You are on page 1of 21

เอกสารประกอบการสอน

เรื่ อง การเขียนรายงานและโครงงาน
รายวิชา การใช้หอ้ งสมุด (ง20227)
โดย ครู สุภาภรณ์ เขียวหวาน

โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ
สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ

kootoon.blogspot.com
ความหมายของรายงาน
รายงาน หมายถึง เรื่ องราวที่ได้ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่ อง
ใดเรื่ องหนึ่ งอย่างถูกต้อง สมบูรณ์ แล้วนําข้อมูลนั้นมาเรี ยบเรี ยงขึ้นใหม่
อย่างมี ระเบี ยบแบบแผน จากนั้นจึ งเขี ยน หรื อพิมพ์ข้ ึ นตามแบบแผนที่
นิยมเป็ นสากล
รายงานออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1.รายงานทัว่ ไป คือ รายงานเสนอข้อเท็จจริ งหรื อข้อคิดเห็นของบุคคล เพื่อให้ทราบ
ผลการปฏิบตั ิงานเหตุการณ์ต่างๆ หรื อความเคลื่อนไหว ทั้งที่ผา่ นไปแล้วหรื อดําเนิ นการอยู่
หรื อสิ่ งที่มีแนวโน้มจะเกิดขึ้นในอนาคต เช่น รายงานหรื อผลการดําเนิ นงานของหน่วยงาน
ทั้งนี้อาจรายงานเป็ นวาจาหรื อลายลักษณ์อกั ษรก็ได้ รายงานทัว่ ไปส่ วนมากจะเป็ นรายงานที่
ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาหรื อบุคคล/หน่วยงานที่ได้รับมอบหมายทําเสนอต่อผูบ้ งั คับบัญชาหรื อผูท้ ี่
เกี่ยวข้อง
รายงานออกเป็ น 2 ประเภท คือ
2.รายงานทางวิชาการ รายงานทางวิชาการมีที่นิยมเรี ยกกันสั้นๆ ว่า “รายงาน” ของ
หมายถึง เอกสารที่เป็ นผลการศึกษาค้นคว้า สํารวจ รวบรวม หรื อวิเคราะห์เรื่ องทางวิชาการ
เรื่ องใดเรื่ องหนึ่งแล้วนํามาเรี ยบเรี ยงอย่างมีระบบแบบแผนรายงานทางวิชาการส่ วนใหญ่จะ
เป็ นส่ วนหนึ่ง ของการศึกษารายวิชาใดวิชาหนึ่งซึ่ งอาจอยูใ่ นรู ปแบบของรายงานการค้นคว้า
รายงานประจําภาคหรื อภาคนิพนธ์ สาระนิ พนธ์ ปริ ญญานิ พนธ์วิทยานิ พนธ์ หรื อหน่วยงาน
การวิจยั
ในรายงาน 1 ฉบับ ต้ องมีส่วนประกอบ 3 ส่ วน คือ

