You are on page 1of 14

บทที่ 3

วิธีดาเนินการวิจัย

การวิจ ัยครั้ งนี้ เป็ นการวิ จยั เพื่ อพัฒนาทักษะการเขี ยน เรื่ องการใช้แบบฝึ กพัฒนาทักษะ
การเขียนสะกดคาของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 กลุ่มเครื อข่ายโรงเรี ยนทุ่งผึ้ง สานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 มีวตั ถุประสงค์เพื่อหาประสิ ทธิ ภาพของแบบฝึ กทักษะการเขียน
สะกดคาและเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเขียนของนักเรี ยนที่เรี ยนโดยการใช้แบบฝึ กทักษะการเขียน
สะกดคา ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 กลุ่มเครื อข่ายโรงเรี ยนทุ่งผึ้ง ผูว้ ิจยั ได้ดาเนิ นการตามลาดับ
ขั้นตอน ดังนี้

ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง

1. ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ เป็ นนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ที่กาลัง


ศึกษาในภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2559 กลุ่มเครื อข่ายโรงเรี ยนทุ่งผึ้ง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 จานวน 5 โรงเรี ยน คือ โรงเรี ยนบ้านทุ่งผึ้ง โรงเรี ยนบ้านหัวฝาย
โรงเรี ยนแจ้คอนวิทยา โรงเรี ยนบ้านทุ่งฮ้างและโรงเรี ยนบ้านช่อฟ้ า จานวนนักเรี ยนทั้งหมด 132 คน
2. กลุ่ มตัวอย่าง กลุ่ มตัวอย่างที่ ใช้ในการวิจยั ครั้ งนี้ คื อ นักเรี ยนชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 5
ที่กาลังศึกษาอยูใ่ นภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2559 โรงเรี ยนแจ้คอนวิทยา กลุ่มเครื อข่ายโรงเรี ยนทุ่งผึ้ง
อาเภอแจ้ห่ม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 จานวน 30 คน ได้มาโดยวิธีการ
สุ่ มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) ด้วยการสุ่ มอย่างง่าย แบบการเลื อกกลุ่มตัวอย่าง
แบบเจาะจง (Purposive หรื อ Judgemental Random Sampling) เลือกกลุ่มที่ผวู ้ ิจยั เป็ นผูส้ อนภาษาไทย
ให้กลุ่มดังกล่าว

เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย

1 แบบฝึ กทักษะการเขี ยนสะกดค า กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ส าหรั บนักเรี ย น


ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 จานวน 6 แบบฝึ ก
2. แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ผวู ้ จิ ยั ได้สร้างขึ้น จานวน 6 แผน ใช้เวลาสอนแผนละ 2 ชัว่ โมง
61

3. แบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์ ทางการเขี ยนสะกดค า กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย


สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ใช้เป็ นแบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน จานวน 40 ข้อ เป็ น
แบบอัตนัยเขียนสะกดคาตามคาบอก 20 ข้อ และแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ มี 4 ตัวเลือก 20 ข้อ

การสร้ างและการหาคุณภาพของเครื่ องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัย

1. การสร้ างแบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคา กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทยชั้ นประถมศึกษา


ปี ที่ 5
1.1 ขั้นการวิเคราะห์
1.1.1 ศึ กษารายละเอี ยดหลักสู ตรแกนกลางการศึ กษาขั้นพื้ นฐาน พุทธศักราช
2551 หลักสู ตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ตัวชี้ วดั และสาระการเรี ยนรู ้แกนกลาง กลุ่ม
สาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย ของสานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
1.1.2 ศึกษาทฤษฎี หลักการ แนวคิดและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเขียนสะกดคา
การสร้างแบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคา เพื่อเป็ นแนวทางในการจัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอนและ
การสร้างแบบฝึ กทักษะ
1.1.3 ศึกษาคาจากบัญชีคาพื้นฐานของระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ตามหลักสู ตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของกระทรวงศึกษาธิ การ จานวน 1,049 คา ที่นาไปทดสอบกับนักเรี ยน
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ในกลุ่มเครื อข่ายโรงเรี ยนทุ่งผึ้ง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง
เขต 3 จานวน 103 คน ที่นกั เรี ยนเขียนสะกดคาผิดมากที่สุดมาจัดลาดับและหาค่าร้ อยละของคา
ที่นกั เรี ยนเขียนผิดร้อยละ 60 ขึ้นไป จานวน 120 คา และจัดหมวดหมู่ของคาที่นกั เรี ยนเขียนผิด
1.2. ขั้นการออกแบบ
1.2.1 นาคาจากบัญชี คาพื้นฐานที่นกั เรี ยนเขียนสะกดคาผิดมากที่สุดมาจัดลาดับ
และหาค่าร้อยละของคาที่นกั เรี ยนเขียนผิดร้อยละ 60 ขึ้นไป จานวน 120 คา และจัดหมวดหมู่ของคา
ที่นกั เรี ยนเขียนผิด
1.2.2 กาหนดองค์ประกอบของแบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคา กลุ่ มสาระ
การเรี ยนรู้ภาษาไทย ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ให้ครอบคลุมหมวดหมู่ของคา เนื้ อหาและ
จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
1.2.3 สร้างแบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคา ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5
จากคาในบัญชีพ้ืนฐานที่นกั เรี ยนเขียนผิด และนามาจัดหมวดหมู่ จานวน 6 แบบฝึ ก คือ
62

