You are on page 1of 30

ร้ ู ตานาน

โดย ครูเฉลิมสิริ หนูดี

สืบสานวัฒนธรรม
ตานานเปิ งซงกราน
ขอพระไทรเมตตาส่ งบุตรชาย
มาจุตยิ ังครรภ์ ภรรยาข้ าด้ วยเถิด

หุงข้ าวบูชาพระไทร ด้ วยข้ าวสารเมล็ดงามล้ างนา้ ๗ ครัง้ พร้ อมเครื่องสังเวย


ตานานเปิ งซงกราน
ธรรมบาลกุมาร
พ่ อปลูกปราสาท ๗ ชัน้
ใกล้ ต้นไทรริมนา้
รู้ภาษานก
เรียนไตรเพทสาเร็จตัง้ แต่
อายุ ๗ ขวบ
มีความสามารถบอกฤกษ์ ยาม
ตานานเปิ งซงกราน
ข้ อ ๑ เช้ าสิริอยู่แห่ งใด
ข้ อ ๒ เที่ยงสิริอยู่แห่ งใด
ข้ อ ๓ ค่าสิริอยู่แห่ งใด

ขอเวลาคิด
ปั ญหานี ้ ๗ วัน
ตานานเปิ งซงกราน
พรุ่ งนีก้ ไ็ ด้ กนิ เนือ้ ๖ วันผ่ านไป
รุ่ งขึน้ จะไปหา ธรรมบาลแล้ ว
อาหารที่ไหน
ตานานเปิ งซงกราน
ข้ อ ๑ เช้ าสิริอยู่ท่หี น้ า
ข้ อ ๒ เที่ยงสิริอยู่ท่อี ก
ครบกาหนด ๗ วัน
ข้ อ ๓ ค่าสิริอยู่ท่เี ท้ า

เราจะทาตามสัญญา
ขอเวลาอีกไม่ นาน...
ตานานเปิ งซงกราน
“เศียรพ่ อสาคัญนัก...ถ้ าวางบนพืน้ พิภพจะเกิดไฟไหม้ “พ่ อจะต้ องตัดเศียรออก
ทัง้ แผ่ นดิน...ถ้ าโยนขึน้ ไปในอากาศ ฝนฟ้าจะแล้ ง... บูชาธรรมบาลกุมาร”
ถ้ าทิง้ ลงในมหาสมุทร นา้ จะเหือดแห้ ง
เจ้ าจงเอาพานมาคอยรั บเศียรพ่ อนีเ้ ถิด”

แห่ รอบเขาพระสุเมรุ
แล้ วนาไปประดิษฐาน
ไว้ ในพรหมโลก พลัด
เปลี่ยนปี ละครั ง้
ตานานเปิ งซงกราน
๕. นางกิริณี ๖. นางกิมทิ า
๒. นางโคราคะ ๔. นางมณฑา

๑. นางทุงษะ ๓. นางรากษส
๗. นางมโหทร
ตานานเปิ งซงกราน

แห่ รอบเขาพระสุเมรุ
แล้ วนาไปประดิษฐาน
ไว้ ในพรหมโลก
ผลัดเปลี่ยนปี ละครัง้
ตานานเปิ งซงกราน
“สงกรานต์ ชาวมอญ”
เปิ ง แปลว่ า ข้ าว
ข้ าวสงกรานต์ (ข้ าวแช่ ท่ จี ะนาไปทาบุญที่วัด)
ซงกราน แปลว่ า สงกรานต์

