You are on page 1of 23

รายงาน

เรื่อง วรรณกรรมพื้นบ้านภูมิปัญญาทางภาษา

จัดทำโดย

นายรัฐนันท์ โพธิศาล

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/14 เลขที่ 6 ข

เสนอ

คุณครูนงนุช ปั ญญาศรี

รายงานเล่มนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชาภาษาไทย

ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564


2

โรงเรียนสารคามพิทยาคม
1

คำนำ

รายงานเล่มนีเ้ ป็ นส่วนหนึง่ ของรายวิชาภาษาไทย จัดทำ


ขึน
้ มาเพื่อศึกษาเกี่ยวกับวรรณกรรมพื้นบ้านภูมิปัญญาทางภาษา
เพื่อให้ผู้อา่ นและผู้ที่สนใจได้ใช้ประโยชน์ และได้รับความรู้จาก
เนื้อหาของรายงานเล่มนี ้

ผู้จัดทำคาดหวังเป็ นอย่างยิ่งว่าการจัดทำรายงานเล่มนีจ
้ ะมี
ข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ตอ
่ ผู้ที่สนใจศึกษาเป็ นอย่างดี

รัฐนันท์ โพธิศาล

ผู้จัดทำ
2
3

สารบัญ

เรื่อง
หน้า

คำนำ

สารบัญ

ความหมายของวรรณกรรมพื้นบ้าน และภูมิปัญญาทางภาษา
1

ลักษณะของวรรณกรรมพื้นบ้าน
2 ประเภทของวรรณกรรมพื้นบ้าน

วรรณกรรมพื้นบ้านภาคเหนือ
3

วรรณกรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
5

วรรณกรรมภาคใต้
7
2

วรรณกรรมภาคกลาง
8

บรรณานุกรม
10
วรรณกรรมพื้นบ้านภูมิปัญญาทางภาษา

ความหมายของวรรณกรรมพื้นบ้าน และภูมิปัญญาทางภาษา

 วรรณกรรมพื้นบ้าน

คือ หมายถึงวรรณกรรมที่ถ่ายทอดอยูใ่ นวิถีชีวิตชาวบ้าน


โดยถ่ายทอดด้วยวิธีการบอกเล่าปากต่อปากและเขียนเป็ นลาย
ลักษณ์อักษร วรรณกรรมที่เกิดขึน
้ ในท้องถิ่นต่างๆ มีความเป็ น
เอกลักษณ์เฉพาะตัวไม่เหมือนใคร ใช้ภาษาและสำเนียงพื้นบ้าน
ตามท้องถิ่นนัน
้ ๆ โดยเกิดขึน
้ จากวิถีชีวิตความเป็ นอยู่ของผู้คนใน
ท้องถิ่น รวมถึงจารีต ประเพณี ทัศนคติ ค่านิยม ตลอดจนความ
เชื่อของคนในท้องถิ่นนัน
้ ๆ ในอีกทาง วรรณกรรมพื้นบ้านก็ได้
กลายเป็ นส่วนหนึง่ ของวิถีชีวิต และวัฒนธรรมท้องถิน
่ นัน
้ ๆ ด้วย
โดยเป็ นบันทึกทางวัฒนธรรมที่แสดงออกด้วยภูมิปัญญาทาง
ภาษาที่ลุ่มลึก

 ภูมิปัญญาทางภาษา

คือความสามารถของคนโบราณในการที่จะแฝงข้อคิด
สภาพสังคม องค์ความรู้ ตลอดจนความงดงามและความบันเทิง
ต่างๆ ไว้ในสื่อที่เป็ นภาษา ทัง้ วรรณกรรมและบทเพลง โดยผู้รับ
สารจะต้องวิเคราะห์เนื้อหาที่แฝงอยู่ในสารนัน
้ ๆ ด้วยตนเอง ไม่
เช่นนัน
้ ก็อาจจะได้รับเพียงความบันเทิงอย่างเดียว
วรรณกรรมพื้นบ้าน

ลักษณะของวรรณกรรมพื้นบ้าน

1. เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาจากมุขปาฐะ คือ


เป็ นการเล่าสืบต่อกันมาจากปากต่อปากและแพร่หลายกันอยู่ใน
กลุ่มชนท้องถิ่น

2. เป็ นแหล่งข้อมูลที่บันทึกข้อมูลด้านขนบธรรมเนียมประเพณี
ของกลุ่มชนท้องถิ่น อันเป็ นแบบฉบับให้คนยุคต่อมาเชื่อถือและ
ปฏิบัตต
ิ าม

3. มักไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง เพราะเป็ นเรื่องที่บอกเล่าสืบต่อกันมา


จากปากต่อปาก

4. ใช้ภาษาท้องถิน
่ ลักษณะถ้อยคำเป็ นคำง่ายๆ สื่อความหมาย
ตรงไปตรงมา

5. สนองความต้องการของกลุ่มชนในท้องถิ่น เช่น เพื่อความ


บันเทิง เพื่ออธิบายสิ่งที่คนในสมัยนัน
้ ยังไม่เข้าใจ เพื่อสอน
จริยธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีและพฤติกรรมด้านต่างๆ
ประเภทของวรรณกรรมพื้นบ้าน

จำแนกโดยอาศัยเขตท้องถิ่นได้ ๔ ประเภท คือ

1.วรรณกรรมพื้นบ้านภาคเหนือ (วรรณกรรมล้านนา)

วรรณกรรมพื้นบ้านภาคเหนือส่วนใหญ่เป็ นเรื่องที่มาจาก
ปั ญญาสชาดก กวีพ้น
ื บ้านได้เนื้อหามาจากชาดกเรื่องนีม
้ า
ประพันธ์ดว้ ยฉันทลักษณ์ของท้องถิ่น เช่น โคลง ค่าวธรรม ค่าว
ซอ เป็ นต้น วรรณกรรมพื้นบ้านภาคเหนือ มี ๔ ประเภทคือ
วรรณกรรมโคลง วรรณกรรมค่าวธรรม วรรณกรรมค่าวซอ และ
วรรณกรรมเบ็ดเตล็ด

 วรรณกรรมประเภทโคลง

โคลง หรือเรียกตามสำเนียงท้องถิน
่ ภาคเหนือว่า กะโลง เป็ น
ฉันทลักษณ์ที่เจริญรุ่งเรืองในสมัยราชวงศ์มังรายตอนปลาย กวี
สมัยอยุธยาได้นำรูปแบบโคลงของภาคเหนือมาประพันธ์เป็ น
โคลงสอง โคลงสาม และโคลงสี่ ตัวอย่างวรรณกรรมโคลงของ
ภาคเหนือที่ร้จ
ู ักกันแพร่หลาย ได้แก่ โคลงหงส์ผาคำ โคลงพรหม
ทัต โคลงเจ้าวิทูรสอนหลาน โคลงพระลอสอนโลก โคลงปทุม
สงกา เป็ นต้น

 วรรณกรรมประเภทค่าวธรรม
ค่าวธรรม หรือ ธรรมค่าว คือ วรรณกรรมที่ประพันธ์ตามแนว
ชาดก ฉันทลักษณ์ของค่าวธรรมส่วนใหญ่ เป็ นร่ายยาว แทรก
คาถาภาษาบาลี ภิกษุจะนำค่าวธรรมมาเทศน์ในอุบาสกอุบาสิกา
ฟั งในวันอุโบสถศีล ค่าวธรรมจึงจัดเป็ นวรรณกรรมศาสนา
ตัวอย่างวรรณกรรมค่าวธรรม เช่น พรหมจักร บัวรมบัวเรียว
มหาวงศ์แตงอ่อน จำปาสี่ต้น แสงเมืองหลงถ้ำ สุพรหมโมขะ หงส์
ผาคำ วัณณพราหมณ์ เป็ นต้น

 วรรณกรรมประเภทค่าวซอ

ค่าวซอ เป็ นคำประพันธ์ภาคเหนือรูปแบบหนึ่ง นิยมนำมาอ่านใน


ที่ประชุมชน เรียกว่า เล่าค่าว หรือใส่ค่าวเนื้อเรื่องเป็ นนิทานพื้น
บ้าน เป็ นที่นย
ิ มของชาวบ้าน เพราะได้ฟังเสียงไพเราะจากผู้อ่าน
และได้รับความเพลิดเพลินจากเนื้อเรื่องนิทาน การอ่านค่าวนิยม
ในงานขึน
้ บ้านใหม่ งานแต่งงาน บวชลูกแก้ว (บวชเณร) และงาน
ปอยเข้าสังข์ (งานทำบุญอุทิศส่วนกุศลแก่ผู้ล่วงลับ) ได้แก่ วรรณ
พราหมณ์ หงส์หน
ิ จำปาสี่ตน
้ บัวระวงศ์หงส์อำมาตย์ เจ้าสุวัตร
นางบัวคำ ก่ำก๋าดำ เป็ นต้น

