You are on page 1of 4

การจับใจความสำคัญในข้ อความแต่ ละย่ อหน้ า

ย่อหน้ าเป็ นข้ อความตอนหนึง่ อันประกอยด้ วยใจความสำคัญอย่างหนึง่ กับเนื ้อความ ขยายให้ ชดั เจน ข้ อความหนึง่ ย่อหน้ า
จะกล่าวถึงเรื่ องเรื่ องเดียวเท่านัน้ การฝึ กจับใจความสำคัญในแต่ละย่อหน้ า จึงเป็ นพื ้นฐานสำคัญของการจับใจความข้ อความยาวๆ
ได้ เป็ นอย่างดี
ข้ อความหนึง่ ย่อหน้ าประกอบด้ วย
๑. ประโยคใจความสำคัญหรือประโยคหลัก ที่สรุปความคิดของข้ อเขียนตอนนันไว้ ้ ทงหมด
ั้ ประโยคทำนองนี ้จะอยู่สว่ น
ใดของย่อหน้ าก็ได้ แต่ที่นิยมมากคือ อยู่ต้นหรื อท้ ายย่อหน้ า อย่างไรก็ตามข้ อเขียนบางย่อหน้ าอาจไม่มีประโยคใจความสำคัญเลย
ก็ได้ ในกรณีนี ้ผู้อา่ นจะต้ องสรุปใจความสำคัญเอง
๒. ประโยคขยายความ เป็ นข้ อความขยายสนับสนุนประโยคใจความสำคัญให้ ชดั เจนขึ ้น
ตัวอย่ าง
๑) ใจความสำคัญอยู่ต้นย่ อหน้ า
ความแตกต่างของมนุษย์และสัตว์อีกประการหนึง่ ที่เห็นเด่นชัด คือเรื่ องของการใช้ ภาษา มนุษย์สามารถถ่ายทอดความรู้
ความคิดออกมาเป็ นตัวเขียน คือ เป็ นภาษาหนังสือสำหรับให้ ผ้ อู ื่นอ่านและเข้ าใจตรงตามที่ต้องการ แต่สตั ว์ใช้ ได้ แต่เสียงเท่านันในการ

สื่อสาร     แม้ แต่เสียงหลายท่านก็ยงั มีความเห็นว่าสัตว์จะทำเสียงเพื่อแสดงความรู้ สกึ เช่น โกรธ หิว เจ็บปวด เท่านัน้ เสียงของสัตว์
ไม่อาจสื่อความหมายได้ ละเอียดลออเท่าภาษาพูดของมนุษย์
(จันทร์ ศรี นิตยฤกษ์ ๒๕๒๕,๔-๕)

๒) ใจความสำคัญอยู่ท้ายย่ อหน้ า
ภายในวงงานศิลปะประเภทหนึง่ ๆ มีรูปแบบของศิลปะนันแยกออกไป
้ จิตรกรรมก็มีการวาดและระบายสีบนฝาผนัง วาดเป็ น
เส้ นบนกระดาษ วาดและระบายเป็ นภาพเล็กเป็ นภาพใหญ่เป็ นรูปคนรู ปภูมิประเทศและอื่นๆ วรรณคดีก็เข้ าในลักษณะนี ้ รูปแบบของ
วรรณคดีไทยก็มีหลายแบบ ถ้ านับวรรณคดีตา่ งประเทศทัว่ โลกก็มีรูปแบบเกือบจะนับไม่ถ้วน คุณภาพของวรรณคดีขึ ้นอยู่กบั รูปแบบ
จะมีความดีหรื อความบกพร่องภายในวงของรูปแบบแต่ละรูปแบบ การพิจารณาวรรณคดีจงึ เป็ นไปตามรูปแบบแต่ละรูปๆ นัน้
(บุญเหลือ เทพยสุวรรณ ๒๕๑๗,๒)