แบบฝึ กชุดที่ 1 คาที่ประวิสรรชนีย ์


แบบฝึ กชุดที่ 2 คาที่ไม่ประวิสรรชนีย ์
แบบฝึ กชุดที่ 3 คาควบกล้ า
แบบฝึ กชุดที่ 4 อักษรนา
แบบฝึ กชุดที่ 5 คาที่มี รร (ร หัน)
แบบฝึ กชุดที่ 6 ตัวการันต์
1.3 ขั้นการพัฒนา
1.3.1 นาแบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคาที่สร้างขึ้นทั้ง 6 ชุด ไปขอรับคาแนะนา
จากอาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์หลักและอาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิ พนธ์ร่วม จากนั้นทาการปรับแบบ
ฝึ กทักษะตามคาแนะนาของอาจารย์ ทั้งความเหมาะสมด้านเนื้ อหา การใช้ภาษา การตั้งคาถามในแต่ละ
กิจกรรม
1.3.2 นาแบบฝึ กทักษะการเขี ยนสะกดค าที่ ปรั บแล้วไปขอรั บค าแนะน าจาก
ผูเ้ ชี่ยวชาญ 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบความถูกต้องด้านเนื้ อหา จุดประสงค์การเรี ยนรู ้ รู ปแบบของบทเรี ยน
ในแต่ละเรื่ อง โดยประเมินความเหมาะสม ข้อเสนอแนะต่างๆ ตามแบบประเมินที่ผวู ้ ิจยั สร้างขึ้นเป็ น
แบบมาตราประเมิน (Rating Scale) 5 ระดับ มีการให้คะแนนดังนี้ (นพพร ธนะชัยขันธ์, 2552 : 8)
คะแนน 5 หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด
คะแนน 4 หมายถึง เหมาะสมมาก
คะแนน 3 หมายถึง เหมาะสมปานกลาง
คะแนน 2 หมายถึง เหมาะสมน้อย
คะแนน 1 หมายถึง เหมาะสมน้อยที่สุด
แล้วนาผลการประเมิ นไปหาค่ าเฉลี่ ย ( X ) และส่ วนเบี่ ยงเบนมาตรฐาน
(S.D.)โดยใช้เกณฑ์ ดังนี้
ค่าเฉลี่ย ความหมาย
4.51 - 5.00 เหมาะสมมากที่สุด
3.51 - 4.50 เหมาะสมมาก
2.51 – 3.50 เหมาะสมปานกลาง
1.51 – 2.50 เหมาะสมน้อย
1.0 – 1.50 เหมาะสมน้อยที่สุด
63

โดยมีเกณฑ์การยอมรับที่ระดับ 3.51 – 5.00 เป็ นเกณฑ์ตดั สิ นการผ่านให้นาไปใช้ได้ ซึ่ ง


