You are on page 1of 38

วรรณกรรมท้ องถิน่

ภาคเหนือ

This Photo by Unknown Author is licensed under CC BY-NC


ความร้ ูเรื่ องภาคเหนือ
สภาพแวดล้ อม
➢ พื้นที่ภาคเหนื อตั้งอยู่ในแอ่งที่ราบสู งระหว่างภูเขาสู ง ภูมิประเทศส่ วนใหญ่เป็ นทิวเขาสู ง
สลับ ซับ ซ้อ นทอดตัว ต่ อ กัน เป็ นแนวยาว มี ป่ าไม้ป กคลุ ม หนาแน่ น ป่ าในอดี ต มี พ้ื น ที่
กว้างขวาง ประกอบด้วยสิ่ งแวดล้อมตามธรรมชาติ ผูค้ นตั้งหลักแหล่งรวมตัวกันใกล้ลาน้ าซึ่ง
มีความอุดมสมบูรณ์
➢ สภาพการตั้งของชุมชนแวดล้อมด้วยป่ าเขาและยอดดอย หาเลี้ ยงชี พด้วยการเกษตรในที่
ราบลุ่ม (ส่ วนใหญ่เป็ นผืนนา) ชีวิตพึ่งพาธรรมชาติจบั ปลาตามห้วยหนอง คลอง บึง หาของ
ป่ า พืชผักผลไม้ และล่าสัตว์จากป่ าเขา
➢วิถีชีวิตของชาวบ้านล้านนาจึงเกี่ยวข้องกับสิ่ งแวดล้อมสองอย่าง คือ ภูเขา และแม่น้ า
(เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2549, น. 37)
➢ ภูเขาและลาน้ าเกี่ยวพันกับชีวิตในชุมชนหลายด้าน ทั้งความกลัว ความทุกข์ และความปี ติ
เพราะสิ่ งแวดล้อมทั้งสองอย่างดูเป็ นธรรมชาติที่มีอานาจเร้นลับ ครอบงาการอธิ บายโลกตาม
แบบของชาวบ้าน ตานาน คาสวด และพิธีกรรมพื้นถิ่น สะท้อนความเชื่อชาวบ้านที่ว่า ภูเขา
เป็ นคล้ายกับขอบจักรวาล หลังภูเขานั้นเป็ นเสมือนโลกอื่น
➢ มีแม่น้ าสาคัญที่ไหลลงมาทางใต้ 4 สาย คือ แม่น้ าปิ ง แม่น้ าวัง แม่น้ ายม และแม่น้ าน่ าน
และส่ วนหนึ่งไหลขึ้นเหนือคือ แม่น้ าอิง แม่น้ ากก แม่น้ าฝาง และแม่น้ าจัน
(เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2549, น. 38)
วัฒนธรรมประเพณี
➢ ชาวเหนือมักนิยมนับวันเริ่ มต้นชีวิตตั้งแต่วนั ขึ้นปี ใหม่หรื อวันสงกรานต์ คือนับตั้งแต่เดือน
7 เหนื อ (เดือน 5 ใต้) เป็ นเดือนแรกในการดาเนิ นชี วิต แล้วหมุนเวียนเปลี่ยนไปจนกลับมา
บรรจบครบรอบ 12 เดือน
1. เดือน 7 เหนือ (เดือน 5 ใต้ตรงกับเดือนเมษายน)  ประเพณี การเล่นสงกรานต์ ประเพณี ดา
หัว-ปอยบวชลูกแก้ว (บวชเณร) ขึ้นเรื อนใหม่ เลี้ยงผีปู่ย่า
2. เดือน 8 เหนือ  มีปอยบวชเณร-ปอยหลวง, ขึ้นบ้านใหม่-แต่งงาน, วิสาขบูชา-ไหว้พระธาตุ
(เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2549, น. 39)
3. เดือน 9 เหนือ  มีประเพณี ไหว้พระธาตุ, หากฟ้าฝนดีกจ็ ะเริ่ มทานา ทาพิธีแฮกนา หว่านกล้า
4. เดือน 10 เหนือ  เข้าพรรษา, เริ่ มการทานา, ทาพิธีแฮกนา, หว่านกล้า
5. เดือน 11 เหนือ  ปลูกนา, ดานา, ทานข้าว, ผูเ้ ฒ่าไปฟังธัมม์, จาศีล
6. เดือน 12 เหนือ  การทานข้าวสลากหรื อก๋ วยสลาก
7. เดือนเกี๋ยง เหนือ โบราณว่าเดือน เจียง  ทาบุญออกพรรษา, การทานสลากภัตต์, ทานกฐิน
จนถึงเดือนยีเ่ พ็ญ, ชาวบ้านเริ่ มทาสวนปลูกผัก
8. เดือนยี่เหนื อ  มีทานกฐิ น, ประเพณี ลอยกระทงตามประทีป , ทอดผ้าป่ า, ตั้งธรรมหลวง,
เทศน์มหาชาติ, ทาสวนพืชผักฤดูหนาว,ทานอุทิศส่ วนกุศลแด่คนตาย
(เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2549, น. 39-40)
9. เดือน 3 เหนือ  มีประเพณี เทศน์มหาชาติ, ทานทอด (ทอดผ้าป่ า), ชาวบ้านเริ่ มเกี่ยวข้าว,
ชาวสวนเริ่ มปลูกพืชล้มลุก
10. เดือน 4 เหนือ  เก็บข้าวเข้ายุง้ ฉาง, เสร็จฤดูการทานา, ทานข้าวจี่ ข้าวหลาม, ประเพณี ข้ ึน
เรื อนใหม่, แต่งงาน
11. เดือน 5 เหนือ  มาฆบูชา, การทาบุญปอยหลวง (งานมหกรรมฉลองสมโภช), มักเผาศพ
พระในเดือนนี้ เรี ยกว่า ลากปราสาทศพพระ หรื อทางไทยใหญ่เรี ยก “ปอยล้อ”
12. เดือน 6 เหนือ  ทาบุญปอยน้อย (บวชเณร-อุปสมบท), ขึ้นบ้านใหม่, แต่งงาน
(เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2549, น. 40-41)
โลกทัศน์