๓) ใจความสำคัญอยู่กลางย่ อหน้ า
ดังได้ กล่าวมาแล้ วว่า การที่จะเป็ นผู้ฟังที่ดีได้ นนจะต้
ั ้ องมีการฝึ กฝนจนเรี ยนรู้ ฉะนันครู
้ จงึ เป็ นผู้ที่มีโอกาสดีกว่าคนอื่นๆ ใน
การฝึ กนิสยั การฟั งที่ดีให้ แก่เยาวชนที่จะเป็ นผู้นำของชาติในอนาคตครูไม่ควรมองข้ ามความสำคัญของการฟั งไป ควรระลึกไว้ เสมอว่า
การฟั งมีความสำคัญเท่าๆ กับการพูด การอ่านและการเขียน ถ้ าผู้ฟังรู้จกั ฟั งแล้ วการฟั งก็จะมีประโยชน์มาก แต่ถ้าผู้ฟังไม่ร้ ูจกั การ
ฟั ง ผู้ฟังก็จะไม่ได้ รับผลอะไรเลย แต่ในทางตรงกันข้ ามบางครัง้ ก็อาจจะมีโทษอันร้ ายแรงเกิดขึ ้นอีกด้ วย
(ฉัตรวรุณ ตันนะรัตน์ ๒๕๑๙,๖๘)

๔) ใจความสำคัญอยู่ต้นและท้ ายย่ อหน้ า


ศิลปวัฒนธรรมในบ้ านเมืองเรามักจะสอดคล้ องกับการดำเนินชีวิตประจำวัน   ตัวอย่างบางคนชอบปลูกไม้ ดอกไม้ ผล เมื่อเกิด
ดอกออกผลก็ชื่นใจ เกิดความคิดที่จะทำดอกผลนันให้ ้ งดงามน่าดูยิ่งขึ ้น จึงมีผ้ ูนำผลไม้ มาประดิษฐ์ ลวดลาย แล้ วจัดวางในภาชนะให้
มองดูแปลกตาน่ารับประทานลวดลายนันเกิ ้ ดจากการตัด ผ่า ปอก คว้ านและแกะสลัก ส่วนไม้ ดอกที่ออกดอก ก็นำมาผูกมัดเป็ นช่อ
บ้ าง เป็ นพวงเป็ นพูบ่ ้ าง เสียบเป็ นพุม่ หรื อปั กลงในแจกันก็ได้ ตามแต่จะเห็นงาม ชีวิตชาวไทยกับศิลปะความงามจึงแยกกันไม่ออก
(การเตรี ยมเพื่อการพูดและการเขียน, ฉัตรวรุณ ตันนะรัตน์ )

แบบฝึ กหัด
กิจกรรมที่ ๑ ขีดเส้ นใต้ ประโยคใจความสำคัญแต่ละย่อหน้ า
๑. ดนตรี ไทยเป็ นสัญญาณบอกถึงการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ในพิธีกรรม เช่น ในงานทำบุญเลี ้ยงพระ เมื่อเพลงโหมโรงเช้ าดัง
ขึ ้น ก็จะทราบกันว่าพระมาถึงแล้ ว เวลาพระจะกลับปี่ พาทย์ก็บรรเลงเพลงกราวรำ ในการเทศน์มหาชาติ ถ้ าเล่นเพลงเซ่น
เหล้ าก็แสดงว่าจบการเทศน์กณ ั ฑ์ชชู ก แต่ละกัณฑ์จะมีเพลงประจำ เพลงเป็ นสิ่งที่บอกให้ เจ้ าของกัณฑ์ตอ่ ไปได้ เตรี ยมตัว
ด้ วยหรื อในงานพระราชพิธี ถ้ าแตรสังข์ดงั ขึ ้นก็แสดงว่าพระเจ้ าอยู่หวั เสด็จแล้ ว ถ้ าจะทรงลุกไปจุดเทียน ปี่ พาทย์ก็จะ
บรรเลงเพลงสาธุการ ดังนันไม่
้ วา่ พิธีกรรมตามขันตอนของชี
้ วิต พิธีทางศาสนาหรื อพระราชพิธีจะมีดนตรี ไทยเป็ นเครื่ องบอก
ลักษณะ หรื อขันตอนในพิ
้ ธีเสมอ
(มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ๒๕๒๓,๗๔)

