You are on page 1of 36

เอกสารประกอบการสอน

เรื่ อง หนังสืออ้ างอิง


รายวิชา การใช้ ห้องสมุด (ง20227)
โดย ครูสภุ าภรณ์ เขียวหวาน
kootoon62.blogspot.com
โรงเรี ยนนวมินทราชินทู ิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ
หนังสืออ้างอิงมีลกั ษณะพิเศษที่แตกต่างจากหนังสือทัวไป ่ ทัง้ ลักษณะ
รูปเล่มและเนื้ อหา ดังนี้
1. ลักษณะรูปเล่มของหนังสืออ้างอิงมีความหลากหลาย
ขึน้ อยูก่ บั ประเภทของหนังสืออ้างอิง เช่น
1.1 ขนาดใหญ่มาก หรือขนาดเล็กมาก ได้แก่หนังสือพจนานุ กรม
จัดทํารูปแบบให้เหมาะสมกับการใช้ เช่น ฉบับนักเรียนนักศึกษา ฉบับตัง้ โต๊ะ
ฉบับย่อ ฉบับสมบูรณ์
1.2 แต่ละชุดมีหลายเล่ม ได้แก่ หนังสือสารานุ กรม เนื่องจากมี
การรวบรวมเนื้อหาทุกเรือ่ งทําให้เนื้อหายาว จําเป็ นต้องทําหลายเล่ม
1.3 มีการจัดทําด้วยวัสดุต่าง ๆ หลากหลาย เช่น ทําปกด้วยหนัง
ผ้า ผ้าไหมผ้าแรกซีน กระดาษทีใ่ ช้พมิ พ์เนื้อหามีคุณภาพสูง
2. ผู้รบั ผิดชอบในการจัดทํา เป็ นบุคคลหรือหน่ วยงานที่มีความ
น่ าเชื่อถือ
ผูเ้ ขียนเป็ นผูท้ รงคุณวุฒแิ ละเชีย่ วชาญในสาขาวิชานัน้ ๆ โดยเฉพาะ หนังสือ
อ้างอิงจึงเป็ นหนังสือทีม่ คี ณ
ุ ภาพสูง เนื้อหาเชือ่ ถือได้ และใช้เป็ นหลักฐาน
อ้างอิงได้
3. มีคาํ ชี้แจงการใช้ หนังสืออ้างอิงแต่ละประเภทมักมีการจัดเรียงเนื้อหา
หรือการรวบรวมข้อมูลต่างกัน ดังนัน้ จึงมีการจัดพิมพ์คาํ แนะนําในการใช้
หนังสือไว้ตอนต้นของหนังสือแต่ละเล่ม
4. จัดทําเครื่องมือช่วยในการค้นภายในเล่มหรือในชุด
5. การเรียบเรียงเนื้ อหา การเรียงเนื้ อหาของหนังสืออ้างอิง
จะมีวิธีการเรียงลําดับเนื้ อหาให้ค้นได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว เช่น
5.1 เรียงตามลําดับอักษรแบบพจนานุกรม (alphabetical or dictionary
arrangement) เช่น หนังสือพจนานุกรม สารานุกรม เป็ นต้น
5.2 เรียงตามลําดับเหตุการณ์ เช่น หนังสือเกีย่ วกับประวัตศิ าสตร์ หนังสือราย
ปี หนังสือสมพัตสร เป็ นต้น
5.3 การเรียงตามลําดับหมวดหมู่หรือหัวเรือ่ ง (classified or subject
arrangement) เช่น หนังสือบรรณานุกรม ดรรชนีวารสาร เป็ นต้น
5.4 เรียงตามลักษณะภูมิศาสตร์ (geographical arrangement) ได้แก่หนังสือ
อ้างอิงทางภูมศิ าสตร์ ทีม่ กี ารแบ่งเนื้อหาออกเป็ นภูมภิ าคต่าง ๆ และในแต่ละ
ภูมภิ าคจะเรียงเนื้อหาตามจังหวัดและอําเภอตามลําดับ
าศัพท์เฉพาะวิชา
ใช้ค้นเกี่ยวกับคําศัพท์ทวไปและคํ
ั่
-ให้คาํ อธิบายเกีย่ วกับ ความหมาย การออกเสียง
การสะกดคํา ประเภทของคํา ประวัตขิ องคํา การใช้คาํ คําพ้อง คําตรงกันข้าม คําย่อ
อักษรย่อ และอืน่ ๆ เป็ นคําอธิบายอย่างสัน้ ๆเกีย่ วกับคํานัน้
-เรียบเรียงคําศัพท์ตามลําดับตัวอักษร
พจนานุกรม แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ
พจนานุ กรมภาษา(General Dictionanries)
พจนานุ กรมเฉพาะวิชา(Subject Dictionaries)
ใช้ค้นความรู้พนื้ ฐานของวิชาทุกแขนง และข้อมูลสัน้ ๆของเรื่องราวต่าง ๆ

