
(Stress)

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


การลงเสี ยงเน้ นหนักในคา (Stress)
คำศัพท์ภำษำอังกฤษตั้งแต่ 2 พยำงค์ข้ ึนไป
จะมีกำรลงเสี ยงเน้นหนักในตำแหน่งที่แตกต่ำงกัน
หำกเรำเน้นผิดที่ ควำมหมำยก็จะเปลี่ยนไป
ทั้งนี้ เรำจะทรำบตำแหน่งเน้นหนักในคำได้โดย
กำรค้นคว้ำจำก Dictionary/อินเตอร์เน็ต
หรื อสอบถำมจำกผูร้ ู้/เจ้ำของภำษำ

คำบำงคำ (โดยเฉพำะคำนำม) เน้ นหนักที่พยางค์ แรก


'present 'record (เทปบันทึก)
'pencil 'ruler

คำบำงคำ (โดยเฉพำะคำกริ ยำ) เน้ นหนักที่พยางค์ หลัง


pre'sent (นำเสนอ) re'cord (บันทึก)
gui‘tar bal‘loon

คำที่มำกกว่ำ 2 พยำงค์ ตาแหน่ งการลงเสี ยงเน้ นหนักจะ


แตกต่ างกันไป
‘coconut tech‘nology (เทคโนโลยี)
ba'nana compre’hend (เข้ำใจ)

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


แบบทดสอบท้ ายบทเรียนที่ 3
เรื่อง การลงเสี ยงเน้ นหนักในคา
คาสั่ ง : ให้นกั เรี ยนอ่ำนออกเสี ยงคำต่อไปนี้
โดยลงเสี ยงเน้นหนักให้ถูกต้องเหมำะสม

bal'loon 'coconut 'pencil

'ruler tech'nology

gui'tar 'present re'cord

ba'nana s'tudent

เกณฑ์ การให้ คะแนน (เต็ม 5 คะแนน)


5 4 3 2 1
ลงเสี ยงเน้นหนัก ลงเสี ยงเน้นหนัก ลงเสี ยงเน้นหนัก
ลงเสี ยงเน้นหนัก
ลงเสี ยงเน้นหนัก ในคำได้ ในคำได้ ในคำได้
ในคำได้
ในคำได้ เกือบทุกคำ ปำนกลำง น้อยมำก
น้อย
ทุกคำ (ผิด 1-2 คำ) (ผิด 3-5 คำ) (ผิดเกือบ
(ผิด 6-7 คำ)
อย่ำงคล่องแคล่ว ค่อนข้ำง ตะกุกตะกัก ทั้งหมด)
ช้ำ
คล่องแคล่ว พอสมควร ช้ำมำก

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


แบบทดสอบก่ อนเรียน - หลังเรียน
(Pretest - Posttest)
คาสั่ ง : ให้นกั เรี ยนอ่ำนออกเสี ยงสะกดคำต่อไปนี้
ให้ถูกต้องตำมหลักกำรอ่ำน
1. hat 11. eye 21. photo
2. yard 12. think 22. put
3. call 13. birth 23. run
4. shake 14. mind 24. fur
5. around 15. fog 25. July
6. fair 16. floor 26. unit
7. net 17. cook 27. baby
8. flee 18. zoo 28. by
9. search 19. one 29. toy
10. clear 20. wow 30. this

เกณฑ์ การให้ คะแนน (เต็ม 5 คะแนน)


5 4 3 2 1
อ่ำนออกเสี ยง
อ่ำนออกเสี ยง
อ่ำนออกเสี ยง อ่ำนออกเสี ยง สะกดคำ
สะกดคำ
อ่ำนออกเสี ยง สะกดคำ สะกดคำ ได้นอ้ ยมำก
ได้นอ้ ย
สะกดคำ ได้เกือบทุกคำ ได้ปำนกลำง (ผิดเกือบ
(ผิด 16-20 คำ)
ได้ทุกคำ (ผิด 1-5 คำ) (ผิด 6-15 คำ) ทั้งหมด)
ตะกุกตะกัก
อย่ำงคล่องแคล่ว ค่อนข้ำง ตะกุกตะกัก ช้ำมำก
ต้องเทียบเสี ยง
คล่องแคล่ว พอสมควร ต้องเทียบเสี ยง
แต่ละเสี ยง
แต่ละเสี ยง

