You are on page 1of 31

รายวิชาภาษาไทย

รหัสวิชา ท๑๔๑๐๑
เรื่อง “คาพ้องเสียง”
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
ผู้สอน ครูธีระพล แก้วคาจันทร์
ผู้สอครูวรรณรี วุ่นนุรักษ์
คำไทยใช้ให้ถูก
๑. ขโมย
๒. โขมย
คำไทยใช้ให้ถูก
[ขะ-โมย] หมายถึง
๑) (น.) ผู้ลักทรัพย์
ขโมย ๒) (ก.) ลัก โดยปริยายหมายถึง ลอบทาสิ่งที่
ตนไม่มีสิทธิ์หรือไม่ได้รับอนุญาต เช่น
เขาขโมยอ่านจดหมายเพื่อน.
ทบทวน
ความรู้เดิม
สรรค์ นักเรียนสังเกตคาที่ยกตัวอย่าง
สัน ว่ามีอะไรเหมือนกันและ
แตกต่างกันบ้าง
สรร
การ นักเรียนสังเกตคาที่ยกตัวอย่าง
กาล ว่ามีอะไรเหมือนกันและ
แตกต่างกันบ้าง
กาฬ
ครรภ์ นักเรียนสังเกตคาที่ยกตัวอย่าง
คัน ว่ามีอะไรเหมือนกันและ
แตกต่างกันบ้าง
คันธ์
๑ บอกความหมายของคาพ้องเสียงได้

จุดประสงค์ ๒ อ่านและเขียนคาพ้องเสียงได้

การเรียนรู้ ๓ ตระหนักถึงการใช้คาพ้องเสียงให้ถูกต้อง
เพิ่มเติม
ความรู้ใหม่
คาพ้องในภาษาไทย
๑) คาพ้องรูป ๒)๒)คคาพ้
าพ้อองเสี
งเสียงยง ๓) คาพ้องความหมาย
คาพ้องเสียง คือ
คาที่อ่านออกเสียงเหมือนกัน
แต่เขียนต่างกัน และมีความหมายต่างกัน
๑) คาที่อ่านออกเสียงว่า “กด”

กด หมายความว่า บังคับลง ใช้กาลังดันให้ลดลง

กฎ หมายความว่า จดไว้เป็นหลักฐาน ข้อกาหนด


๒) คาที่อ่านออกเสียงว่า “ข้า”
ข้า หมายความว่า คน ข้าพเจ้า ฉัน

ค่า หมายความว่า มูลค่าหรือราคาของสิ่งใด ๆ

ฆ่า หมายความว่า ทาให้ตาย


๓) คาที่อ่านออกเสียงว่า “พาน”

พาน หมายความว่า พบปะ, ภาชนะมีเชิงประเภทหนึ่ง

พาล หมายความว่า เกเร


๔) คาที่อ่านออกเสียงว่า “ว่า”

ว่า หมายความว่า พูด บอก

หว้า หมายความว่า ชื่อต้นไม้ขนาดใหญ่ผลสุกมีสีม่วงดา


๕) คาที่อ่านออกเสียงว่า “สะ-หมุด”

สมุด หมายความว่า กระดาษที่ทาเป็นเล่ม

สมุทร หมายความว่า ทะเลที่มีขนาดใหญ่ ทะเลลึก


เกม...
รู้เสียง
ไม่รู้ใจ
ของฝากจากครู
ให้หนูคนเก่ง
ของฝากจากครูให้หนูคนเก่ง
บทบาทครูปลายทาง
๑. ครูแจกใบงานที่ ๒ เรื่อง รู้จักคาพ้องเสียง
๒. ครูอธิบายขั้นตอนการทาใบงานเพิ่มเติม
๓. ครูสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมและบันทึกผล
บทบาทนักเรียน
๑. นักเรียนฟังคาชี้แจงการทาใบงานที่ ๒ เรื่อง รู้จักคาพ้องเสียง
๒. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมใบงานที่ ๒ เรื่อง รู้จักคาพ้องเสียง
ของฝากจากครูให้หนูคนเก่ง
คาชี้แจง : ให้นักเรียนนาคาพ้องเสียงที่กาหนดให้เติมในประโยคให้ถูกต้อง

๑. คุณยายเก็บดอก_____ไปบูชาพระ_____รูปทุกวัน_____ (พุทธ พุด พุธ)

๒. _____ราชการผู้หนึ่งถูกโจร_____เพื่อชิงทรัพย์สินมี_____ (ค่า ข้า ฆ่า)


