You are on page 1of 16

รายงานการวิจัยในชัน

้ เรียน
เรื่อง

การศึกษาผลการพัฒนาความสามารถในการแต่งประโยค
ภาษาอังกฤษ
โดยการใช้ส่ อ
ื บัตรภาพและแถบประโยคของนักเรียน
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 1/5
โรงเรียนดาราวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่

นางสาววราสินี เพิ่มทัน
จิตต์
กลุ่มศาสตร์ภาษาต่างประเทศ แผนกประถมศึกษาปี ที่ 1-3
โรงเรียนดาราวิทยาลัย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
มีนาคม 2565

การศึกษาผลการพัฒนาความสามารถในการแต่งประโยคภาษาอังกฤษ
โดยการใช้ส่ อ
ื บัตรภาพและแถบประโยคของนักเรียนชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่
1/7

นางสาววราสินี เพิ่มทันจิตต์
คณะกรรมการตรวจสอบงานวิจัยในชัน
้ เรียน

............................................................................... หัวหน้ากลุ่มศาสตร์ภาษาต่าง

ประเทศ

(นางสาวธนันพัชญ์ ณรัตน์ภูวนนท์)

................................................................................ หัวหน้าแผนกประถม

ศึกษาปี ที่ 1 - 3

(ดร.ปนัดดา ปั ญฏีกา)

................................................................................ ฝ่ ายงานวิจัย

(ดร.พิพัฒน์พงศ์ มาศิริ)

................................................................................. รอง ผู้อ ำนวยก ารฝ่ าย

วิชาการ

(นางสาวเสาวลักษณ์ ดีแก้ว)
................................................................................. ผู้จัดการ - ผู้อำนวยการ

(ดร.ชวนพิศ เลีย
้ งประไพพันธ์)

สารบัญ

หน้า

การสะท้อนความคิดเห็นก่อนการปฏิบัติการ
1
การวางแผนเพื่อการปฏิบัติการ
1
การปฏิบัติการ
2
ผลการปฏิบัติการ 2
การสะท้อนความคิดเห็นหลังการปฏิบัติการ
2
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ชื่อเรื่องงานวิจัย การศึกษาผลการพัฒนาความสามารถในการแต่ง
ประโยคภาษาอังกฤษ
โดยการใช้ส่ อ
ื บัตรภาพและแถบประโยคของ
นักเรียนชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 1/7
ชื่อผู้วิจัย: นางสาววราสินี เพิ่มทันจิตต์

สังกัด: แผนกประถมศึกษาปี ที่ 1-3 โรงเรียนดารา


วิทยาลัย

รูปแบบงานวิจัย: งานวิจัยเชิงทดลอง

ระยะเวลาที่ทำวิจัย: ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564

1. การสะท้อนความคิดเห็นก่อนการปฏิบัติการ (Initial
Reflection)
ครูผู้สอนภาษาอังกฤษชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 1 พบว่านักเรียนชัน
้ ป.1/5 มี
คะแนนก่อนเรียนน้อยและเมื่อได้
เรียนภาษาอังกฤษหน่วย Family เรื่อง Jobs ไปแล้วสักระยะนักเรียนยังจำรูป
แบบประโยคไม่ค่อยได้และทำแบบฝึ กหัด
ไม่ค่อยถูกต้อง ครูผู้สอนจึงหาวิธีทางแก้ไขโดยเริ่มจากการสังเกตการแต่งประโยค
การสนทนาในห้องเรียน จากนัน
้ ครูผู้สอนจึงทดสอบโดยการให้นักเรียนฝึ กแต่ง
ประโยค และสนทนาประโยคที่เกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน พบว่านักเรียนส่วนมากยัง
ไม่สามารถจดจำประโยคได้มากนักครูผู้สอนจึงเริ่มใช้บัตรภาพ และแถบประโยค
เข้ามาเป็ นตัวช่วยในการพัฒนาการจดจำประโยคของนักเรียนเพราะนักเรียนใน
วัยนีจ
้ ะให้ความสนใจกับสิ่งแปลกใหม่มากกว่าโดยครูผู้สอนใช้วิธีการให้นักเรียน
ฝึ กแต่งประโยคจากบัตรภาพก่อน จากนัน
้ นักเรียนฝึ กเรียงประโยคจากแถบ
ประโยคและฝึ กพูดประโยคบ่อยๆทุกๆชั่วโมง ฝึ กทำแบบฝึ กหัดรูปแบบของ
ประโยค เป็ นระยะเวลา 2 อาทิตย์ และใช้เกมและเพลงที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาเข้า
มาแทรกเพื่อนักเรียนจะไม่ได้เกิดอาการเบื่อหน่ายในการเรียน และเพื่อการจดจำ
ที่ดียิ่งขึน