๒. ในสังคมไทยมีการละเล่นมากมายหลายประเภทให้ เด็กๆ ได้ เล่นกันเพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน เรามีการละเล่นของ


เด็กหญิง เช่น อีตกั ขายของ มีการละเล่นของเด็กชาย เช่น ลูกหิน ทอยกอง มีการละเล่นที่เล่นเป็ นกลุม่ เช่น มอญซ่อนผ้ า โพงพาง
เช้ าๆ อยู่ในบ้ านเด็กๆ ก็เล่นหมากเก็บ พอเย็นๆ แดดร่มลมตกก็ออกไปเล่นวิ่งเปี ย้ ว รี รีข้างสาร ชักคะเย่อ กันบริ เวณลานบ้ าน การละ
เล่นนันมี
้ เพลงร้ องประกอบ เช่น แม่งู จีจ่อเจี๊ยบ บางชนิดก็ไม่เป็ นเพลง เช่น ห่วงยาว ขี่ม้าก้ านกล้ วย เด็กๆ ในสังคมไทยจะไม่ ”เห
งา" เพราะมีของให้ เล่น อยู่คนเดียวก็เล่นได้ เช่น ไปเก็บใบไม้ มาเล่นขายของ ถ้ ามีเพื่อนสักคนก็เล่นแมงมุม เล่นจ้ำจี ้ได้ เล่นเป่ ายิงชุ้บ
ได้ ถ้ ามีเพื่อนเล่นหลายคนก็อาจชักชวนกันเล่นลิงชิงหลัก กาฟั กไข่หรื อวิ่งเปี ย้ ว
(มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ๒๕๒๓,๑๙)

๓. หลังจากลิเกบันตนก็เกิดมี ลิเกลูกบท ซึง่ เกิดจากมีผ้ คู ิดนำเอาการแสดงลิเกเข้ าไปผสมกับการบรรเลงปี่ พาทย์ กล่าวคือ


ในการบรรเลงปี่ พาทย์แบบหนึง่ นัน้ จะเริ่ มร้ องและบรรเลงเพลงสามชันก่ ้ อนเป็ นเพลงแม่บท เมื่อจบแล้ วจะหาเพลงสันๆ
้ มาบรรเลงต่อ
ท้ ายเรี ยกว่า ลูกบท แล้ วจึงออกลูกหมด เป็ นอันว่าจบกระบวนในตอนหนึง่ ในระหว่างที่ปี่พาทย์บรรเลงเพลงลูกบทซึง่ มัก ทำเป็ นเพลง
ภาษาต่างๆ มีผ้ คู ิดปล่อยผู้แสดงซึง่ แต่งตัวเป็ นทำนองเดียวกับลิเกออกภาษามาแสดงประกอบแต่ใช้ ปี่พาทย์รับแทนลูกคูท่ ี่ตีกลอง
รำมะนาในลิเกบันตน เมื่อหมดชุดผู้แสดงก็เข้ าฉากไป ปี่ พาทย์จะบรรเลงเพลงแม่บทต่อไปใหม่ และเมื่อถึงเพลงลูกบทเป็ นภาษาใด
ก็ปล่อยตัวแสดงออกมาอีก
(มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ๒๕๒๓, ๑๓๔)

๔. ร้ อนจัดหรื อเย็นจัดเป็ นสิ่งขัดขวางในการรู้รสอย่างมาก ถ้ ามิตรไม่เคยกินอาหารร้ อนจัดก็แสดงว่ามิตรไม่เคยรู้รสอาหารทุก


รสในทำนองเดียวกัน ถ้ าเราเอาก้ อนน้ำแข็งวางบนลิ ้น ตอนแรกจะรู้ สกึ เย็น แต่ลิ ้นไม่ร้ ูรสจนกว่าจะได้ รับความอบอุน่ นัน่ คือลิ ้นจะรู้รส
ต่อเมื่อน้ำแข็งที่ใส่บนลิ ้นละลาย
(วิริยะ สิริสิงห ๒๕๒๕, ๘๔)