 วรรณกรรมเบ็ดเตล็ด
1. คำอู้บา่ วอู้สาว เป็ นคำสนทนาเกีย
้ วพาราสีของหนุ่มสาวชาว
บ้านลานนาในอดีต
2. การจ๊อย เป็ นการขับลำนำโดยไม่มีดนตรีบรรเลงประกอบ
เนื้อหาเป็ นการคร่ำครวญถึงความรักระหว่างชายหนุ่มกับ
หญิงสาว
3. คำเรียกขวัญหรือคำร้องขวัญ เป็ นบทสวดสู่ขวัญใช้ใน
พิธีกรรมต่างๆ เช่น คำเรียกขวัญของคู่บ่าวสาว คำเรียกขวัญ
ควาย เป็ นต้น
4. การซอหรือซอ เป็ นการขับลำค่อนข้างจะมีพิธีรีตอง คือช่าง
ซอจะต้องได้รับการฝึ กฝนและมีดนตรีประกอบ
2.วรรณกรรมพื้นบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

 วรรณกรรมพุทธศาสนา

วรรณกรรมพุทธศาสนา ได้แก่ วรรณกรรมชาดก และวรรณกรรม


ตำนานพุทธศาสนา

1. วรรณกรรมชาดก คือ วรรณกรรมที่พระภิกษุนำมาเทศน์


เช่น ลำมหาชาติ สุวรรณสังข์ชาดก ท้าวโสวัต พระยาคัน
คาก มาลัยหมื่นมาลัยแสน
2. วรรณกรรมตำนานพุทธศาสนา คือ วรรณกรรมที่กล่าวถึง
ตำนานพุทธเจดียใ์ นภาคอีสานรวมทัง้ ล้านช้างและล้านนา
ด้วย ได้แก่ อุรังคนิทาน (ตำนานพระธาตุพนม) มูลสถาปนา
(ตำนานกำเนิดโลกและจักรวาล) ชินธาตุ ชมพูทวีป (กล่าว
ถึงกำเนิดโลก จักรวาล การสืบศากวงศ์ และการแพร่
ศาสนา) กาลนับมื้อส้วย (พุทธทำนายการสิน
้ สุดศาสนาเมื่อ
พ.ศ. ๕๐๐๐)
 วรรณกรรมประวัติศาสตร์
วรรณกรรมประเภทนีม
้ ีจำนวนน้อยกว่าวรรณกรรมพุทธศาสนา
เช่น มหากาพย์ ท้าวฮุ่ท้าวเจือง ขุนบรม พื้นเวียง พงศาวดาร
จำปาศักดิ ์

 วรรณกรรมนิทาน

ภาคอีสานมีวรรณกรรมนิทานเป็ นจำนวนมาก นิยมนำมาอ่านให้


ฟั งในงานเฮือนดี (งานศพ) หรือนำมาเทศน์ในระหว่างเข้าพรรษา
ที่เรียกว่า “เทศน์ไตรมาส” นอกจากนี ้ หมอลำยังนิยมนำ
วรรณกรรมนิทานมาขับลำในการแสดงที่เรียกว่าลำเรื่อง หรือลำ
พื้น ตัวอย่างวรรณกรรมนิทานที่สำคัญและได้รับความนิยม เช่น
สินไซ ไก่แก้ว นางผมหอม จำปาสี่ตน
้ กำพร้าผีนอ
้ ย ท้าวสีทน
พระลักพระลาม ไก่แก้ว นางแตงอ่อน กาละเกด ผาแดง–นางไอ่
ท้าวขูลู–นางอัว้ เป็ นต้น

 วรรณกรรมคำสอน

วรรณกรรมรูปแบบนีม
้ ีเนื้อหาสอนใจ ในแนวทางดำเนินชีวต
ิ ใน
ครอบครัวและสังคม โดยยึดคติธรรมในศาสนาและจารีตท้องถิ่น
ตัวอย่างเช่น กาพย์ปู่สอนหลาน กาพย์หลานสอนปู ่ ฮีตสิบสอง
คองสิบสี่ อินทิญาณสอนลูก พระยาคำกองสอนไพร่