วัตถุประสงค์ของการทำวิจัยในครัง้ นีค
้ ือ
1. เพื่อให้นักเรียนจดจำประโยคได้มากขึน
้ ส่งผลให้นักเรียนทำแบบฝึ กหัดได้ถก

ต้องสามารถแต่งประโยคจาก
ภาพได้อย่างถูกต้อง
ประโยชน์ของการทำวิจัยในครัง้ นีค
้ ือ
1 เนื่องจากนักเรียนไม่ค่อยมีสมาธิในการเรียนครูผู้สอนได้นำเอาสื่อการสอน
เช่น เพลง เกม เข้ามาสอดแทรกในการเรียนการสอนเพื่อเพิ่มความสนใจให้
กับนักเรียน
2. นักเรียนได้ฝึกฝนในการพูดประโยคบ่อยๆนักเรียนจะเกิดการจดจำรูปแบบ
ประโยค สามารถต่อยอดไปใน
เรื่องการตอบคำถามประโยคสนทนาได้

2. การวางแผนเพื่อนการปฏิบัติการ (planning)
ครูผู้สอนได้เริ่มวางแผนในการพัฒนาดังนี ้
2.1 ครูผู้สอนสังเกตจากการทำกิจกรรมในห้องเรียน การสนทนาใน
ห้องเรียนในหัวข้อ Jobs และดูจากแบบฝึ กหัดที่นักเรียนทำ นักเรียนบางคนทำ
ไม่ค่อยได้หรือทำไม่ถูกต้องครูผส
ู้ อนจึงนำเอาสื่อการสอนคือสื่อบัตรภาพและแถบ
ประโยคเข้ามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพราะเห็นว่าสื่อการสอนนี ้
น่าสนใจและเหมาะสมกับวัยของนักเรียน ครูผู้สอนเห็นว่าจะมีประโยชน์กับ
นักเรียนและสามารถช่วยนักเรียนในการจดจำคำศัพท์และรูปแบบประโยค
ได้ นอกเหนือจากนีค
้ รูผู้สอนได้นำแบบฝึ กหัดเสริมให้กับนักเรียนเพื่อเป็ นตัวช่วย
ฝึ กฝนนักเรียนในด้านการแต่งประโยค
2.2 ครูผู้สอนวางแผนการดำเนินการไว้เป็ นเวลา 2 อาทิตย์คือใน
ระหว่างวันที่ 12-23 กันยายน พ.ศ.2565
เพื่อใช้กับนักเรียนชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 1/5 จำนวนทัง้ หมด 41 คน ซึ่ง
เป็ นนักเรียนห้องที่ครูผู้สอนรับผิดชอบสอนในทุกชั่วโมง
2.3 ครูสอนโดยใช้ส่ อ
ื บัตรภาพและแถบประโยคและแบบฝึ กหัดเสริมใน
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2.4 ครูผู้สอนให้นักเรียนทุกคนฝึ ก
แต่งประโยคจากนัน
้ ครูสงั เกต และแก้ไขให้กับนักเรียนเมื่อไม่ถูกต้อง
แล้วบันทึกผลในใบเก็บคะแนน และดูจากการทำแบบฝึ กหัดของ
นักเรียน