๕. เห็นชื่อของโรคที่ทำให้ ตายแล้ วคงมีหลายคนไม่ร้ ูจกั โรคนี ้ แม้ พวกหมอเองก็เถอะ   น้ อยคนที่จะเคยได้ ยินชื่อของโรคนี ้ แต่
คนที่เคยบวชเคยเรี ยนมาแล้ วก็คงจะพอรู้ จกั กันบ้ าง   อีตอนที่กระทำพิธีขอบวชนัน้ เมื่อเวลาที่องค์อปุ ั ชฌาย์ถามว่า "อปมาโร" นาคก็จะ
ต้ องตอบว่า "นัตถิ ภันเต" อันว่า "อปมาโรค" นี ้แปลว่า "ลมบ้ าหมู"
(เสนอ อินทรสุขศรี ๒๕๑๔,๘๔)

กิจกรรมที่ ๒ อ่านข้ อความแต่ละข้ อแล้ วตังชื


้ ่อเรื่ อง พร้ อมทังสรุ
้ ปใจความสำคัญ

๑. แมลงได้ ชื่อว่าเป็ นนักสถาปนิก และนักก่อสร้ างมานานก่อนที่มนุษย์จะรู้จกั คิดสร้ างบ้ านเสียอีก ปลวกรู้จกั สร้ างตึกระฟ้า
ตัวต่อรู้จกั ผสมดินก่อปูน ตัวแก้ วรู้จกั ปั่ นเส้ นไหมเป็ นที่อยู่ มดรู้จกั สร้ างอาณาจักรและเมืองหลวงเป็ นสัดส่วน และที่น่าประทับใจก็คือ
การรู้จกั สร้ างบ้ านของแมลงเหล่านี ้ แมลงทำไปโดยสัญชาตญาณทังสิ ้ ้น
(กระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๒๒,๑๓)
ชื่อเรื่ อง____________________________________________________________
ใจความสำคัญ______________________________________________________

๒. ภาษาเป็ นเรื่ องของการเรี ยนรู้ ย่อมจะมีสิ่งแวดล้ อมเข้ ามาเกี่ยวข้ องเสมอ สิ่งแวดล้ อมในที่นี ้คือสังคมหรื อกลุม่ ของผู้ใช้
ภาษา เช่น เด็กไทยคนหนึง่ เมื่อเกิดใหม่ๆ ให้ ไปอยู่ในประเทศอังกฤษซึง่ ไม่มีคนไทยอยู่เลย เด็กคนนันเมื ้ ่อเติบโตขึ ้นย่อมจะพูดภาษา
อังกฤษได้ และถ้ าไม่มีใครฝึ กพูดภาษาไทยให้ ก็ย่อมจะพูดภาษาไทยไม่ได้ นี่แ สดงว่าภาษาเป็ นเรื่ องของการเรี ยนรู้ที่มีสิ่งแวดล้ อมเข้ ามา
เป็ นองค์ประกอบ ถ้ าภาษาเป็ นเรื่ องของพันธุกรรมหรื อสัญชาตญาณเด็กไทยที่ไปอยู่ในประเทศอังกฤษและไม่เคยพบคนไทยมาก่อน
ควรพูดภาษาไทยได้ เหมือนกับภาษาแม่ของตนเอง
(ประสิทธิ์ กาพย์กลอน ๒๕๑๖,๕)
ชื่อเรื่ อง____________________________________________________________
ใจความสำคัญ______________________________________________________

๓. คาเวียร์ ไม่ใช่ชื่อปลาแต่เป็ นชื่อไข่ปลาชนิดที่เอามาดองเค็มแล้ ว และไข่ปลาที่จะนำมาดองเค็มได้ นนไม่