➢ คตินิยมเกี่ยวกับผลประโยชน์ ➢ คตินิยมปลอดภัยเอาไว้ก่อน
➢ คตินิยมเกี่ยวกับกาไร ➢ คตินิยมในความสนุกสนานบันเทิง
➢ คตินิยมเกี่ยวกับอิสระเสรี ➢ คตินิยมเรื่ องความสวยความงาม
➢ คตินิยมในความเป็ นผูใ้ จกว้าง ➢ คตินิยมทาดีได้ดีทาชัว่ ได้ชว่ั

(สิ ทธิ์ บุตรอินทร์ , 2523, น. 22-25 อ้างถึงใน เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2549, น. 44)
ความเชื่ อ
➢ ความเชื่ อเรื่ องผี
- ชาวภาคเหนือแต่โบราณจาแนกผีออกเป็ น 4 กลุ่ม คือ
1. ผี คือ วิญญาณของผูท้ ี่เมื่อมีชีวิตอยู่ ประพฤติดี และได้ทานุบารุ งวงศ์ตระกูลให้ดี ผีชนิดนี้จะอาศัยอยู่
ในศาลที่ลูกหลานมักจะทาไว้ให้ เรี ยกว่า ผีปู่ย่า หรื อผีบรรพบุรุษ
2. สาง คือ ผีจาพวกอัตวินิบาตกรรม หรื อถูกฆาตกรรม เนื่องจากเมื่อยังมีชีวิตอยูน่ ้ นั ได้ประพฤติตนเป็ น
คนพาลชัว่ ช้า สางจะไม่มีที่อยูอ่ าศัย เพราะแม้แต่ผเี องก็รังเกียจ และคอยขับไล่ไม่ให้เข้ามาอยูป่ ะปน ใน
วัดก็เข้าไม่ได้ เพราะเป็ นผูน้ อกศาสนา จึงได้แต่เที่ยวเร่ ร่อน คอยหลอกหลอนคนให้สะดุง้ ตกใจเท่านั้น
(เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2549, น. 52)
3. เทวดา คือ วิญญาณของพวกเจ้านายและเจ้าบ้านผ่านเมืองทั้งหลายที่ได้ทาคุณประโยชน์
ให้แก่มหาชน ถ้าเป็ นวิญญาณของกษัตริ ย ์ เชื่อกันว่าจะได้เป็ น “พระยาอินตา” หรื อพระอินทร์
4. เปรต ทางภาคเหนื อเรี ยกว่า “เผด” คือ วิญญาณของบุคคลในข้อ 3 ซึ่ งทาตนไม่เที่ยงธรรม
และประพฤติชั่วอยู่เสมอ รวมทั้งวิญญาณของคนอื่นๆ ที่ทาลายปูชนี ยสถาน ฉ้อโกงในการ
ค้าขาย ฯลฯ เปรต ต้องอาศัยอยูต่ ามวัดเพื่อคอยรับผลเมตตาจิตจากพระที่บาเพ็ญภาวนา
(เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2549, น. 52-53)
➢ ความเชื่ อในพระพุทธศาสนา
- มีลกั ษณะแบบเดียวกับภาคอื่นๆ เช่น เชื่อในกฎแห่งกรรม การเวียนว่ายตายเกิด เชื่ อเรื่ องนรก
สวรรค์ ฯลฯ
➢ ความเชื่ อเรื่ องข้ อห้ ามต่ างๆ
- ถ้าละเมิดข้อห้ามจะถือว่าเป็ นขึด คาว่า “ขึด” หมายถึง การกระทาหรื อเหตุการณ์ที่เป็ นเสนียด