ของฝากจากครูให้หนูคนเก่ง
๓. เขา____กระบุงสาหรับใส่ข้าว____บริเวณ____พระภูมิ (สาร สาน ศาล)

๔. หญิงสาวเลือก_____แต่เสื้อผ้าสี_____สดใสเพื่อใส่ไปงานเลี้ยง (สัน สรร)

๕. ฉัน_____ได้ทาให้บ้านถูกไฟ_____ (ไหม้ ไม่)

๖. ฉันเห็นร้านช่าง_____นาสาย_____มาโยงรอบบ้าน (สิญจน์ ศิลป์)


ของฝากจากครูให้หนูคนเก่ง
๗. เถาวัลย์_____นี้เลื้อยลาต้นเกี่ยว_____ต้นไม้ใหญ่ (พัน พันธุ)์

๘. เมื่อวัน_____ต้น_____ที่หน้าบ้านโค่นล้ม (จันทร์ จันทน์)

๙. คุณ_____บอกให้คุณปู่ตัด_____หน้าบ้านให้โล่งเตียน (หญ้า ย่า)

๑๐. คนส่วนใหญ่ชอบเลี้ยงสุนัขเพราะเป็น____ที่มีความซื่อ____ (สัตย์ สัตว์)


สรุป
บทเรียน
เฉลยใบงานที่ ๒
คาชี้แจง : ให้นักเรียนนาคาพ้องเสียงที่กาหนดให้เติมในประโยคให้ถูกต้อง

๑. คุณยายเก็บดอก_____ไปบูชาพระ_____รูปทุกวัน_____ (พุทธ พุด พุธ)

๒. _____ราชการผู้หนึ่งถูกโจร_____เพื่อชิงทรัพย์สินมี_____ (ค่า ข้า ฆ่า)


เฉลยใบงานที่ ๒
๓. เขา____กระบุงสาหรับใส่ข้าว____บริเวณ____พระภูมิ (สาร สาน ศาล)

๔. หญิงสาวเลือก_____แต่เสื้อผ้าสี_____สดใสเพื่อใส่ไปงานเลี้ยง (สัน สรร)

๕. ฉัน_____ได้ทาให้บ้านถูกไฟ_____ (ไหม้ ไม่)

๖. ฉันเห็นร้านช่าง_____นาสาย_____มาโยงรอบบ้าน (สิญจน์ ศิลป์)


เฉลยใบงานที่ ๒
๗. เถาวัลย์_____นี้เลื้อยลาต้นเกี่ยว_____ต้นไม้ใหญ่ (พัน พันธุ)์

๘. เมื่อวัน_____ต้น_____ที่หน้าบ้านโค่นล้ม (จันทร์ จันทน์)

๙. คุณ_____บอกให้คุณปู่ตัด_____หน้าบ้านให้โล่งเตียน (หญ้า ย่า)

๑๐. คนส่วนใหญ่ชอบเลี้ยงสุนัขเพราะเป็น____ที่มีความซื่อ____ (สัตย์ สัตว์)


นักเรียนคิดว่าคาพ้องเสียง
มีความสาคัญอย่างไร
การเรียนเรื่องคาพ้องเสียงทาให้เห็นถึงความหลากหลายของคา
ถึงแม้จะมีเสียงเหมือนกันแต่ความหมายจะแตกต่าง
และสามารถเลือกใช้คาให้ตรงกับบริบทได้
ว่าพลางทางชมคณานก โผนผกจับไม้อึงมี่
เบญจวรรณจับวัลย์ชาลี เหมือนวันพี่ไกลสามสุดามา
นางนวลจับนางนวลนอน เหมือนพี่แนบนวลสมรจินตะหรา
จากพรากจับจากจานรรจา เหมือนจากนางสการะวาตี
แขกเต้าจับเต่าร้างร้อง เหมือนร้างห้องมาหยารัศมี
นกแก้วจับแก้วพาที เหมือนแก้วพี่ทั้งสามสั่งความมา
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย : อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง
สิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม
สามารถดาวน์โหลดได้ที่ www.dltv.ac.th

๑. ใบความรู้ที่ ๓ เรื่อง คาพ้องความหมาย


๒. ชุดกิจกรรม คาพ้องความหมาย
๓. พจนานุกรมฉบับนักเรียน
๔. ใบงานที่ ๓ เรื่อง รู้จักคาพ้องความหมาย
บทเรียนครั้งต่อไป
“คาพ้องความหมาย”
รายวิชาภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔

You might also like