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


แบบประเมินสาหรับครู

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


แบบบันทึกการทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน
เรื่องการอ่านออกเสียงสะกดคา ชั้น ......................................
คะแนน คะแนน ผลต่ างของ
ที่ ชื่อ - สกุล ก่อนเรียน ร้ อยละ หลังเรียน ร้ อยละ ค่ าคะแนน ร้ อยละ
(5) (5) (5)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
1
1
1
1
4
5
6
1
1
1
2
2
2

เฉลีย่

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


แบบบันทึกการทดสอบท้ายบทเรียน
เรื่องการอ่านออกเสียงสะกดคา ชั้น ......................................
คะแนนท้าย คะแนนท้าย คะแนนท้าย
เฉลีย่
ที่ ชื่อ - สกุล บทเรียนที่ 1 ร้ อยละ บทเรียนที่ 2 ร้ อยละ บทเรียนที่ 3 ร้ อยละ ร้ อยละ
(5)
(5) (5) (5)

เฉลีย่

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


แบบบันทึกการสังเกต
เรื่องการอ่านออกเสียงสะกดคา ชั้น ......................................

ประเด็นทีส่ ั งเกต ความสาเร็จ ปัญหา / อุปสรรค ข้ อเสนอแนะ

กำรอ่ำนออกเสี ยงพยัญชนะ
ภำษำอังกฤษ

กำรอ่ำนออกเสี ยงสะกดคำ
จำกเสี ยงสระแต่ละชุด

กำรออกเสี ยง
เน้นหนักในคำ

พฤติกรรมนักเรี ยนโดยรวม

วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรี ยนในฝั น - นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


73

รายชื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
74

รายชื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย

นางสาววิจิตรา บุษบา
วุฒิการศึกษา วุฒิการศึกษา ค.ม. (นิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสู ตร)
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ โรงเรี ยนบ้านหนองหญ้าไซ อาเภอเมือง
จังหวัดเลย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลยเขต 1

นางเยาวภา พิลาคุณ
วุฒิการศึกษา ศศ.ม. (ภาษาอังกฤษ)
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ โรงเรี ยนชุมชนบ้านปากห้วย อาเภอท่าลี่
จังหวัดเลย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลยเขต 1

นางสาวดวงสุ ดา สุ ปมา
วุฒิการศึกษา ศศ.ม. (ภาษาอังกฤษ)
ตาแหน่ง ครู โรงเรี ยนเลยพิทยาคม อาเภอเมือง จังหวัดเลย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษาเขต 19
75

ประวัติผู้วจิ ัย

ชื่อ – สกุล นางสรี ยาภรณ์ นนทะปะ


วัน เดือน ปี เกิด 2 มีนาคม 2528
สถานทีเ่ กิด อาเภอเมือง จังหวัดเลย
สถานทีอ่ ยู่ปัจจุบัน 71 หมู่ 8 ตาบลเมือง อาเภอเมือง จังหวัดเลย 42000
ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2536 ประถมศึกษา โรงเรี ยนชุมชนบ้านกาเนิดเพชร จังหวัดเลย
พ.ศ. 2543 มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรี ยนเลยพิทยาคม จังหวัดเลย
พ.ศ. 2546 มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนเลยพิทยาคม จังหวัดเลย
พ.ศ. 2552 ปริ ญญาครุ ศาสตรบัณฑิต (ค.บ. ภาษาอังกฤษ)
มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย จังหวัดเลย
ตาแหน่ งปัจจุบัน ครู
สถานทีท่ างานปัจจุบัน โรงเรี ยนบ้านน้ าแคม อาเภอท่าลี่ จังหวัดเลย

You might also like