จัญไร อัปมงคล ซึ่ งอาจเกิดขึ้นหลายทางด้วยกัน ทั้งที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์เอง เกิด
จากสัตว์ หรื อเป็ นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่ผิดจากสภาวะปรกติ ชาวล้านนาเชื่ อว่าถ้ามี
เหตุการณ์ “ขึด” ดังกล่าว เกิดขึ้นในครอบครัวหรื อชุมชนใด จะนาความวิบตั ิ ฉิ บหาย หายนะ
และความเป็ นอัปมงคลมาสู่ ผทู ้ ี่เป็ นต้นเหตุ ครอบครัว ชุมชน หรื อบ้านเมืองนั้นได้
(ชยันต์ วรรธนะภูติ, 2540, คานา อ้างถึงใน เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2549, น. 55)
➢ หนังสื อเรื่ อง ขึด : ข้อห้ามในล้านนา ของโครงการหลักนิเวศวิทยาชุมชนล้านนา สถาบันวิจยั
สังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แบ่งเรื่ องข้อห้ามต่างๆ เป็ น 10 หมวดใหญ่ๆ คือ
1. ขึดเกี่ยวกับเมืองและองค์ประกอบของบ้านเมือง
2. ขึดเกี่ยวกับศาสนสถาน พระพุทธรู ป และศรัทธาวัด
3. ขึดเกี่ยวกับพื้นที่สาธารณะ และจอมปลวก
4. ขึดเกี่ยวกับพื้นที่การเกษตร และกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
5. ขึดเกี่ยวกับต้นไม้และสัตว์
6. ขึดเกี่ยวกับคามเคหะ
7. ขึดเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตนของบุคคล
8. ขึดเกี่ยวกับคนตาย และการจัดพิธีศพ
9. ขึดเกี่ยวกับกิริยามารยาทของบุคคล
10. ขึดหรื ออุบาทว์ ที่เป็ นเหตุการณ์ผดิ ปรกติ หรื อแปลกประหลาดที่ไม่ค่อยพบเห็น
(เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2549, น. 55-56)
วรรณกรรม
ท้ องถิน่ ภาคเหนือ
ประเภทวรรณกรรมล้ านนา
• ศาสตราจารย์ ดร.อุดม รุ่ งเรื องศรี (2546, น.27 อ้างถึงใน เสาวลักษณ์ อนันตศานต์,
2549, น.8) ได้แบ่งวรรณกรรมล้านนาออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1. วรรณกรรมมุขปาฐะ ได้แก่ เพลงเด็ก, เพลงชาวบ้าน, โวหารรักของหนุ่มสาว, นิทาน
ชาวบ้าน, ปริ ศนาคาทาย, ภาษิต – สุ ภาษิต-คาพร-คากล่าวในโอกาสต่างๆ
2. วรรณกรรมลายลักษณ์ ได้แ ก่ วรรณกรรมบาลี , ชาดก, ต านาน, ประวัติ , ต ารา,
กฎหมาย, คาสอน, กวีนิพนธ์
วรรณกรรมมุขปาฐะ
วรรณกรรมมุขปาฐะ