 วรรณกรรมเบ็ดเตล็ด
1. วรรณกรรมที่ใช้ในพิธีกรรมต่างๆ ได้แก่ บทสูดขวน (บทสู่
ขวัญ) บทสูดขวนอยู่กรรม (บทสู่ขวัญแม่ลูกอ่อน) บทสูด
ขวนเฮือน (บทสู่ขวัญขึน
้ บ้านใหม่) บทสูดขวนวัวควาย (บทสู่
ขวัญวัวควาย)
2. วรรณกรรมที่ใช้ในพิธีกรรมขอฝนหรือการแห่บงั ้ ไฟ ได้แก่
คำเซิง้ ต่างๆ คำเซิง้ บัง้ ไฟ คำเซิง้ นางแมว (แห่นางแมว)
3. วรรณกรรมที่ใช้เกีย
้ วพาราสีระหว่างหนุ่มสาว นีเ้ รียกว่า
“ผญาเครือ” คือคำพูดโต้ตอบหนุ่มสาวที่เกีย
้ วกัน
4. นิทานเล่าเพื่อความสนุกสนานและตลกขบขัน เช่น เซียง
เมี่ยง โตงโตง นิทานก้อม และกลอนรำต่างๆ
3.วรรณกรรมพื้นบ้านภาคใต้

วรรณกรรมพื้นบ้านภาคใต้ แบ่งได้เป็ น ๓ รูปแบบ คือ


วรรณกรรมที่ได้รับอิทธิพลจากวรรณกรรมพื้นบ้านภาคกลาง
วรรณกรรมที่สร้างสรรค์ขน
ึ ้ เอง และวรรณกรรมเบ็ดเตล็ด แต่ละ
รูปแบบมีรายละเอียดดังนี ้

 วรรณกรรมที่ได้รับอิทธิพลจากวรรณกรรมพื้นบ้านภาคกลาง

วรรณกรรมที่ได้รับอิทธิพลจากวรรณกรรมพื้นบ้านภาคกลาง
หมายถึง วรรณกรรมที่คัดลอกต้นฉบับมาจากภาคกลาง แต่ผู้คัด
ลอกนำมาปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงเนื้อเรื่องบางตอนตามความ
คิดเห็นของตน โดยยังคงฉันทลักษณ์เดียวกับต้นฉบับ แต่มีสำนวน
ภาษาท้องถิ่นปะปนอยู่บา้ ง เช่น พระรถเสนคำกาพย์ สุบินกุมาร
จันทโครพ รามเกียรติ ์ ลักษณวงศ์ อุณรุท เป็ นต้น

 วรรณกรรมที่สร้างสรรค์ขน
ึ ้ เอง
วรรณกรรมรูปแบบนี ้ เป็ นวรรณกรรมที่กวีพ้น
ื บ้านภาคใต้นำโครง
เรื่องจากนิทานในท้องถิ่น

หรือนำโครงเรื่องมาจากภาคกลาง แต่ประพันธ์ขน
ึ ้ ใหม่ด้วยด้วย
ฉันทลักษณ์ท้องถิ่น เช่น ชาลวันคำกาพย์สุวรรณสิน สัปดนคำ
กาพย์ สังข์ทองคำกาพย์ พระแสงสุริยฉายคำกาพย์ พระวรเนตร
คำกาพย์ เป็ นต้น

 วรรณกรรมเบ็ดเตล็ด

วรรณกรรมรูปแบบนี ้ ได้แก่ ตำรา เช่น ตำราดูลักษณะสตรี ตำรา


ดูลักษณะสัตว์ ตำรายา ตำราโชคชะตาราศี แบบเรียนที่คัดลอก
มาจากภาคกลาง เช่น จินดามณี ประถม ก กา ปฐมมาลา