ผลการประเมินของผูเ้ ชี่ ยวชาญทั้ง 3 ท่าน ได้ค่าเฉลี่ ย 4.45 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.22 อยู่ในระดับ
เหมาะสมมาก (ภาคผนวก ค)
1.3.3 ทาการปรับปรุ งแก้ไขตามข้อเสนอแนะของผูเ้ ชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่าน
1.4 ขั้นการทดลองใช้
ผูว้ ิจยั ได้นาแบบฝึ กทักษะที่ปรับปรุ งแก้ไขแล้ว มาจัดพิมพ์เพื่อนาไปทดลองกับ
นักเรี ยนที่ไม่ใช่ กลุ่ มตัวอย่าง เพื่อศึ กษาประสิ ทธิ ภาพและบันทึกขอบกพร่ องที่ พบ โดยแบ่งเป็ น
3 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 ทดลองหาประสิ ทธิ ภาพแบบหนึ่ งต่อหนึ่ ง (One to One Testing)
ทดลองกับนักเรี ยนจานวน 3 คน ซึ่ งเป็ นนักเรี ยนที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย
อยู่ในระดับสู ง ปานกลาง และต่า ระดับละ 1 คน เป็ นนัก เรี ย นชั้นประถมศึ ก ษาปี ที่ 5 โรงเรี ย น
บ้านทุ่งฮ้าง กลุ่มเครื อข่ายโรงเรี ยนทุ่งผึ้ง สานักงานเขตพื้นที่การศึ กษาประถมศึ กษาลาปาง เขต 3
ที่เรี ย นในภาคเรี ย นที่ 2 ปี การศึ ก ษา 2559 แล้วนามาหาค่า ประสิ ท ธิ ภาพของแบบฝึ กทัก ษะได้
ค่าประสิ ทธิ ภาพ เท่ากับ 86.67/91.67 (ภาคผนวก) และได้นาข้อเสนอแนะของกลุ่ มทดลองดังกล่ าว
มาปรับปรุ งแก้ไข ก่อนนาไปใช้ กับกลุ่มทดลองแบบกลุ่มเล็กต่อไป
ขั้นตอนที่ 2 ทดลองหาประสิ ทธิ ภาพแบบกลุ่มเล็ก (Small Group Testing) ทดลองกับ
นักเรี ยน จานวน 10 คน ซึ่ งเป็ นนักเรี ยนที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทยอยู่
ในระดับสู ง จานวน 3 คน ระดับปานกลาง จานวน 4 คน และระดับต่า จานวน 3 คน เป็ นนักเรี ยน
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรี ยนบ้านหัวฝาย กลุ่มเครื อข่ายโรงเรี ยนทุ่งผึ้ง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ที่เรี ยนในภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2559 แล้วนามาหาค่าประสิ ทธิ ภาพของ
แบบฝึ กทักษะ ได้ค่าประสิ ทธิ ภาพ เท่ากับ 86.93/91.00 (ภาคผนวก ข) และนาข้อเสนอแนะของกลุ่มทดลอง
ดังกล่าว มาปรับปรุ ง แก้ไข ก่อนนาไปใช้กบั กลุ่มทดลองแบบกลุ่มใหญ่ต่อไป
ขั้นตอนที่ 3 ทดลองหาประสิ ทธิ ภาพแบบกลุ่มใหญ่ โดยทดลองกับนักเรี ยนจานวน
20 คน ที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนคละกัน เป็ นนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรี ยนบ้านทุ่งผึ้ง กลุ่ม
เครื อข่าย โรงเรี ยนทุ่งผึ้ง การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ที่เรี ยนในภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2559 ใช้
ร่ วมกับ แผนการจัดการเรี ยนรู ้โดยทดลองนอกเวลาเรี ยนตั้งแต่เวลา 15.00 - 16.00 น. จานวน 12 ชัว่ โมง
เป็ นเวลา 3 สัปดาห์ เริ่ มด้วยการทดสอบก่อนเรี ยนด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนฉบับ
ก่อนเรี ยนที่สร้างไว้ ดาเนิ นการจัดการเรี ยนรู ้ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่สร้างขึ้น จากนั้นทดสอบหลัง
เรี ยนโดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ หลังเรี ยน หลังจากนั้นจึงนาผล การทดลองมาหาค่าประสิ ทธิ ภาพ
64