• เพลงพื้นบ้าน
• ภาษิตและคาพังเพย
• ปริ ศนาคาทาย
• นิทาน
เพลงพืน้ บ้ าน
▪ เสาวลักษณ์ อนันตศานต์ (2549, น. 158) ได้จดั กลุ่มร้อยกรองชาวบ้านตามการแบ่งประเภทของ
มณี พยอมยงค์ และดร.อุดม รุ่ งเรื องศรี ออกเป็ น 6 กลุ่ม คือ
1. การอื่อละนา หรื อลานา
2. การใส่ กาพย์
3. ซอ
4. จ๊อย
5. คาหยอก
6. เพลงกล่อมเด็ก
1. การอื่อละนา หรื อลานา

❖ มณี พยอมยงค์ (2527, น.378 อ้างถึงใน เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2549, น. 159) อธิ บายว่า
การอื่อละนาหรื ออื่อลานาเป็ นบทเพลงในทางศาสนา เป็ นการฮัมเสี ยงหรื อทดลองเสี ยงก่อนที่
จะขับร้องหรื อเทศน์ เพื่อให้เสี ยงอยูใ่ นระดับพอดีตามต้องการ และได้แบ่งการอื่อละนาเป็ น 2
แบบ คือ
1. การอื่อละนาสาหรับการใส่ กาพย์ การเทศน์ หรื อการใส่ เบิก (เปิ ดตา) ในทางพุทธศาสนา
2. การอื่อละนาที่พฒั นามาเป็ นเพลงอื่อลูก หรื อเพลงกล่อมเด็ก
2. การใส่ กาพย์
❖ การใส่ กาพย์คือการว่าแหล่ของภาคกลาง ส่ วนในล้านนาไทย กาพย์มี 2 ความหมาย ความหมาย
แรกคือฉันทลักษณ์ที่แต่งขึ้นตามบทบัญญัติครุ ลหุ ซ่ ึ งกวีกาหนด ส่ วนความหมายอีกอย่างหนึ่ งก็คือ
“กาบ” ได้แก่ สิ่งที่ ห่อหุ ้ม เช่ น กาบไม้ไผ่ ห่ อหุ ้มไม้ไผ่ ซึ่ งชาวล้านนาถื อคติ ว่าเทศน์แต่ ละกัณฑ์
โดยเฉพาะกัณฑ์มหาชาติ เปรี ยบเสมือนลาไม้ไผ่จะต้องมี กาบห่ อหุ ้ม คือกาบเค้า กาบกลาง กาบ
ปลาย
❖ มณี พยอมยงค์ (2513, น.10 อ้างถึงใน เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2549, น. 160) แบ่งกาพย์เป็ น 2
ประเภท ตามระบบเสี ยงที่ใช้ในการอ่านกาพย์เป็ นหลักเกณฑ์ คือ 1. กาพย์เสี ยงใหญ่ และ 2. กาพย์
เสี ยงน้อยหรื อกาพย์เสี ยงเล็ก
❖ https://www.youtube.com/watch?v=qUmEoIHMH8Q
3. ซอ