-เป็ น บทความเกี่ย วกับ ประวัติค วามเป็ น มาวิว ฒั นาการ และความรู้ในเรื่อ ง


ทัว่ ๆไป หรือ เฉพาะสาขาวิช าใดวิช าหนึ่ ง ได้ แ ก่ บุ ค คล สัต ว์ ส ถานที่ท าง
ภูมศิ าสตร์เหตุการณ์สาํ คัญๆ และอืน่ ๆ เป็ นข้อมูลเบือ้ งต้นในการศึกษาค้นคว้า
-เรียบเรียงตามลําดับอักษรของเรื่องหรือหัวเรื่องของบทความ มีดรรชนีช่วย
ค้นหาเนื้อเรือ่ งภายในเล่มหรือชุด
สารานุกรม แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ
สารานุ กรมทั ่วไป(General Encyclopedias)
สารานุ กรมเฉพาะวิชา(Subject Encyclopedias)
ใช้ค้นเหตุการณ์สาํ คัญ สถิติที่น่าสนใจในรอบปี ในทุกด้าน

-ให้ขอ้ เท็จจริง เรือ่ งราว เหตุการณ์และ สถิตใิ นด้านต่างๆทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศ


ต่างๆ ในรอบปี ทผ่ี า่ นมา (สมพัตสร)
-ให้ขอ้ เท็จจริงของหน่วยงานราชการ องค์กรสถาบันต่างๆ เพือ่ รายงานผลงานที่
กระทําในรอบปี ทผ่ี า่ นมา (รายงานประจําปี )
- เรียงลําดับตามหัวข้อเรือ่ งหรือตามระยะเวลา มีสารบัญหรือดรรชนีชว่ ยค้นหา
เนื้อเรือ่ ง
หนังสือรายปี แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ
สมพัตสร (Almanac)
รายงานประจําปี (Annual report)
ใช้ค้นชีวประวัติของบุคคลสําคัญ ผูม้ ีชื่อเสียงทัวไปทั
่ ง้ ในระดับชาติ
นานาชาติและ ผูเ้ ชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพต่างๆ

-ให้รายละเอียดเกีย่ วกับชือ่ นามสกุล ปี เกิด ปี ตายภูมลิ ําเนา ประวัตกิ ารศึกษา


อาชีพ ผลงาและอืน่ ๆ
-เรียงรายชือ่ ตามลําดับอักษรชือ่ เจ้าของชีวประวัติ
ใช้ในการค้นหาที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ของบุคคล และนิติบคุ คล
-รวบรวมรายชือ่ บุคคลนิตบิ ุคคล เช่น องค์กรสมาคม ห้างร้าน เป็ นต้น
-ให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับ ทีอ่ ยูแ่ ละหมายเลขโทรศัพท์ของชือ่ บุคคล ถ้าเป็ นนิตบิ ุคคล
ให้รายละเอียดเพิม่ เติมอืน่ ๆ เช่น รายนามผูบ้ ริหาร วัตถุประสงค์การจัดตัง้ ลักษณะการ
ดําเนินงาน ผลงาน และอืน่ ๆ
-เรียบเรียงส่วนใหญ่ จัดเรียงรายชือ่ ตามลําดับอักษรของชือ่ บุคคล หรือ หน่วยงาน
นามานุ กรม แบ่งเป็ น 4 ประเภท ดังนี้
นามานุ กรมท้องถิน่
นามานุ กรมสถาบัน
นามานุ กรมรัฐบาล
นามานุ กรมการค้าและธุรกิจ
ใช้ค้นหาเกี่ยวกับชื่อทางภูมิศาสตร์ ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ เช่น ประเทศ เมือง
แม่นํ้า ภูเขา สถานที่ ที่ตงั ้ อาณาเขต สภาพภูมประเทศ ภูมิอากาศ สภาพ
การเมือง เศรษฐกิจ ระยะทาง ประชากร ภาษา เงินตราที่ใช้ ฯลฯเป็ นต้น
-รวบรวมรายชื่อสถานที่ทางภูมิศาสตร์
-ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับสถานที่ตงั ้ ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ฯลฯ ของสถานทีต่ ่าง ๆ ได้แก่
ประเทศ จังหวัด อําเภอ ภูเขา มหาสมุทร ทะเล เกาะ แม่น้ํา ทีร่ าบสูง และสถานทีอ่ น่ื ๆ
-ให้รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวส่วนใหญ่ให้ขอ้ มูลทีจ่ าํ เป็ นสําหรับ นักท่องเทีย่ ว
-แสดงลักษณะพืน้ ที่ทางภูมิศาสตร์ของโลก เช่น ทีต่ งั ้ อาณาเขต สภาพภูมปิ ระเทศ ภูมอิ ากาศ
สภาพการเมือง เศรษฐกิจ เป็ นต้น
-เรียบเรียงตามลําดับอักษรของชือ่ ภูมศิ าสตร์ยกเว้นหนังสือแผนทีม่ ดี ชั นีช่วยค้น
แบ่งเป็ น 3 ประเภท ดังนี้
อักขรานุ กรมภูมศิ าสตร์ (Gazetteer)
หนังสือนําเทีย่ ว (Guidebooks)
หนังสือแผนที่ (Atlases)
ใช้ตอบคําถามเกี่ยวกับความรู้เบ็ดเตล็ด ความรู้รอบตัว
ใช้ค้นวิธีทาํ ขัน้ ตอน หรือวิธีปฏิบตั ิ การต่าง ๆ
-รวบรวมเรือ่ งราวข้อเท็จจริงเฉพาะด้าน และความรูร้ อบตัว
-ให้ขอ้ เท็จจริงตอบคําถามในเรือ่ งทีย่ าก หรือข้อเท็จจริงในการปฎิบตั งิ านด้านใดด้านหนึ่ง
- มีสารบัญและดรรชนีชว่ ยค้นเนื้อหาในเล่ม
หนังสือคู่มือ แบ่งเป็ น 2 ประเภท
หนังสือคูม่ อื ทัวไป