1. ส่ วนประกอบตอนต้ น คื อ ส่ วนแรกที่ จ ะเจอก่ อ นเข้ า สู่ เนื้ อ หาของรายงาน


ประกอบด้ วย
ส่ วนประกอบตอนต้ น
ปกนอก เป็ นส่ วนที่หุม้ รายงานทั้งเล่ม ประกอบด้วย ปกหน้า ปกหลัง รวมถึงสัน ส่ วนนี้ ควรใช้
กระดาษที่มีความหนาหรื อแข็งพอสมควร และสี ก็ควรเหมาะกับเนื้ อหาภายในเล่มหรื ออาจะใช้ปกของ
โรงเรี ยน ปกนอก ประกอบด้วย
ชื่ อเรื่ องของรายงาน อยูห่ ่างจากขอบบนของหน้ากระดาษลงมาประมาณ 1.5 - 2 นิว้
โดยให้อยูก่ ่ ึงกลางกระดาษพอดี
ชื่ อ –นามสกุล ก็อยูก่ งึ่ กลางหน้ ากระดาษเหมือนกัน แต่ถา้ เป็ นรายงานกลุ่มให้ใ ส่ ชื่อ
ทุกคน โดยเรี ยงลําดับตามตัวอักษร
ชั้น –เลขที่ ขอให้เขียนแบบเป็ นทางการ เช่น ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ... ห้ อง เลขที่ โดย
ให้อยูก่ ่ ึงกลางหน้ากระดาษเช่นกัน
ส่ วนล่ างของหน้ าปกมีองค์ประกอบดังนี้ คือ ชื่อรายวิชา, ชื่อโรงเรี ยนหรื อสถาบัน,
ภาคการศึกษา ปี การศึกษา ซึ่งบรรทัดนี้ถือเป็ นล่างสุ ดของส่ วนล่างของปก ควรห่างจากขอบล่ าง
1.5 – 2 นิว้
ส่ วนประกอบตอนต้ น
หน้ าปกใน เป็ นส่ วนที่อยูต่ ่อจากปกนอก ข้อความเช่นเดียวกับปกนอก ตามลําดับต่อไปนี้
ชื่ อ เรื่ อ ง ให้ชื่อ เรื่ อ งของรายงานพิมพ์อ ยู่ตรงกึ่ งกลางของหน้ากระดาษ ห่ างจาก
ขอบกระดาษด้านบนประมาณ 2 นิ้ว และห่ างจากขอบกระดาษด้านซ้ายและขวาเท่าๆ กัน ถ้าชื่อเรื่ องของ
รายงานยาวมาก ก็สามารถแบ่งเป็ นสอง-สามบรรทัดได้ตามความเหมาะสม
ชื่อผูเ้ ขียน เป็ นส่ วนที่อยูถ่ ดั มา ให้ไ ว้ก่ ึงกลางหน้ากระดาษเช่นเดียวกัน และก็ขอให้
เขียนแบบเป็ นทางการ
ชั้น –เลขที่ ขอให้เขียนแบบเป็ นทางการ เช่น ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ... ห้อง เลขที่ โดย
ให้อยูก่ ่ ึงกลางหน้ากระดาษเช่นกัน
ส่ วนท้ายของปกใน เหมือนปกนอก ชื่อรายวิชาใด สถานศึกษา ภาคเรี ยนและ
ปี การศึกษา โดยส่ วนนี้ใ ห้บรรทัดสุ ดท้ายอยูห่ ่างจากขอบล่างประมาณ 1 นิ้ว

สรุปง่ ายๆ ปกในกับปกนอกคล้ ายกัน เพียงแค่ เปลีย่ นจากปกแข็ง หรื อกระดาษแข็ง เป็ นกระดาษธรรมดาเท่ านั้นเอง
ส่ วนประกอบตอนต้ น

คํานํา คือ ส่ วนที่สามารถเล่าที่มา วัตถุประสงค์ ความสําคัญ และขอบเขตของเนื้อหา รวมถึงใส่


คําขอบคุณผูม้ ีส่วนช่วยเหลือให้รายงานสําเร็ จ เขียนให้เหมาะสมกับเนื้ อหา ไม่ยาวหรื อสั้นเกินไป 2-3 ย่อ
หน้า เพื่ออธิ บายคร่ าวๆ ว่า รายงงานทําขึ้นเพื่ออะไร ทําไมถึงทํารายงงานนี้ รายงานเล่มนี้ มีความสําคัญ
อย่างไร โ ดยส่ วนนี้ ใ ห้พิมพ์คาํ ว่า “คํานํา” ด้วยอักษรขนาดใหญ่ ไว้กลางหน้ากระดาษโดยไม่ตอ้ งขีดเส้น
ใต้ และเว้นระยะให้ห่างจากขอบบน 2 นิ้ ว ส่ วนเนื้ อหาให้พิมพ์ขอ้ ความในบรรทัดถัดลงมา และเมื่อจบ
ข้อความแล้วให้ ลงชื่ อ และ นามสกุลของผูเ้ ขียน แต่ถา้ เป็ นงานกลุ่มให้ลงท้ายด้วยคําว่า “คณะผูจ้ ดั ทํา”
แล้วจึงจบด้วยการลงวันที่ เดือน (เขียนแบบย่อ) ปี (ไม่ตอ้ งมี พ.ศ.)
ส่ วนประกอบตอนต้ น