ได้ค่าประสิ ทธิ ภาพ เท่ากับ 85.83/89.63 (ภาคผนวก ข) ซึ่ งสู งกว่าเกณฑ์ที่กาหนด 80/80 จึงนาไปทดลอง
ใช้ในการวิจยั ต่อไป
1.5 ขั้นการประเมินผล
นาแบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคาที่มีประสิ ทธิ ภาพแล้ว ไปใช้กบั กลุ่มตัวอย่าง
จานวน 30 คน ซึ่ งได้มาโดยการสุ่ มแบบเจาะจง ต่อไป
2. การสร้ างแผนการจัดการเรี ยนรู้ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย โดยใช้ แบบฝึ กทักษะ
การเขียนสะกดคา ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5
2.1 ขั้นการวิเคราะห์
2.1.1 ศึกษารายละเอียดหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสู ตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ศึกษาตัวชี้ วดั และสาระการเรี ยนรู ้แกนกลางกลุ่ม
สาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย ของสานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
2.1.2 วิเคราะห์ ตวั ชี้ วดั และสาระการเรี ยนรู ้ แกนกลางกลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้
ภาษาไทยเพื่อเป็ นแนวทางในการกาหนดจุดประสงค์การเรี ยนรู ้
2.1.3 ศึกษาขั้นตอนการจัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู ้ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย
2.2 ขั้นการออกแบบ
2.2.1 ศึกษาวิธีการสร้ างแผนการจัดการเรี ยนรู้ รวมทั้งองค์ประกอบของแผน
การจัดการเรี ยนรู ้ที่เหมาะสมกับผูเ้ รี ยนและกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย
2.2.2 ผูว้ ิจยั ออกแบบแผนการจัดการเรี ยนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคา
โดยใช้แบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคา ซึ่ งยึดตามลาดับความยากของแบบฝึ กแต่ละชุ ดที่ครอบคลุมคา
ที่นกั เรี ยนเขียนผิดและคานึงถึงความสอดคล้องกับหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 และหลักสู ตรสถานศึกษา
2.2.3 ผูว้ จิ ยั สร้างแผนการจัดการเรี ยนรู้ 6 แผน 12 ชัว่ โมง ดังต่อไปนี้
แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 1 การเขียนคาที่ประวิสรรชนีย ์
แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 2 การเขียนคาที่ไม่ประวิสรรชนีย ์
แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 3 การเขียนคาควบกล้ า
แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 4 การเขียนคาอักษรนา
แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 5 การเขียนคาที่มี รร (ร หัน)
แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 6 การเขียนคาที่มีตวั การันต์
65

2.3 ขั้นการพัฒนา
2.3.1 นาแผนการจัดการเรี ย นรู ้ ท้ งั 6 แผน ไปขอรับคาแนะนาจากอาจารย์
ที่ปรึ กษาวิทยานิ พนธ์หลักและอาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิ พนธ์ร่วม จากนั้นทาการปรับแผนการจัดการ
เรี ยนรู ้ตามคาแนะนาของอาจารย์ท้ งั ความเหมาะสมด้านเวลา กิจกรรมการเรี ยนการสอน การใช้ภาษา
ในการเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้ การตั้งคาถามในกิจกรรมและใบงาน
2.3.2 นาแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ผวู้ ิจยั ปรับปรุ งแล้ว ไปเสนอต่อผูเ้ ชี่ ยวชาญทั้ง 3
ท่านเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ความเหมาะสม โดยออกแบบประเมินแผนการจัดการเรี ยนรู้ให้ครอบคลุม
เนื้ อหา กิจกรรม และการวัดผลและประเมินผลโดยใช้มาตรา การประเมิน (Rating Scale) 5 ระดับ
มีการให้คะแนน ดังนี้
คะแนน 5 หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด
คะแนน 4 หมายถึง เหมาะสมมาก
คะแนน 3 หมายถึง เหมาะสมปานกลาง
คะแนน 2 หมายถึง เหมาะสมน้อย
คะแนน 1 หมายถึง เหมาะสมน้อยที่สุด
แล้วนาผลการประเมิ นไปหาค่ าเฉลี่ ย ( X ) และส่ วนเบี่ ยงเบนมาตรฐาน
(S.D.)โดยใช้เกณฑ์ ดังนี้
ค่าเฉลี่ย ความหมาย
4.51 - 5.00 เหมาะสมมากที่สุด
3.51 - 4.50 เหมาะสมมาก
2.51 – 3.50 เหมาะสมปานกลาง
1.51 – 2.50 เหมาะสมน้อย
1.00 – 1.50 เหมาะสมน้อยที่สุด
โดยมีเกณฑ์การยอมรับที่ระดับ 3.51 – 5.00 เป็ นเกณฑ์ตดั สิ นการผ่านให้
นาไปใช้ได้ ซึ่ งผลการประเมินของผูเ้ ชี่ ยวชาญทั้ง 3 ท่านได้ค่าเฉลี่ย 4.17 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.43
อยูใ่ นระดับเหมาะสมมาก (ภาคผนวก ค)
2.3.3 นาแผนการจัดการเรี ยนรู้ มาปรับปรุ ง แก้ไขตามคาแนะนาของผูเ้ ชี่ ยวชาญ
ก่อนนาไปใช้
2.4. ขั้นการทดลองใช้
ผูว้ ิจยั นาแผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่ปรับปรุ งแก้ไขเรี ยบร้ อยแล้วไปทดลองใช้ก ับ
นักเรี ยนกลุ่มใหญ่ ซึ่ งเป็ นนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรี ยนบ้านทุ่งผึ้ง กลุ่มเครื อข่ายโรงเรี ยนทุ่ง
66