❖ ดร.อุดม รุ่ งเรื องศรี (อ้างถึงใน เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2549, น. 162) ได้กล่าวถึง ซอ ว่า
ซอ เป็ นการขับลานาประจาท้องถิ่นของชาวล้านนา จัดอยู่ในประเภทเพลงพื้นบ้านซึ่ งเป็ น
ลักษณะเพลงปฏิพากย์ คือมีนกั ร้องชายหญิงซึ่ งเรี ยกว่า ช่างซอ (อ่าน “จ้างซอ”) ทาหน้าที่ขบั
เพลง (ร้องเพลง) เป็ นทานองต่างๆ โต้ตอบกัน โดยใช้ปฏิภาณไหวพริ บของตัวช่างซอที่จะ
นึกหาคาซอขึ้นมาร้องโต้ตอบกันอย่างทันทีทนั ใด ช่างซอทั้งคู่ที่ขบั ร้องโต้ตอบเรี ยกว่า คู่ถอ้ ง
(อ่าน “กูถ้ อ้ ง”)
❖ การซอจะมีเครื่ องดนตรี ประเภทปี่ เป็ นเครื่ องประกอบจังหวะ เป่ าขึ้นต้นก่อนการร้องทุก
ครั้ง ดังมีคติของทางล้านนาที่ว่า “บ่ดีหลวักก่อนหมอ บ่ดีซอก่อนปี่ ” เป็ นต้น และในขณะที่
ซอก็ตอ้ งมีการเป่ าปี่ คลอไปกับการร้องด้วย นอกจากใช้ปี่เป็ นเครื่ องดนตรี ประกอบการซอ
แล้ว ในบางท้องถิ่น เช่น จังหวัดน่าน จะใช้ซึงและสะล้อประกอบกันแทนปี่ หรื อร่ วมกับปี่ ก็
ได้ ซึ่งก็แล้วแต่ความนิยมของแต่ละท้องถิ่น
❖ การขับซอนิ ยมกันมากทางล้านนา เทียบได้กบั การเล่นลาตัดของภาคกลาง หมอลาของ
อีสาน
(เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2549, น. 162-163)