คูม่ อื ในการปฎิบตั งิ าน (Manuals)
ใช้ค้นหาบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร
-รวบรวมรายชื่อบทความทีต่ พี มิ พ์ในวารสารต่าง ๆ
-ให้รายละเอียดทางบรรณานุกรม ได้แก่ ชือ่ ผูเ้ ขียนบทความ ชือ่ บทความ ชือ่ วารสาร ปี ท่ี
ฉบับที่ วัน เดือน ปี ทผ่ี ลิต เลขหน้าขอบทความ และอาจมีสาระสังเขปประกอบ
-เรียบเรียงรายชือ่ บทความตามลําดับอักษรชือ่ ผูเ้ ขียนบทความและหัวเรือ่ ง
ดรรชนี วารสารแบ่งเป็ น 2 ประเภท
ดรรชนีวารสารทัวไป
่ (General periodical index)
ดรรชนีวารสารเฉพาะสาขาวิชา (Subject periodical index)
ใช้ค้นหารายชื่อทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่าง ๆ เช่น
หนังสือ วารสาร จุลสาร โสตทัศนวัสดุ เว็บไซต์ เป็ นต้น
-รวบรวมรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศต่าง ๆหลายสาขาวิชา และ เฉพาะสาขาวิชา
-ให้รายละเอียดทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศต่าง ๆ เช่น หนังสือ ได้แก่ ชือ่ ผูแ้ ต่ง
ชือ่ เรือ่ ง สถานทีพ่ มิ พ์ สํานักพิมพ์ ปี พมิ พ์ ราคา และอาจมีสาระสังเขปประกอบ ถ้าเป็ นวารสารจะ-
-ให้รายละเอียดของชื่อวารสาร ปี เริม่ แรกทีต่ พี มิ พ์กาํ หนดออก อัตราค่าสมาชิก และอืน่ ๆ
-เรียบเรียงรายการบรรณานุกรมตามลําดับอักษร
บรรณานุกรม แบ่งเป็ น 2 ประเภท
บรรณานุ กรมทัวไป ่ (General bibliographies)
บรรณานุ กรมเฉพาะวิชา (Subject bibliographies)
รวมประกาศของทางราชการทีม่ ผี ลบังคับเป็ นกฎหมาย เช่น ราชกิจจานุ เบกษา เป็ น
สิง่ พิมพ์รฐั บาลทีส่ าํ คัญให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับพระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา ประกาศของ
ทางราชการทีม่ ผี ลบังคับเป็ นกฎหมาย

-เอกสารสําคัญทีเ่ กิดจากการบริหารราชการแผ่นดินของประเทศเป็ นเอกสารทีจ่ ดั ทําโดย


ผูป้ ฏิบตั ิ งาน หรือผูเ้ ชี่ยวชาญในวงการรัฐบาล
- เป็ นเอกสารอ้างอิงแหล่งเดิมที่เชื่อถือได้มากที่สดุ
- เนื้อหาหลากหลายในทุกด้านและทุกสาขาวิชา
- มีความสําคัญต่อการศึกษาค้นคว้าวิจยั มากที่สดุ
ข้อคําถาม หนังสืออ้างอิงที่ใช้ค้น

ใคร อักขรานุ กรมชีวประวัตแิ ละนามานุ กรม

อะไร สารานุ กรม, ดรรชนี และพจนานุ กรม

เมื่อไร หนังสือแผนที,่ ประวัตศิ าสตร์, อักขรานุ กรมทางภูมศิ าสตร์(สมพัตรสร)และหนังสือรายปี

ทําไม ตํารา หนังสือคูม่ อื และหนังสือเพื่อการค้น

อย่างไร หนังสือคูม่ อื

ที่ไหน หนังสือแผนทีแ่ ละอักขรานุ กรมภูมศิ าสตร์


หนังสืออ้างอิง. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก : https://tanoo.wordpress.com/.
(วันทีค่ น้ ข้อมูล : 23 พฤศจิกายน 2558).
หนังสืออ้างอิง. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก:home.kku.ac.th/penpan/412102/refbook.pd.
(วันทีค่ น้ ข้อมูล : 23 พฤศจิกายน 2558).
จุฑามาศ ปานคีร.ี (ม.ป.ป.). หนังสืออ้างอิง. เข้าถึงได้จาก :
https://www.gotoknow.org/posts/440947
(วันทีค่ น้ ข้อมูล : 14 พฤศจิกายน 2561).

You might also like