ผึ้ง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ที่เรี ยนในภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2559


จานวน 20 คน แล้วนามาปรั บปรุ งแก้ไขให้เป็ นแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ฉบับสมบูรณ์ เสนอต่อผูบ้ ริ หาร
สถานศึกษา เพื่อขออนุมตั ิการนาไปใช้ต่อไป
2.5 ขั้นการประเมินผล
นาแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ที่ปรับปรุ งแก้ไข และทดลองใช้เรี ยบร้ อยแล้วโดยผ่าน
การอนุมตั ิจากผูบ้ ริ หารสถานศึกษา ให้นาไปใช้จดั การเรี ยนรู ้พร้อมกับแบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคา
กับกลุ่มตัวอย่าง ซึ่ งเป็ นนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรี ยนแจ้คอนวิทยา กลุ่มเครื อข่ายโรงเรี ยน
ทุ่งผึ้ง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 จานวน 30 คน
3. การสร้ างแบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์ทางการเรี ยน เรื่ องการเขียนสะกดคา กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ ภาษาไทย
แบบทดสอบที่ใช้วดั ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนกลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้
ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 เรื่ อง การเขียนสะกดคา จานวน 40 ข้อ โดยแบบทดสอบมี 2 ตอน คือ
ตอนที่ 1 แบบอัตนัย เขียนตามคาบอก 20 ข้อ และตอนที่ 2 แบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก
จานวน 20 ข้อ ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการดังนี้
ตอนที่ 1 แบบอัตนัยเขียนตามคาบอก
1. ขั้นการวิเคราะห์
1.1 ศึ กษารายละเอี ยดหลักสู ตรแกนกลางการศึ กษาขั้นพื้ นฐาน พุ ทธศักราช 2551
ศึ กษาตัวชี้ วดั และสาระการเรี ยนรู ้ แกนกลางกลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ของสานักวิชาการและ
มาตรฐานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
1.2 วิเคราะห์ หลักสู ตรด้านเนื้ อหา ศึ กษา แนวทางการเขี ยนข้อสอบภาษาไทยและ
ทฤษฎีการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
2. ขั้นการออกแบบ
2.1 สร้ างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรื่ องการเขียนสะกดคา แบบอัตนัย
เขียนตามคาบอก จานวน 30 ข้อ เพื่อเลือกแบบทดสอบที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ไว้ 20 ข้อ
3. ขั้นการพัฒนา
3.1 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรื่ องการเขี ยนสะกดคา แบบอัตนัย
เขียนตามคาบอก ที่สร้างขึ้นเสนออาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิ พนธ์เพ่อพิจารณาความถูกต้องเหมาะสมแล้ว
ปรับปรุ งแก้ไข
3.2 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรื่ องการเขียนสะกดคา แบบอัตนัย
เขียนตามคาบอกที่ปรับปรุ งตามคาแนะนาของอาจารย์ที่ปรึ กษาแล้วเสนอต่อผูเ้ ชี่ ยวชาญเพื่อตรวจสอบ
67

ความถูกต้อง สมบูรณ์ของเนื้ อหา โดยให้ผเู ้ ชี่ ยวชาญประเมินความสอดคล้องเชิ งเนื้ อหากับจุดประสงค์