ข้ าวเปิ งซงกรานต่ างจากข้ าวแช่ ไทย เพราะต้ อง


ถึงพร้ อมด้ วยลักษณะเจ็ด ข้ าวที่จะหุงทาข้ าวแช่ ต้องใช้
๑. ข้ าวเปลือกเจ็ดกา
๒. ซ้ อมเจ็ดครั ง้
๓. เมื่อจะหุงก็ต้องซาวนา้ สะอาดหมดจดครบเจ็ดครั ง้
๔. ต้ องหุงกันกลางแจ้ ง ห้ ามหุงในครั ว
สาระสาคัญของเรื่ อง
เป็ นประเพณีสงกรานต์ ข้าวแช่ ของชาวมอญ มีการนาข้ าวสุ กแช่ ลงในนา้ เย็น
ลอยดอกมะลิ พ ร้ อมกั บ จั ด อาหารคาวหวานจั ด เป็ นส ารั บ แล้ ว น าออกขบวนแห่
ไปถวายพระและญาติผ้ ูใหญ่ ท่ เี คารพนับถือในวันสงกรานต์
ข้ อคิดที่ได้
๑. ผู้ท่ มี ีปัญญา มีวิชาความรู้ และมีความสัตย์ ม่ ันคง เป็ นผู้ท่ สี มควรแก่ การยกย่ องสรรเสริ ญ
๒. ผู้ท่ รี ้ ู จกั ใช้ ปัญญาและวิชาความรู้ ในการแก้ ไขปั ญหาย่ อมนาพาให้ ตนพ้ นหายนะได้
๓. ผู้ท่ รี ้ ู แพ้ และยอมรั บความพ่ ายแพ้ นัน้ ย่ อมมีแต่ คนสรรเสริ ญ
๔. ผู้ท่ มี ีความรั บผิดชอบต่ อตนเองและสังคม ย่ อมธารงความสงบสุขให้ แก่ สังคมนัน้ ๆได้
๕. วัฒนธรรมประเพณีส่ งิ ที่ดีงามเป็ นเอกลักษณ์ ของชาติ สมควรช่ วยกันอนุรักษ์ ให้ คงอยู่
๖. การศึกษาตานานหรื อประวัติศาสตร์ เป็ นการช่ วยเพิ่มพูนความรู้ และประสบการณ์
“ตานาน”
หมายถึง นิ ย ายหรื อ เรื่ อ งเล่ า ที่เ ล่ า สื บ ทอดกั น มาเป็ นเวลานาน
จนหาต้ นตอไม่ ได้ และมีเนือ้ หาเพื่ออธิบายที่มาของสิ่งต่ าง ๆ หรื อสถานที่
ต่ างๆ

เช่ น เรื่องเกี่ยวกับบุคคลสาคัญหรือบุคคลที่มีลักษณะพิเศษ ปูชนียวัตถุหรือ


สถานที่สาคัญ ที่มาของประเพณีหรือพิธีกรรมต่ าง ๆ และสิ่งที่เกี่ยวข้ อง
กับภูมปิ ั ญญาของบรรพชน
คตินิยมเรื่องสิริ
“คตินิยม” หมายถึง แนวปฏิบตั ทิ ่เี ชื่อต่ อๆกันมา
“สิริ” หมายถึง มงคลหรือสิ่งที่จะนาความโชคดี ความเจริญและความสุขมาให้

ตานานเรื่ องนีจ้ งึ เป็ นอุบายที่สอนให้ ผ้ คู นรู้ จัก


รั กษาความสะอาดร่ างกายตามเวลาที่เหมาะสม
ความเชื่อเรื่องมีบุตรชายสืบตระกูล
 เป็ นความเชื่ อของชาวมอญที่รับวัฒนธรรมมาจากพราหมณ์ ฮิน ดู
ของอิ น เดี ย ว่ า ถ้ า มี บุ ต รชายก็ จ ะมี ค นท าบุ ญ อุ ทิศ ส่ ว นกุ ศ ลให้ ต นและ
วิญญาณบรรพบุรุษได้
 ในสังคมไทยโบราณเป็ นสังคมเกษตรกรรม การที่ต้องการมีบุตรชาย
เพราะมีค วามต้ อ งการแรงงานผู้ ช ายมาท างานรั ก ษา ผื น นาและทรั พ ย์
สมบัตอิ ่ นื ให้ ลูกหลานในภายหน้ า
“วันขึน้ ปี ใหม่ ”