3. การปฏิบัติการ (Action)
เมื่อสังเกตแล้วพบว่านักเรียนมียังไม่สามารถจดจำประโยคได้ ครูจึง
ดำเนินการแก้ไขนักเรียนคือ
1. ครูผู้สอนอ่านออกเสียงประโยคที่ถูกต้องแล้วให้นักเรียนอ่าน
ตามโดยอ่านซ้ำคำละ 3-4 รอบจากบัตรภาพและแถบประโยคหลังจาก
นัน
้ ให้นักเรียนฝึ กแต่งประโยคเองโดยวิธีการสุ่มนักเรียน หรืออาสา
สมัครก่อนจากนัน
้ ครูให้นักเรียนทุกคนมีโอกาสในการแต่งประโยค ครูผู้
สอนคอยสังเกตและแก้ไขเมื่อนักเรียนแต่งประโยคไม่ถูกต้อง
2. ให้นักเรียนฝึ กแต่งประโยคโดยครูผู้สอนใช้วิธีการให้เพื่อนช่วย
เพื่อนเพื่อปลูกฝั งคุณธรรมให้กับนักเรียน
3. นักเรียนเล่นเกมที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาเพื่อเป็ นการฝึ กฝนและ
ง่ายต่อการจดจำของเด็กในวัยนี ้
ครูผู้สอนใช้ส่ อ
ื เทคโนโลยีเกม Word Wall จาก Website
www.wordwall.com และเพลงที่เกี่ยวกับ Jobs จาก Youtube เข้ามาแทรก
ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
4. เมื่อนักเรียนฝึ กแต่งประโยคจนคล่องแล้ว นักเรียนแต่ง
ประโยคลงในสมุดของตนเอง

4. ผลการปฏิบัติการ (Observation)
เมื่อครูผู้สอนได้ดำเนินวิธีการแก้ไขดังกล่าวข้างต้นแล้วเป็ นระยะเวลา 2
อาทิตย์ปรากฏว่านักเรียนส่วนใหญ่
1.สามารถจดจำรูปแบบประโยคได้โดยสังเกตจากการแต่งประโยคใน
ห้องเรียน และนักเรียนสามารถทำแบบฝึ กหัดได้ถูกต้อง
2.นักเรียนมีความมั่นใจในการใช้ภาษาและมีความสนุกสนานในการทำ
กิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียน
3.นักเรียนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมต่างๆในห้องเรียน
4.มีคะแนนการแต่งประโยคและคะแนนความสนใจตัง้ ใจในการเรียนอยู่
ในระดับดีมากคืออยู่ในระดับคุณภาพ 3 และ 4 ดังตารางต่อไปนี ้

3
ตารางที่ 4.4.1 แสดงการเก็บคะแนนการประเมินในเรื่องการแต่งประโยคของนักเรียนชัน
้ ประถม
ศึกษาปี ที่ 1/5 ปี การศึกษา 2565

เลขที่ K=2 A=1 P=1 ต 3.1 ป 1/1 (Jobs)


คะแนน คะแนน คะแนน
1 2 4 4
2 2 4 4 เกณฑ์การให้คะแนน

3 1.8 3 3 K ข้อสอบตอนที่ 3 ครัง้ ที่ 1 5 ข้อ x 2 หาร 5 = 2 คะแนน

4 2 4 4
5 2 4 4
6 2 4 4 A มีมารยาทในห้องเรียนตัง้ ใจเรียนทุกชั่วโมงได้ระดับคุณภาพ

7 2 4 4 มีมารยาทในห้องเรียนบางครัง้ ตัง้ ใจเรียนบางชั่วโมงได้ระดับคุณภาพ

8 2 4 4 ไม่ค่อยมีมารยาทในห้องเรียนไม่ค่อยตัง้ ใจเรียนบางชั่วโมงได้ระดับคุณภ

9 1.6 3 3 ไม่มีมารยาทในห้องเรียนไม่ตงั ้ ใจเรียนได้ระดับคุณภาพ 1

10 2 4 4

11 2 4 4 P แต่งประโยค Jobs ได้ถูกต้อง 4 ข้อ ได้ระดับคุณภาพ 4

12 2 4 4 แต่งประโยค Jobs ได้ถูกต้อง 3 ข้อ ได้ระดับคุณภาพ 3

13 2 4 4 แต่งประโยค Jobs ได้ถูกต้อง 2 ข้อ ได้ระดับคุณภาพ 2

14 2 4 4 แต่งประโยค Jobs ได้ถูกต้อง 1 ข้อ ได้ระดับคุณภาพ 1

15 1.8 4 4
16 1.6 3 4
17 2 4 4
18 1.8 4 4
19 2 4 4
20 2 4 4
21 1.6 3 4
22 2 4 4
23 2 4 4
24 2 4 4
25 1.8 4 4
26 2 4 4
27 2 4 4
28 1.8 3 3
29 2 4 4
30 2 4 4
31 1.8 4 4
32 1.8 4 4
33 2 4 4
34 1.6 3 3
35 2 4 4
36 2 4 4
37 2 4 4
38 1.8 4 4
39 1.6 3 3
40 1.6 3 4
41 2 4 4