หาค่าดัชนี ความสอดคล้อง (Index 0f Item Objective Congruence: IOC) จากความคิดเห็นของผูเ้ ชี่ ยวชาญทั้ง
3 คน โดยกาหนด คะแนนความคิดเห็น ดังนี้
+1 หมายถึง แน่ใจว่าข้อสอบวัดจุดประสงค์ขอ้ นั้น
0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าข้อสอบวัดจุดประสงค์ขอ้ นั้น
-1 หมายถึง แน่ใจว่าข้อสอบไม่วดั จุดประสงค์ขอ้ นั้น
3.3 บันทึกผลการพิจารณาลงความเห็นของผูเ้ ชี่ ยวชาญแต่ละท่านในแต่ละข้อ แล้วหา
ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผูเ้ ชี่ ยวชาญทั้งหมดเป็ นรายข้อ พิจารณาคัดเลือกเฉพาะข้อที่มีค่า IOC
ตั้งแต่ 0.5 - 1.00 พบว่าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรื่ องการเขี ยนสะกดค า แบบอัตนัย
เขียนตามคาบอกมีค่า IOC มีค่าตั้งแต่ 0.8-1.00 เป็ นข้อสอบที่อยูใ่ นเกณฑ์ที่ใช้ได้ จึงคัดเลือกเฉพาะข้อ
ที่มีค่า IOC ดีที่สุด เรี ยงลงมา 20 ข้อ (ดังรายละเอียดในภาคผนวก ค หน้า 102)
4. ขั้นการทดลองใช้
ปรับปรุ งแก้ไขตามผูเ้ ชี่ยวชาญแนะนา แล้วนาไปทดลองใช้กบั ทดลองกลุ่ม 1:1 กลุ่มเล็ก
และกลุ่มใหญ่ เพื่อหาประสิ ทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) ของการใช้แบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคาต่อไป
5. ขั้นการประเมินผล
นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรื่ องการเขียนสะกดคา แบบอัตนัยเขียน
ตามค าบอก ไปรวมกับแบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ยนเรื่ องการเขี ยนสะกดค า ตอนที่ 2
เพื่อนาไปใช้กบั กลุ่มตัวอย่างตามวัตถุประสงค์ต่อไป
ตอนที่ 2 แบบปรนัยเลือกตอบ 4 ตัวเลือก
1. ขั้นการวิเคราะห์
1.1 ศึ กษารายละเอี ยดหลักสู ตรแกนกลางการศึ กษาขั้นพื้ นฐาน พุ ทธศักราช 2551
ศึ กษาตัวชี้ วดั และสาระการเรี ยนรู ้ แกนกลางกลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ของสานักวิชาการและ
มาตรฐานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
1.2 วิเคราะห์ หลักสู ตรด้านเนื้ อหา ศึ กษา แนวทางการเขี ยนข้อสอบภาษาไทยและ
ทฤษฎีการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
2. ขั้นการออกแบบ
2.1 กาหนดจานวนข้อสอบ ตอนที่ 2 โดยสร้างข้อสอบเป็ นแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ
4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ ซึ่งต้องการใช้จริ งจานวน 20 ข้อ
68

2.2 สร้ างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรื่ องการเขี ยนสะกดคา ตอนที่ 2


แบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ ให้สอดคล้องกับเนื้ อหาและจุดประสงค์ การเรี ยนรู้
ในแบบฝึ กแต่ละเล่ม
2.3 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรื่ องการเขี ยนสะกดคา แบบปรนัย
ชนิ ดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ ที่สร้ างขึ้นเสนออาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์เพื่อพิจารณา
ความถูกต้องเหมาะสมแล้วปรับปรุ งแก้ไข
2.4 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรื่ องการเขี ยนสะกดคา แบบปรนัย
ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ที่ปรับปรุ งตามคาแนะนาของอาจารย์ที่ปรึ กษาและแบบประเมินดัชนีความ
สอดคล้อง (Index 0f Item Objective Congruence: IOC) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
ไปปรึ กษากับอาจารย์ที่ปรึ กษา ด้านเนื้ อหา จุดประสงค์เชิ งพฤติกรรมของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยน และความสมบูรณ์อื่นๆ ก่อนการนาไปให้ผเู ้ ชี่ยวชาญตรวจสอบและให้ขอ้ เสนอแนะ
2.5 นาแบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ยนก่ อนเรี ยนและหลังเรี ยนและแบบ
ประเมินดัชนีความสอดคล้อง (Index 0f Item Objective Congruence: IOC) ของแบบทดสอบวัดผล
สัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนไปปรึ กษากับผูเ้ ชี่ ยวชาญที่มีความรู ้เกี่ยวกับการจัดทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยน เพื่อตรวจสอบรู ปแบบ เนื้ อหาให้ถูกต้อง มีความสอดคล้อง และความสมบูรณ์ ก่อนการ
นาไปจัดพิมพ์
3. ขั้นการพัฒนา
3.1 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรี ยน เรื่ องการเขียนสะกดคา แบบปรนัย
ชนิ ดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ ที่ผวู ้ ิจยั สร้างขึ้นไปให้ผเู ้ ชี่ ยวชาญ 3 คน ตรวจสอบ พิจารณา
ความถูกต้อง ความสมบูรณ์และความสอดคล้องเชิ งเนื้ อหากับจุดประสงค์ หาค่าดัชนี ความสอดคล้อง
(Index 0f Item Objective Congruence: IOC) จากความคิดเห็นของผูเ้ ชี่ ยวชาญทั้ง 3 คน โดยกาหนด
คะแนนความคิดเห็น ดังนี้
+1 หมายถึง แน่ใจว่าข้อสอบวัดจุดประสงค์ขอ้ นั้น
0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าข้อสอบวัดจุดประสงค์ขอ้ นั้น
-1 หมายถึง แน่ใจว่าข้อสอบไม่วดั จุดประสงค์ขอ้ นั้น
3.2 บันทึกผลการพิจารณาลงความเห็นของผูเ้ ชี่ ยวชาญแต่ละท่านในแต่ละข้อ แล้วหา
ผลรวมคะแนนความคิดเห็ นของผูเ้ ชี่ ยวชาญทั้งหมดเป็ นรายข้อ โดยใช้สูตรของ นพพร ธนะชัยขันธ์
(2552 : 17 - 19) แล้ววิเคราะห์ขอ้ มูลด้วยค่าร้อยละ ซึ่ งแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเป็ นแบบ
ปรนัย ชนิ ดเลื อกตอบ 4 ตัวเลื อก จานวน 30 ข้อได้ค่ าร้ อยละ เท่ากับ 0.88 สามารถนาแบบทดสอบ
69

วัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนดังกล่าวไปวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย (p) ค่าอานาจจาแนก (r) และค่า


ความเชื่อมัน่ (rtt) (ภาคผนวก ค)
3.3 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรื่ องการเขียนสะกดคา แบบปรนัย
ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อไปทดสอบกับกลุ่มรอบรู ้ คือ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2559 โรงเรี ยนแจ้คอนวิทยา กลุ่มเครื อข่ายทุ่งผึ้ง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาลาปาง เขต 3 จานวนทั้งสิ้ น 24 คน เนื่องจากเคยเรี ยนเนื้ อหามาแล้ว
3.4 นาข้อมูลการตอบคาถามของนักเรี ยนทุกคนมาหาค่าประสิ ทธิภาพโดย การวิเคราะห์
หาค่าความยากง่าย ค่าอานาจจาแนก แต่ละข้อโดยใช้เทคนิค 27% ค่าที่เหมาะสมอยูร่ ะหว่าง 0.20 - 0.80
แล้วจึงคัดแบบทดสอบดังกล่าวให้เหลือตามเกณฑ์ จานวนทั้งสิ้ น 20 ข้อ 4 ตัวเลือก (ภาคผนวก ค)
4. ขั้นการทดลองใช้
4.1 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรื่ องการเขี ยนสะกดคา แบบปรนัย
ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 20 ข้อที่สร้างขึ้น ไปรวมกับแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
เรื่ องการเขียนสะกดคา ตอนที่ 1 แบบอัตนัยเขียนตามคาบอก จานวน 20 ข้อ รวมทั้งสิ้ น 40 ข้อ นาไปใช้
กับกลุ่มทดลองกลุ่ม 1:1 กลุ่มเล็ก และกลุ่มใหญ่ เพื่อหาประสิ ทธิ ภาพของผลลัพธ์ (E2) ของการใช้แบบ
ฝึ กทักษะการเขียนสะกดคาต่อไป
5. ขั้นการประเมินผล
นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนที่หาค่าประสิ ทธิ ภาพแล้ว นาไปใช้กบั กลุ่ม
ตัวอย่างตามวัตถุประสงค์ต่อไป

การเก็บรวบรวมข้ อมูล

ในการวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลดังนี้


1. นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเขียนสะกดคาไปสอบก่อน (Pre – test) 1 วันก่อน
สอนด้วยแบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคา ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 กับนักเรี ยนโรงเรี ยนแจ้คอนวิทยา
กลุ่มเครื อข่ายโรงเรี ยนทุ่งผึ้ง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ซึ่ งเป็ นกลุ่ม
ตัวอย่าง จานวน 30 คน ตรวจให้คะแนนแล้วเก็บข้อมูลไว้เพื่อเป็ นข้อมูลสาหรับการเปรี ยบเทียบ
คะแนนหลังเรี ยน
2. ผูว้ จิ ยั ดาเนินการทดลองตามแผนการจัดการเรี ยนรู้และใช้แบบฝึ กทักษะการเขียนสะกด
คาที่ผวู ้ ิจยั สร้างขึ้นในภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2559 ใช้เวลาในการสอนแผนการจัดการเรี ยนรู้แผนละ
2 ชัว่ โมง เป็ นเวลา 12 ชัว่ โมง
70

3. ก่อนดาเนิ นการทดลองผูว้ ิจยั ชี้ แจงให้นกั เรี ยนทราบจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ ของแต่ละ