ั ้ ใช่ใช้ ได้ ทกุ ชนิด
ชนิดที่มาทำไข่คาเวียร์ ต้องเป็ นปลาใหญ่ชนิดโบราณมีอายุมาในโลกตัง้ ๔๐๐ ล้ านปี สมัยยุคเดโวเนียนนัน่ แหละครับ ปลาโบราณนี ้
เรี ยกกันว่า   ปลาสเตอร์ เจียน
(วิริยะ สิริสิงห ๒๕๒๕,๑๓๔)
ชื่อเรื่ อง____________________________________________________________
ใจความสำคัญ______________________________________________________

๔. มีคำกล่าวกันว่า "คนเรานี ้เกิดมาเปล่า แล้ วก็ตายไปเปล่า" แต่ก็มีคนที่ไม่ตายเปล่าๆ แต่ตายไปแล้ วยังมีคา่ เขาเหล่านัน้


อาจเป็ นเพียงคนๆ หนึง่ คนที่ยากจนไม่เคยมีใครรู้จกั ไม่เคยมีชื่อเสียงไม่มีมรดกใดๆ ที่จะทิ ้งเอาไว้ ให้ ลกู หลาน แต่เขาก็ทิ ้งมรดกอันมีคา่
มหาศาลไว้ ให้ แก่พลโลก
ใกล้ ๆ จะสิ ้นเรื่ องการตายมีกี่วิธี ที่ตงใจเขี
ั ้ ยนเอาไว้ นี ้แล้ ว ก็คิดว่าควรจะได้ พดู เรื่ องการตายที่มีคา่ นี ้ไว้ เพื่อว่าใครจะคิดตาย
อย่างไม่สญ
ู เปล่านี ้บ้ าง
การตายแบบไหนก็ตาม ดังที่กล่าวมานับร้ อยๆ อย่างนันแล้ ้ ว อาจตายอย่างมีคา่ นี ้ได้ เ สมอ คือ การให้ โรงพยาบาลทำการ
ตรวจศพ หรื อยิ่งไปกว่านันให้ ้ ศพของตนแก่โรงเรี ยนแพทย์
(เสนอ อินทรสุขศรี ๒๕๑๕,๒๓๔)
ชื่อเรื่ อง____________________________________________________________
ใจความสำคัญ______________________________________________________

๕. ชายผู้หนึง่ ขับเกวียนไปในป่ า ลูกล้ อเกวียนตกหล่มลึก ควายลากไปไม่ไหว ชายผู้นนกลั ั ้ วจะมืดค่ำอยู่กลางทาง จึงบนบาน


ขอให้ เทวดาช่วย ในขณะนันเทวดาที
้ ่เป็ นเจ้ าป่ าลงมาบอกแก่ชายผู้นนว่
ั ้ า "จะยืนดูอยู่ทำไมอีกเล่า จงเอาบ่าแบกล้ อเข้ าแล้ วเฆี่ยน
ควายให้ เดิน   ลูกล้ อก็จะเคลื่อนที่ขึ ้นจากหล่มได้ การที่ร้องโวยวายไปเสียก่อนยังไม่ทนั จะได้ ลองกำลังของตนให้ เต็มฝี มือดังนี ้ จะให้
ใครเขามีแก่ใจช่วยเจ้ าได้ "
(กระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๒๘,๒๐-๒๑)
ชื่อเรื่ อง____________________________________________________________
ใจความสำคัญ______________________________________________________
เฉลยกิจกรรมที่ ๑
๑. ดนตรี ไทยเป็ นสัญญาณบอกถึงการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ในพิธีกรรม
๒. ในสังคมไทยมีการละเล่นมากมายหลายประเภทให้ เด็กๆได้ เล่นกันเพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน
๓. หลังจากลิเกบันตนก็เกิดมีลิเกลูกบท ซึง่ เกิดจากมีผ้ คู ิดนำเอาการแสดงลิเกเข้ าไปผสมกับการบรรเลงปี พาทย์
๔. ร้ อนจัดหรื อเย็นจัดจัดเป็ นสิ่งขัดขวางในการรู้รสอย่างมาก
๕. "อปมาโร" นี ้ท่านแปลว่า "ลมบ้ าหมู"

You might also like