5. การสะท้อนความคิดเห็นหลังการปฏิบัติการ (Reflection)

5.1 สรุปผลการวิจัย
ผลการวิจัยหลังจากที่ได้ทดลองฝึ กแล้วพบว่านักเรียนร้อยละ 98 สามารถจดจำ
ประโยคและสนทนาโต้ตอบ
ได้อย่างถูกต้องทัง้ อาจเนื่องจากการที่นักเรียนได้รับการฝึ กฝนบ่อยๆจนทำให้
นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจและเกิด
ทักษะในการฟั ง พูด อ่าน และเขียน โดยผ่านสื่อบัตรภาพและแถบประโยค ส่ง
ผลให้นก
ั เรียนจดจำรูปแบบของประโยคได้ สามารถแต่งประโยค และสนทนา
ประโยคที่เกี่ยวกับ Jobs ได้อย่างถูกต้องและมีระดับคะแนนการแต่งประโยค
Jobs อยู่ในระดับคุณภาพ 3 และ 4 เป็ นระดับที่ดีถึงดีมากนอกจากนีน
้ ักเรียนยัง
มีความสนใจในการเรียนตัง้ ใจเรียนซึ่งปรากฏอยู่ในใบเก็บคะแนนการประเมินผล
ครัง้ ที่1 (A)
5.2 การอภิปรายผลการวิจัย
จากการวิจัยผลที่เกิดขึน
้ กับนักเรียนนัน
้ ส่งผลให้นักเรียนเกิดทักษะทางภาษาขึน

โดยจะเห็นได้จากการตอบคำถาม
การแต่งประโยคของนักเรียน นักเรียนสามารถทำกิจกรรมที่กล่าวมาแล้วได้ผลดี
ขึน

คือนักเรียนร้อยละ 98 สามารถจดจำประโยคและสนทนาโต้ตอบได้อย่างถูกต้อง
การใช้ส่ อ
ื บัตรภาพและแถบประโยค
ส่งผลให้นักเรียนจดจำรูปแบบของประโยคได้ สามารถสนทนาและแต่งประโยค
ได้อย่างถูกต้องและมีระดับคะแนนการ
แต่งประโยค Jobs อยู่ในระดับคุณภาพ 3 และ 4 เป็ นระดับที่ดีถึงดีมากดูได้จาก
จากตารางที่ 4.4.1
5.3 ข้อเสนอแนะ
5.3.1 ปั ญหาที่เกิดขึน
้ ในการทำวิจัยในครัง้ นีค
้ ือนักเรียนแต่ละคนมีศักยภาพ
แตกต่างกันทำให้ครูผส
ู้ อนต้อง
คอยสังเกตนักเรียนเป็ นรายบุคคล อย่างใกล้ชิดเพื่อจะทำให้ทราบความสามารถ
แต่ละคน
5.3.2 ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยในครัง้ ต่อไป ครูผส
ู้ อนมีความสนใจคือ
เมื่อนักเรียนจำประโยคได้แล้ว
นักเรียนสามารถต่อยอดเพื่อเป็ นการตอบคำถามจากประโยคสนทนาอย่างง่ายๆ
ในชีวิตประจำวันได้
ลงชื่อ......................................
............ผู้วิจัย

(นางวราสินี เพิ่ม
ทันจิตต์)

ผู้วิจัยควรมีการอ้างอิงเอกสาร งานวิจัย งานเขียนทางวิชาการในการ


เขียนรายงานงานวิจัย เพื่อให้งานวิจัยมีความน่าเชื่อถือ และเป็ นไปตาม
หลักวิชาการ และมีการจัดทำบรรณานุกรมเพื่อให้มีเนื้อหาครบถ้วนตาม
หลักของการเขียนรายงานวิจัย
ภาคผนวก
บรรณานุกรม

รูปภาพสื่อบัตรภาพ
รูปภาพสื่อแถบประโยค

You might also like