สารบัญ ส่ วนนี้ จะเป็ นส่ วนที่ ต่อ จากคํา นํา โ ดยส่ วนนี้ ขึ้ นต้นด้วยด้วยคํา ว่า “สารบัญ” ด้วย
ตัวอักษรขนาดใหญ่กลางหน้ากระดาษโ ดยเว้นห่ างจากขอบบนลงมา 2 นิ้ว บอกชื่ อตอน บท หัวข้อใหญ่
และหัวข้อย่อยนั้นๆ โดยเรี ยงตามลําดับในเนื้ อหาของรายงานด้านซ้ายของหน้า โดยเว้นห่ างจากขอบซ้าย
ของกระดาษ 1.5 นิ้ ว และให้มีเลขหน้าที่ตรงกับส่ วนนั้นกํากับไว้ดา้ นขวา โ ดยตัวเลขหน้า เว้นห่ างจาก
ขอบกระดาษด้านขวา 1 นิ้ว
สารบัญตารางหรื อบัญชีตาราง (ไม่จาํ เป็ นต้องมีกไ็ ด้ หากตารางไม่เยอะ)
สารบัญภาพประกอบหรื อบัญชีภาพประกอบ (ไม่จาํ เป็ นต้องมีกไ็ ด้ หากรู ปภาพไม่เยอะ)
2. ส่ วนเนื้ อ เรื่ อ ง ส่ วนนี้ เป็ นส่ วนที่ ส ําคัญที่ สุ ดของรายงานค่ะ เพราะเป็ นการนํา
ข้อมูลที่เราได้ศึกษาค้นคว้ามานําเสนอ โดยประกอบด้วย
บทนํา เป็ นส่วนเริ่ มต้ นของความน่าใจในรายงาน จึงเป็ นอีกส่วนที่สําคัญที่ทําให้ คนอ่านอยากอ่าน
รายงานของเรามากขึ ้น จึงควรเขียนให้ ชดั เจน น่าติดตาม เพื่อชี ้แจงให้ ผ้ อู า่ นเห็นภาพรวมของเนื ้อเรื่ องที่
น้ องๆ ได้ ค้นคว้ ามานัน่ เอง โดยอาจจะเขียนแค่ 1 ย่อหน้ าก็ได้ ขึ ้นอยูก่ บั ว่าเนื ้อหามากน้ อยแค่ไหน
ส่วนเนือ้ หา สามารถแบ่งเป็ นตอน เป็ นบท ขึ ้นอยูก่ บั ความเหมาะสม โดยอาจจะเน้ นประเด็นสําคัญๆ
้ อาจจะ
เพื่อให้ เข้ าใจประเด็นได้ งา่ ยเป็ นลําดับต่อเนื่อง และสอดคล้ องกัน แต่ถ้ารายงานเป็ นแบบสันๆ
แบ่งเป็ นหัวข้ อก็ได้ ไม่จําเป็ นต้ องแบ่งเป็ นบท
บทสรุปหรื อสรุป ส่วนสุดท้ ายของเนื ้อหา เพื่อเน้ นยํ ้าผลของการค้ นคว้ าในหัวข้ อรายงาน โดยอาจจะเขียน
สรุปประเด็นสําคัญจากการค้ นคว้ า ถ้ าเนื ้อหาในส่วนนี ้เยอะ อาจจะแยกออกมาเป็ นอีกหนึง่ บท แต่ถ้ามี
เนื ้อหาไม่มากนัก อาจจะสรุปไว้ ในย่อหน้ าสุดท้ ายของเนื ้อหา
3.ส่ วนประกอบตอนท้ าย เป็ นส่ วนส่ งท้ายของเล่มรายงาน ต่อจากเนื้อหา แบ่งออกเป็ น