4.วรรณกรรมพื้นบ้านภาคกลาง

 วรรณกรรมประเภทกลอนสวด

วรรณกรรมที่ประพันธ์ด้วยกาพย์ยานี กาพย์ฉบัง และกาพย์


สุรางคนางค์ การสวดหนังสือ คือ การอ่านวรรณกรรมเป็ นทำนอง
ต่างๆ สวดโอ้เอ้วิหารราย หรือโอ้เอ้ศาลาราย สวดมาลัย สวด
คฤหัสถ์ นอกจากผู้ฟังจะได้รับความเพลิดเพลินบันเทิงใจแล้ว ยัง
ได้คติธรรมเป็ นแนวทางในการดำเนินชีวิตที่ดีประเพณีการสวด
หนังสือนิยมปฏิบัตใิ นวัด มีการสวดในครัวเรือนบ้าง เพื่อเป็ น
กิจกรรมบันเทิงยามว่าง ได้แก่ สังข์ศิลป์ ชัยกลอนสวด สุบินกลอน
สวด ปลาบู่ทอง โสนน้อยเรือนงาม เป็ นต้น

 วรรณกรรมประเภทกลอนบทละครนอก

เป็ นกลอนที่เลือกประพันธืเป็ นตอนๆ เพื่อใช้เป็ นบทละครตอน


หนึ่งๆ จะเลือกเนื้อเรื่องตอนที่สนุกสนานจากวรรณกรรมท้องถิ่น
มาทำบทละคร จึงพบต้นฉบับเป็ นตอนๆ ไม่จบเรื่องบริบูรณ์
ละครนอกเป็ นการแสดงของชาวบ้านที่นย
ิ มกันในสมัยกรุง
ศรีอยุธยาถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ลักษณะบทประพันธ์ไม่
เคร่งครัดฉันทลักษณ์ ใช้สำนวนโวหารเรียบง่ายฉบับชาวบ้านและ
ไม่นิยมใช้ราชาศัพท์ วรรณกรรมท้องถิ่นภาคกลางประเภทกลอน
บทละครนอก ได้แก่ เรื่องพิกุลทอง โม่งป่ า มณีพิชย
ั โคบุตร ไชย
เชษฐ์ พระรถ–เมรี สังข์ทอง มโนห์รา เป็ นต้น

 วรรณกรรมประเภทกลอนนิทาน
วรรณกรรมประเภทกลอนนิทานต่างจากวรรณกรรมประเภท
กลอนบทละครนอกเพราะนิยมประพันธ์จนจบเรื่องบริบูรณ์ ใน
สมัยที่กิจการโรงพิมพ์เจริญรุ่งเรือง ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่
หัว การพิมพ์กลอนนิทานออกจำหน่ายได้รบ
ั ความสนใจจากผู้อ่าน
อย่างยิ่ง ประชาชนนิยมซื้อกลอนนิทานมาอ่านสู่กันฟั งในครัว
เรือน ได้แก่ โสนน้อยเรือนงาม ปลาบู่ทอง นางสิบสอง โคบุตร
จันทโครพ การะเกด โม่งป่ า พิกุลทอง มณีพิชัย เป็ นต้น

 วรรณกรรมประเภทกลอนแหล่

กลอนแหล่ คือ การนำเนื้อเรื่องตอนใดตอนหนึ่งในมหาเวสสันดร


ชาดก มาประพันธ์เป็ นรูปแบบกลอนแหล่ เรียกว่า แหล่ใน หรือ
นำบางตอนของนิทานพื้นบ้านมาประพันธ์เรียกว่าแหล่นอก
นอกจากนีย
้ ังมีการประพันธ์กลอนแหล่ประเภทเบ็ดเตล็ด เช่น
กลอนแหล่บายศรี กลอนแหล่ให้พร กลอนแหล่ทำขวัญนาค การ
แหล่เป็ นการขับลำนำชนิดหนึ่งที่อนุญาตให้พระภิกษุเป็ นผู้ขับ
ลำนำได้โดยไม่ถือว่าผิดศีลเพราะเนื้อหาการแหล่มาจากชาดก
การแหล่มีลักษณะการเอื้อนและใช้เสียงสูงต่ำคล้ายกับการอ่าน
ทำนองเสนาะ ภิกษุนักแหล่ที่มีความสามารถมักจะใช้ปฏิภาณด้น
กลอนสด จึงมีเนื้อเรื่องบางตอนที่ออกนอกชาดกบ้าง
บรรณานุกรม

https://sites.google.com/site/poranatcha/wrrn

นางสาวรวีวรรณ เรืองธรรม และนางสาวเบญจมภรณ์


แนมขุนทด

You might also like