ตามปฏิทนิ ไทยเดิม
วันแรม ๑ ค่าเดือนอ้ าย
ประมาณปลายเดือนพฤศจิกายนถึงต้ นเดือนธันวาคม

เปลี่ยนตามคติมอญและอินเดีย
วันแรม ๑ ค่าเดือน ๕
ประมาณปลายเดือนมีนาคมถึงต้ นเดือนเมษายน
“วันขึน้ ปี ใหม่ ”

รัชกาลที่ ๕ จอมพล ป. พิบลู สงคราม

เปลี่ยนแปลง

วันที่ ๑ เมษายนของทุกปี วันที่ ๑ มกราคมของทุกปี


เป็ นวันเริ่ มต้ นปี ใหม่
“วันสงกรานต์ ”
คาว่ า “สงกรานต์ ” มาจากภาษาสันสกฤต แปลว่ า ก้ าวไปพร้ อมกัน
คือ วันที่พระอาทิตย์ ย้ายจากราศีหนึ่งไปสู่ราศีหนึ่ง

ย้ ายราศี
“วันสงกรานต์ ”

วันเนา (อยู่)
วันสิน้ ปี (พระอาทิตย์ ประทับแรมราศีเมษ)

วันมหาสงกรานต์ วันเถลิงศก
(วันปี ใหม่ ) ขึน้ ศักราชใหม่
“วันสงกรานต์ ”
เมื่อถึงเทศกาลสงกรานต์ จะมี ประเพณีก่อพระเจดีย์ทราย เพราะเชื่อว่ า
ทุกย่ างก้ าวที่เราออกจากวัดมักจะนาทรายซึ่งเป็ นสมบัติของวัดติดเท้ าออก
นอกวัดไปด้ วย จึงต้ องขนทรายเข้ ามาในวัดอีกครัง้ หนึ่ง
คายืมภาษามอญ

เปิ ง แปลว่ า ข้ าว
เช่ น ตานานเปิ งซงกราน
หมวดอาหาร

บัวลอย ขนมจีน ข้ าวหลาม


ขนมพอสมนา้ ยา

ขนมต้ ม
หมวดพืน้ ที่ - ที่อย่ อู าศัย

กระท่ อม หน้ าต่ าง ร้ าน

- ด่ าน - โรง
ซอก,ตรอก - วัง - สะพาน
หมวดแหล่ งธรรมชาติ

เกาะ คลอง หาด

อ่ าว
หมวดร่ างกาย

เท้ า ขา

พุง
หมวดเครื่ องประดับ

ทอง พลอย
ตัวอย่ างคายืมภาษามอญ
คาศัพท์ คาแปล
๑. ตรอกซอก (ซอก = ทางเดิน)
๒. แก่ เฒ่ า (เฒ่ า = แก่ )
๓. ผุยผง (ผง = ผงละเอียด)
๔. ฝาละมี (ละมี = ฝาปิ ดหม้ อดิน)
๕. เรื่ องราว (ราว = เรื่ อง)
ตัวอย่ างคายืมภาษามอญ
คาศัพท์ คาแปล
๖. ดินสอพอง (พอง = ผง)
๗. ถึงคราว (คราว = เวลา,อายุ)
๘. แมลงปอ (ปอ = บิน)
๙. ฝาละมี (ละมี = ฝาปิ ดหม้ อดิน)
๑๐. แม่ ครั ว (ครั ว = ผู้ปรุ งอาหาร)
ตัวอย่ างคายืมภาษามอญ
คาศัพท์ คาศัพท์
๑๑. กระทะ ๑๖. ท้ าว
๑๒. ตะราง ๑๗. พญา
๑๓. จัญไร (เลวทราม) ๑๘. พลาย (หนุ่ม)
๑๔. ตาหนัก ๑๙. ชิงช้ า
๑๕. หมอบ ๒๐. เชือก
สานวนภาษามอญ
สานวน คาแปล
ติเรื อทัง้ โกลน (โกลน = ทา)
ตายทัง้ กลม (กลม = มดลูก)
คลับคล้ ายคลับคลา (คลา = กาลก่ อน)

You might also like