บรรณานุกรมหรื อเอกสารอ้างอิ ง ซึง่ ก็คือเอกสารที่เกี่ยวข้ องกับการค้ นคว้ าทุกชนิด ทังหนั


้ งสือ อินเตอร์ เน็ต
เอกสาร ข่าว ฯลฯ ซึง่ การเขียนบรรณานุกรมต้ องเขียนให้ มีแบบแผนชัดเจน ตามรูปแบบการอ้ างอิง
บรรณานุกรมแบบต่างๆ
ภาคผนวก เป็ นส่วนเพิ่มเติมของเล่มรายงาน เนื ้อหาส่วนนี ้เป็ นการเพิ่มเติมเพื่อความสมบูรณ์ของเนื ้อหา
ตามความเหมาะสม แต่จริ งๆ แล้ ว ภาคผนวกไม่จําเป็ นต้ องมีเสมอไป ยกตัวอย่างเช่น หากทํารายงานที่
ต้ องเก็บข้ อมูลมาจากการสัมภาษณ์หรื อแบบสอบถาม อาจจะมีแบบสอบถาม ภาพกิจกรรม บท
สัมภาษณ์ เป็ นต้ น
ดรรชนี หรื อ ดัชนี (ไม่จําเป็ นต้ องมีก็ได้ )
การเขียนรายงานโครงงาน
การเขียนรายงานโ ครงงานเป็ นรู ปแบบหนึ่ งของการนําเสนอผลงานของโ ครงงานที่ผูเ้ รี ยนได้
ศึกษาค้นคว้าตั้งแต่ตน้ จนจบ การกําหนดหัวข้อในการเขียนรายงานโครงงานอาจไม่ระบุตายตัวเหมือนกัน
ทุกโครงงาน ส่ วนประกอบของหัวข้อในรายงานต้องเหมาะสมกับประเภทของโครงงานและระดับชั้นของ
ผูเ้ รี ยน องค์ป ระกอบของการเขี ยนรายงานโ ครงงาน แบ่ งกว้า งๆ เป็ น ๓ ส่ วน เหมื อ นกับ รายงาน คื อ
ส่ วนประกอบตอนต้น(มีบทคัดย่อ และกิตติกรรมประกาศเพิ่มเติมขึ้นมา) ส่ วนเนื้ อเรื่ อง (แบ่งเป็ น 5 บท)
และส่ วนประกอบตอนท้าย ซึ่งการเขียนรายงานโครงงานจะแบ่งเนื้อหาเป็ น 5 บท ดังนี้
บทที่ 1 บทนํา
1.1 ทีม่ าและความสําคัญของปัญหา
(สภาพปัจจุบนั เป็ นการบรรยายสภาพทัว่ ไปของสิ่ งที่สนใจจะศึกษา)
(ปัญหา เป็ นการบรรยายปั ญหาของของสิ่ งที่สนใจจะศึกษา)
(สาเหตุของปัญหา เป็ นการบรรยายถึงสาเหตุที่นาํ มาซึ่งปัญหาของของสิ่ งที่สนใจจะศึกษา )
(แนวทางแก้ไ ขปัญหา เป็ นการบรรยายถึงแนวทางแก้ไ ขปัญหาของของสิ่ งที่สนใจจะศึกษา)
(การสรุ ปที่มาและความสําคัญของปัญหา โดยอาจสรุ ปได้วา่ ”คณะผูจ้ ดั ทําจึงมีความประสงค์
ที่จะจัดสร้างโครงงาน )
1.2 วัตถุประสงค์ ของการจัดสร้ างโครงงาน
1 เพือ่ ศึกษาและดําเนินการสร้าง ….(ชื่อโครงงาน)…..
2 เพือ่ ………………………………………………………………
3 เพือ่ ………………………………………………………………