❖ https://www.youtube.com/watch?v=0IIzuG3-ZSY
4. จ๊ อย
❖ จ๊อย หรื อ ช้อย เป็ นถ้อยคาที่ขบั ออกมาเป็ นลานาสั้นๆ มีสัมผัสคล้องจองกัน เป็ นภาษาพื้นเมือง มี
ทานองเสนาะเป็ นเสี ยงสู งๆ ต่าๆ ฟั งไพเราะ ไม่เป็ นเรื่ องยาวเหมือนซอ การขับลานานี้ มีจุดประสงค์
เพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน ชายหนุ่มชาวเหนือมักขับจ๊อยเวลาที่ไปแอ่วสาว คือไปเที่ยวหาและ
เกี้ยวพาราสี หญิงสาวที่ตนพึงใจ เวลาเดินทางไปตอนกลางคืนก็ได้เสี ยงเป็ นเพื่อน
❖ โอกาสที่จะได้ยนิ จ๊อย ได้แก่ จ๊อยตอนมีการซอ, จ๊อยเพื่อเอาเสี ยงตัวเองเป็ นเพื่อน, จ๊อยแข่งประชัน
กันระหว่างเพื่อนฝูง, จ๊อยอวยพรเนื่องในโอกาสต่างๆ, จ๊อยเกี้ยวสาว
(เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2549, น. 168-169)
❖ https://www.youtube.com/watch?v=cwFNjQDjCFQ
❖ https://www.youtube.com/watch?v=eR219Hws8WA
5. คาหยอก
❖ คาหยอก คือคาหยอกเย้า เกี้ยวพาราสี ที่หนุ่มสาวใช้พดู กันในเชิงภาษารัก โดยมากเกิดขึ้น
จากปฏิภาณ เป็ นโวหารโต้ตอบระหว่างกัน และถ่ายทอดแบบปากต่อปาก สื บต่อมาถึงคนรุ่ น
หลังใช้เกี้ยวพาราสี กนั
❖ มณี พยอมยงค์ กล่าวว่าคาหยอกมี 3 แบบ คือ
1. แบบคาคร่ าว คือ คาประพันธ์ส้ นั ๆ ตามฉันลักษณ์กลอนคร่ าว
2. แบบคาร่ าย คือ คาประพันธ์แบบร่ ายหรื อคาจ่ม
3. คาพูดธรรมดา แต่งแฝงความหมายลึกซึ้งกินใจ
(เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2549, น. 171)
❖ ตัวอย่างคาหยอกแบบคาคร่ าว เช่น
ชาย : อี่ น้า ยนาฏน้อง แม่ดาวประกาย ขอหื้ อ ตังชายได้นั่งที่ นี่ ผ่อเจ้าของเฮือนมางามผี้ห ลี้
เหมือนเทวดาจากฟ้า
หญิง : นัง่ เต๊อะนัง่ เต๊อะ ตัด๊ ที่ห้ นั บ่อใช่ที่ไผ ที่หวั คันได ที่นอนหมาโก้ง
ชาย : หมาโก้งหมากี๊ อ้ายพี่บ่หนั อยูม่ าตึงวัน หันแต่หมาแม่ตอ้ ง
❖ ตัวอย่างคาหยอกแบบคาพูดธรรมดา
หมดซ้อยล้อย เหมือนอ้อยกล๋ างก๋ อ หากาบงอ กาบซ้อนบ่ได้
(เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2549, น. 172-173)
6. เพลงกล่อมเด็ก
❖ มีไว้สาหรับร้องกล่อมลูกหรื อกล่อมเด็ก โดยมีจุดประสงค์หลักเพื่อกล่อมให้เด็กหลับเร็ ว
และหลับสนิท
❖ เพลงกล่อมลู ก ของท้องถิ่ นนั้นๆ มักจะสัมพันธ์กบั วิถี ชีวิต ความเป็ นอยู่ ขนบประเพณี
วัฒนธรรมของท้องถิ่นนั้น
❖ โดยทัว่ ไปเพลงสาหรับเด็กแบ่งได้ดงั นี้ 1. บทกล่อมเด็กหรื อบทกลอนกล่อมเด็ก (เพลงอือ
จาหรื ออื่ออาจา หรื อเพลงอื่อลูก) 2. บทปลอบเด็ก และ 3. บทร้องเล่น หรื อบทร้องประกอบ
การละเล่นของเด็ก
(เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2549, น. 177)
❖ เพลงกล่อมเด็กล้านนามักขึ้นต้นด้วยทานองขับกล่อมและข้อความต่อไปนี้
1. อื่อ อื่อ จา จา ...
2. อี่เอ้ยเหย... บ่าเอ่ยเหย...
3. สิ กจุง้ จา (บ่าลาจุง้ จ้อย... อี่หล้าจุง้ จ้อย... บะลาโหม้งหม้วย... ฯลฯ)
4. สิ กจุง้ จาโหง หรื อสิ กจุง้ จาโหน
5. สิ กก้องก๋ อ
(พรรณเพ็ญ เครื อไทย และคนอื่นๆ, 2540 น.4-5 อ้างถึงใน (เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2549, น. 177)