แบบฝึ กก่อน ซึ่ งในแต่ละแบบฝึ กทักษะมีกิจกรรมย่อย 4 กิจกรรม
4. ดาเนิ นการทดลองตามแผนจัดการเรี ยนรู้ ที่สอนด้วยแบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคา
แต่ละแบบฝึ กที่ออกแบบไว้ โดยให้นกั เรี ยนทาแบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคา จานวน 6 แบบฝึ กใช้
สอนแบบฝึ กทักษะละ 2 ชัว่ โมง รวม 12 ชัว่ โมง เมื่อใช้แต่ละแบบฝึ กทักษะเสร็ จแล้วตรวจคะแนนแบบ
ฝึ กทักษะทุกแบบฝึ กเพื่อนาคะแนนมาคานวณทางสถิติ
5. เมื่อสิ้ นสุ ดการทดลอง ผูว้ ิจยั ได้ทดสอบหลังเรี ยน (Post-test) กับนักเรี ยนกลุ่มตัวอย่าง
อี ก ครั้ ง ด้วยแบบทดสอบวัดผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเขี ย นสะกดค า กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ซึ่ งเป็ นแบบทดสอบชุ ดเดี ยวกับแบบทดสอบก่อนเรี ยน ตรวจให้คะแนนแล้ว
บันทึกผลไว้

การวิเคราะห์ ข้อมูล

ในการวิจยั เรื่ อง การใช้แบบฝึ กพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคาของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษา


ปี ที่ 5 กลุ่มเครื อข่ายโรงเรี ยนทุ่งผึ้ง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ในครั้งนี้
ผูว้ จิ ยั ได้วเิ คราะห์ขอ้ มูลด้วยตนเอง เพื่อนาผลไปวิเคราะห์ ดังนี้
1. วิเคราะห์หาค่าประสิ ทธิ ภาพของแบบฝึ กพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคาของนักเรี ยน
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 กลุ่มเครื อข่ายโรงเรี ยนทุ่งผึ้ง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลาปาง เขต 3 โดยใช้
สู ตร E1/ E2
2. วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรื่ อง การเขี ยนสะกดคาระหว่างก่อนและหลังเรี ยน
โดยใช้แบบฝึ กพัฒนาทักษะการเขี ยนสะกดค าของนักเรี ยนชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 5 กลุ่ มเครื อข่ าย
โรงเรี ยนทุ่งผึ้ง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ด้วยสถิติ t – test
71

การคานวณหาประสิ ทธิภาพของกระบวนการ (E1) ใช้สูตรของ นพพร ธนะชัยขันธ์ (2552 : 4)

เมื่อ E1 แทน ประสิ ทธิ ภาพของกระบวนการ


 X แทน คะแนนรวมของแบบฝึ กหัดหรื อกิจกรรมในบทเรี ยน
A แทน คะแนนเต็มของแบบฝึ กหัดหรื อกิจกรรมในบทเรี ยน
N แทน จานวนผูเ้ รี ยน

การคานวณหาประสิ ทธิภาพของผลลัพธ์ (E2)ใช้สูตรของ นพพร ธนะชัยขันธ์ (2552 : 4)

เมื่อ E2 แทน ประสิ ทธิ ภาพของผลลัพธ์


Y แทน คะแนนรวมของแบบทดสอบหลังเรี ยน
B แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรี ยน
N แทน จานวนผูเ้ รี ยน
72

การคานวณหาค่าคะแนนเฉลี่ย ใช้สูตรของ ล้วน สายยศ (2543 : 306) ดังต่อไปนี้

X = ∑X
N

เมื่อ X แทนค่า คะแนนเฉลี่ย


∑X แทนค่า ผลรวมของคะแนนทั้งหมด
n แทนค่า จานวนนักเรี ยนทั้งหมด
X แทนค่า คะแนนแต่ละตัว

การหาค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใช้สูตรของ นพพร ธนะชัยขันธ์


(2552 : 48) ดังต่อไปนี้

x   x 
2

S.D. =  N 
N
n  n 

เมื่อ S.D. แทน ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


X แทน คะแนนแต่ละตัว
n แทน จานวนนักเรี ยนทั้งหมด
 x แทน ผลรวมของคะแนนนักเรี ยนแต่ละคนทั้งหมด
 x แทน คะแนนเฉลี่ย
2
73

ค่าดัชนี ความสอดคล้อง (IOC) ใช้สูตรของ ล้วน สายยศ (2543 : 249) ดังต่อไปนี้

IOC = ΣR
n
เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้อง
R แทน คะแนนของผูเ้ ชี่ยวชาญ
ΣR แทน ผลรวมคะแนนของผูเ้ ชี่ยวชาญแต่ละคน
n แทน จานวนผูเ้ ชี่ยวชาญ

You might also like