1.3 ขอบเขตของการจัดสร้ างโครงงาน


(คือ Spec ของโครงงาน โดยมากมักเขียนเป็ นข้อๆ บอกลักษณะที่ชดั เจนของตัวโครงงาน
เช่น ขนาด นํ้าหนัก ความสามารถที่ทาํ ได้ สิ่ งที่ทาํ ไม่ไ ด้)
1.4 ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ
(เขียนจากวัตถุประสงค์ของการจัดสร้างโครงงาน หรื อขอบเขตของการจัดสร้างโครงงาน)
1 ได้ศึกษาและสามารถดําเนินการสร้าง ….(ชื่อโครงงาน)…..
2 สามารถ………………………………………………………………
3 สามารถ………………………………………………………………
1.4 ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ
(เขียนจากวัตถุประสงค์ของการจัดสร้างโครงงาน หรื อขอบเขตของการจัดสร้างโครงงาน)
1 ได้ศึกษาและสามารถดําเนินการสร้าง ….(ชื่อโครงงาน)…..
2 สามารถ………………………………………………………………
3 สามารถ………………………………………………………………
บทที่ 2 ทฤษฎีทเี่ กีย่ วของกับการจัดสร้ างโครงงาน
บทนีเ้ ป็ นการนําเสนอแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ องที่ใช้ เป็ นกรอบในการวิจัยต้ อง
เรี ยบเรี ยงสรุ ปกรอบความคิด หลักการ การเขียนต้ องเป็ นการเรี ยบเรี ยงเนือ้ หาเหมือนกับการ
เขียนบททางความวิชาการไม่ ควรลอกเนือ้ หามาต่ อกันเป็ นท่ อนๆ หั วข้ อสําคัญประกอบด้ วย
– แนวความคิดหรื อทฤษฎีที่เกีย่ วข้ องที่นาํ มาใช้ ในงานวิจัย
– ผลการวิจัยที่เกีย่ วข้ องกับสิ่ งที่นาํ มาใช้ ในการแก้ ปัญหา
บทที่ 3 วิธีดาํ เนินการ
(เป็ นการแสดงถึงรู ปแบบการออกแบบการจัดสร้ างโครงงานโดยอาจจะรวมถึงการ
ออกแบบเวลาการจัดสร้ างโครงงานด้ วยก็ได้ )
ในการจัดสร้ างโครงงาน ….(ชื่ อโครงงาน)….. มีแผนการจัดสร้ างดังนี ้
3.1 การระดมสมอง เพื่อออกแบบการจัดสร้ างโครงงาน
3.2 การออกแบบการจัดสร้ างโครงงานและวิธีการดําเนินการ
3.3 การดําเนินการ
3.4 การสรุ ปผลการดําเนินการ (เขียนเฉพาะความสําเร็ จและปั ญหา (การแก้ ไขจะ
เขียนที่บทที่4)
บทที่ 4 ผลการดําเนินการโครงงาน
4.1 การทดสอบ(ควรแสดงตารางการทดสอบ ซึ่งระบุวา่ โครงงานของเรามีการ
ทดสอบการทํางานที่จุดใดบ้าง)
4.2 ผลการทดสอบ
4.3 การปรับปรุ ง(แสดงการปรับปรุ งผลการทดสอบที่ไ ม่ไ ด้ตามผลที่คาดว่าจะ
ได้รับ)
บทที่ 5 การสรุปผล
5.1 การสรุ ปผลการจัดสร้างโครงงาน
5.2 ปั ญหาการจัดสร้างโครงงาน
5.3 ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม

ธนู ทดแทนคุณ. (ม.ป.ป). การเขียนในชีวติ ประจําวัน ชั้นมัธยมศึกษา ๔-๖. กรุ งเทพฯ: อักษรเจริ ญทัศน์
พีเ่ มษ์. (2557). รู้ไหม?? รายงาน 1 เล่ม ต้ องมีอะไรบ้ าง..ถึงจะออกมาดี. เข้าถึงได้จาก :
https://www.dek-d.com/education/34809/ (วันที่คน้ ข้อมูล: 22 มกราคม 2562).
Ipattapong. (2012). แนวทางการเขียนโครงงาน บทที1่ -5. เข้าถึงได้จาก :
https://ipattapong.wordpress.com/2012/01/23/108/ (วันที่คน้ ข้อมูล: 22 มกราคม 2562).

You might also like