❖ https://www.youtube.com/watch?v=ZmtxC-7NFjo
ภาษิตและคาพังเพย

▪ คือ การพูดแบบแสดงความฉลาดหลักแหลมออกมาเป็ นถ้อยคาที่ส้ ัน กะทัดรัด แต่


คมคาย และมีความหมายกว้าง ลึกซึ้ง
▪ในสมัยแรกๆ ถ้อยคาเหล่านี้จะรวมแง่คิดต่างๆ ในชีวิตของมนุษย์ ต่อมาก็ครอบคลุม
ปั ญหาหลายๆ ด้าน เช่น ปั ญหาด้านการดารงชีวิตอยู่ ปั ญหาเรื่ องการประพฤติปฏิบตั ิ
ตน การวางตัว การใช้ชีวติ ประจาวัน เป็ นต้น
(เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2549, น. 183)
▪ ชาวภาคเหนื อ สั่ง สมภู มิปั ญ ญาในด้า นการใช้ภ าษาที่ เ ป็ นส านวน ค าพังเพย และภาษิ ต
สุ ภาษิตมาเป็ นเวลาช้านานแล้ว โดยภาษิต คือคากล่าวอันเป็ นที่กินใจนั้น เป็ นที่รู้จกั กันใน
นามว่า คาบ่าเก่า คือคาโบราณ หรื อคาโบร่ าโบราณ คือถ้อยคาที่สืบมาแต่โบราณ ภาษิตก้อม
คือ ภาษิตขนาดสั้น หรื อคาสอนบ่าเก่า คือ คาสอนโบราณ และโดยทัว่ ไปมักจะเรี ยกว่า คาบ่า
เก่า
▪ คาสอนเหล่านี้จะเป็ นคาสอนที่ได้มาจากประสบการณ์แล้วถ่ายทอดสื บกันมา และบางส่ วน
มาจากความคิดทางพุทธศาสนา และที่มีอิทธิ พลมากต่อวงการภาษิตของล้านนา น่าจะเป็ น
คร่ าวเรื่ อง ปู่ สอนหลาน ของพระญาพรหมโวหาร (พ.ศ.2345-2430) ซึ่ งเป็ นถ้อยคาที่มีความ
ไพเราะและจาได้ง่าย
(เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2549, น. 184-185)
❖ https://www.youtube.com/watch?v=N3qM-qZEaME
▪ ที่มาของภาษิต
1. ภาษิตคาพังเพยที่เกิดจากธรรมชาติ
2. ภาษิตคาพังเพยที่เกิดจากการกระทา
3. ภาษิตคาพังเพยที่เกิดจากเครื่ องแวดล้อม
4. ภาษิตคาพังเพยที่เกิดจากอุบตั ิเหตุ
5. ภาษิตคาพังเพยที่เกิดจากระเบียบแบบแผน ประเพณี ความเชื่อ
6. ภาษิตคาพังเพยที่เกิดจากลัทธิศาสนา
7. ภาษิตคาพังเพยที่เกิดจากความประพฤติ
8. ภาษิตคาพังเพยที่เบ็ดเตล็ด
ปริศนาคาทาย
▪ ปริ ศนา ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 (ออนไลน์) ให้ความหมายไว้ว่า
สิ่ งหรื อถ้อยคาที่ผกู ขึ้น เป็ นเงื่อนงาเพื่อให้แก้ให้ทาย
▪ ชาวภาคเหนือเรี ยกปริ ศนาคาทายว่า “คาตวาย” โดยใช้สาหรับคาถามว่า “เปสสนา” คาแก้ใช้
ว่า “คาทวาย” หรื อ “คาตวาย”
▪ คาปริ ศนาในสมัยโบราณมักเกี่ยวข้องกับสิ่ งที่อยู่รอบตัวเรา เช่น คน สัตว์ สิ่ งของเครื่ องใช้
ต่างๆ
(เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2549, น. 207-208)
▪ ปริ ศนาของชาวภาคเหนือมีจานวนมาก หากจัดเนื้อหาอาจจัดได้ 7 กลุ่ม ดังนี้
1. กลุ่มที่มีเนื้อหาเกีย่ วกับมนุษย์
- แต๊บแป๊ บเต้าใบตัน กิ๋นเจ็ดวันบ่าเสี้ ยง
2. กลุ่มที่มีเนื้อหาเกีย่ วกับสั ตว์
- ฮักก็จูบ บ่ฮกั ก็จูบ
3. กลุ่มที่มีเนื้อหาเกีย่ วกับพืช
- อุ่มลุม้ เท่าขา มีต๋ารอบตัว๋
4. กลุ่มที่มีเนื้อหาเกีย่ วกับเครื่ องมือเครื่ องใช้
- หลังขดขด ดาน้ าอด
5. กลุ่มที่มีเนื้อหาเกีย่ วกับชีวติ ประจาวัน
- ไก่แม่หม่น ต่นหลังคา บินไปบินมา หายแส็บ
6. กลุ่มที่มีเนื้อหาเกีย่ วกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ
- ควายแม่วอ้ ง กินน้ าเสี้ ยงทึงหนอง
7. กลุ่มที่มีเนื้อหาเบ็ดเตล็ด
- ยิง่ ต่อยิง่ สั้น
นิทาน
▪ ดร.ประคอง นิมมานเหมินทร์ (2528, น.59 อ้างถึงใน เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2549, น.
125) ได้กล่าวถึงความหมายและลักษณะของนิทานในแง่คติชนวิทยาไว้วา่
นิทานที่ใช้ในวิชาคติชนวิทยาหมายถึงเรื่ องเล่าที่สืบทอดต่อๆ กันมา จนถือเป็ นมรดก
ทางวัฒนธรรมอย่างหนึ่ ง นิ ทานเหล่านี้ เรี ยกว่า นิ ทานพื้นบ้านบ้าง นิ ทานพื้นเมืองบ้าง และ
นิ ทานชาวบ้านบ้าง มีความหมายเฉพาะเจาะจงถึ งเรื่ องเล่าประเภทหนึ่ งโดยเฉพาะ ไม่ได้มี
ความหมายกว้างขวางเหมือนคาว่านิทาน และสรุ ปว่า ลักษณะสาคัญที่สุดของนิทานพื้นบ้านจึง
อยูท่ ี่ตอ้ งเป็ นนิ ทานที่เล่าสื บทอดกันมาด้วยปากและไม่ทราบว่าใครเป็ นผูแ้ ต่ง เป็ นการเล่าจาก
ความจาที่ได้ฟังต่อๆ กันมา
▪ สติ ธ ธอมป์ สั น (Stith Thompson) ได้แ บ่ ง นิ ท านตามรู ป แบบไว้ 11 ประเภท ซึ่ งนิ ท าน
ภาคเหนือมีลกั ษณะสอดคล้องกับรู ปแบบนิทาน 9 รู ปแบบ คือ
1. เทพนิยาย เช่น เรื่ อง เต่าคา (นางอุธทรา)
2. นิทานชีวิต เช่น เรื่ อง คนค้าขาย
3. นิทานวีรบุรุษ เช่น เรื่ อง พระเจ้าพรหมมหาราช
4. ตานาน เช่น เรื่ อง หมื่นเงินกอง
5. นิทานอธิบายเหตุ เช่น เรื่ อง ทาไมสัตว์ตน้ ไม้จึงพูดไม่ได้
6. นิทานปรัมปรา เช่น เรื่ อง ดาวลูกไก่
7. นิทานสัตว์ เช่น เรื่ อง สองสัตว์
8. นิทานอุทาหรณ์ เช่น เรื่ อง ช้างกับงู
9. เรื่ องขาขันหรื อมุกตลก (เจี้ยก้อม) เช่น เรื่ อง กลองตุเ๊ จ้า
▪ https://www.youtube.com/watch?v=OrCWhx3NU3g
▪ https://www.youtube.com/watch?v=ebdMteqMlA8
▪ https://www.youtube.com/watch?v=xDFFU48ESwA
รายการอ้ างอิง

• พิเ ชฐ แสงทอง. 2559. วรรณกรรมท้ องถิ่ นเชิ งวิเ คราะห์ (พิ มพ์ค รั้ งที่ 3). พัทลุ ง :
ศูนย์ทะเลสาบศึกษา.
• เสาวลั ก ษณ์ อนั น ตศานต์ . 2549. วรรณกรรมภาคเหนื อ = Northern Thai
literature. กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคาแหง.

You might also like