You are on page 1of 30

กับดักและหลุมพรางในการทา

หนังสือ/ตารา เพื่อตาแหน่งทางวิชาการ
ศาสตราจารย์ นายแพทย์วชิร คชการ
รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ประธานอนุกรรมการกลั่นกรองการพิจารณาตาแหน่งทางวิชาการ
เลขานุการคณะกรรมการพิจารณาตาแหน่งวิชาการ(กพว.)
มหาวิทยาลัยมหิดล
หนังสือ ตารา
เป็นผลงานทางวิชาการที่เรียบเรียงขึ้นโดยมี
รากฐานทางวิชาการที่มั่นคง และให้ทัศนะของ เป็นผลงานทางวิชาการที่เรียบเรียงขึ้นอย่าง
ผู้เขียนที่สร้างเสริมปัญญาความคิดและ เป็นระบบ ครอบคลุมเนื้อหาสาระของวิชา
สร้างความแข็งแกร่งทางวิชาการให้แก่สาขาวิชานั้น หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิชา หรือของหลักสูตร
ๆ และ/หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ก็ได้ ที่สะท้อนให้เห็นถึงความสามารถในการ
มีความต่อเนื่องเชื่อมโยงในเชิงเนื้อหาและครอบคลุม ถ่ายทอดวิชาในระดับอุดมศึกษาในการเรียน
โดยไม่จาเป็นต้องสอดคล้องหรือเป็นไปตาม การสอนในหลักสูตรระดับอุดมศึกษา
ข้อกาหนดของหลักสูตรหรือของวิชาใดวิชาหนึ่งใน
หลักสูตร และไม่จาเป็นต้องนาไปใช้ประกอบการ
เรียนการสอนในวิชาใดวิชาหนึ่ง ทั้งนี้เนื้อหาสาระ
ของหนังสือต้องมีความทันสมัย เมื่อพิจารณาถึงวันที่
จัดพิมพ์ ความแตกต่างของตาราและหนังสือ คือ ตาราต้องครอบคลุมเนื้อหาสาระของวิชา
หรือหลักสูตร มีบทและสารบัญเนื้อหาที่ชัดเจนสอดคล้องกับคาอธิบายรายวิชา
แต่หนังสือไม่จาเป็นต้องเกี่ยวข้องกับวิชาหรือหลักสูตร แต่หนังสือถูกกลั่นกรอง
มาจากความสนใจ เชี่ยวชาญของผู้เขียน
การเผยแพร่ผลงานในฐานข้อมูลตามที่ ก.พ.อ. กาหนด

ประกาศ ก.พ.อ. พ.ศ. 2564


ผลงานทางวิชาการทุกประเภทต้องได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่
ก.พ.อ. กาหนด พร้อมแสดงหลักฐานว่าการเผยแพร่นั้นได้ผ่านการประเมิน
คุณภาพโดยคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒใิ นสาขาวิชานั้น ๆ หรือสาขาวิชาที่
เกี่ยวข้อง (peer reviewer) ที่มาจากหลากหลายสถาบันตาม
เอกสารแนบท้าย
ประเด็นสาคัญในการตั้ง Peer Review
การแต่งตั้ง, ผู้แต่งตั้ง,วันที่แต่งตั้ง

องค์ประกอบ

ควรสงวน potential ผู้ที่จะมาเป็นผู้ประเมินในช่วงการ


ขอตาแหน่งทางวิชาการ
แนวทางการประเมินตารา/หนังสือ
เนื้อหาสาระวิชาการ ถูกต้อง ตรงตามชื่อเรื่อง ตารา/หนังสือ

เนื้อหาสาระวิชาการ การอ้างอิงสมบูรณ์และทันสมัย

เรียบเรียงเนื้อหาที่มีระบบระเบียบ ใช้ภาษาเขียน อ่านเข้าใจง่าย

มีแนวคิดการนาเสนอชัดเจน มีประโยชน์ทางวิชาการในระดับอุดมศึกษา

มีการสังเคราะห์ความรู้ทันต่อความก้าวหน้าทางวิชาการ
พจน์ สะเพียรชัย
ปัญหาที่พบบ่อยในการขอกาหนดตาแหน่งระดับสูง
• พบว่าลอกผู้อื่น หรือแปลมา ไม่เข้าใจคาจากัดความของ “งานแปล”
• ตีพิมพ์ผลงานซ้าซ้อน
• มีประเด็นสงสัยด้านจริยธรรม ทั้งในส่วนของผลงานที่เสนอมา และในส่วนของ
การปฏิบัติตนในฐานะอาจารย์,นักวิชาการ
• เอกสาร ตารา หนังสือ มีคาผิดมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งจุดที่ไม่ควรผิด เช่นชื่อคน
ชื่อผู้นิพนธ์ คุณวุฒิ ตาแหน่ง แม้แต่ชื่อตนเอง
• เป็นบรรณาธิการแต่ไม่ใช้ความเป็นบรรณาธิการให้เป็นประโยชน์
• ทาแบบฉุกเฉิน
ปัญหาที่พบบ่อยในการขอกาหนดตาแหน่งระดับสูง
• ผลงานขาดคุณภาพ ทั้งรูปแบบและเนื้อหา
• ตาราอ่านไม่รู้เรื่อง มีคาผิดมาก อ้างอิงผิด ล้าสมัย ไม่อ้างที่มาของภาพ ตาราง
บางบทยาวมาก บางบทสั้นเกินไป วกวน พยายามเวียนมาหางานวิจัยของตนเอง
จนขาดความเป็นธรรมชาติ
• ตาราขาดรายละเอียด เขียนเป็น chapter ที่แยกกันอยู่ในหลายตารา
• เอกสารอ้างอิงมากเกินไป น้อยเกินไป ล้าสมัยเกินไป
• งานขาดคุณภาพ ไม่มีแนวทางชัดเจน ทาเป็น fragmented
ข้อผิดพลาดที่พบบ่อย

• ไม่เข้าเงื่อนไขตามคาจากัดความของ ตารา/หนังสือ
• ขาดองค์ประกอบตามข้อกาหนด
• ขาดคุณภาพ เนื้อหาไม่ครบหรือไม่ถูกต้อง มีคาผิดมาก เก่าเกินไป
• มีข้อผิดพลาดทางจริยธรรมและกฎหมาย
กับดักและหลุมพราง
• ด้านองค์ประกอบ/รูปแบบ
• ด้านคุณภาพ
• ด้านปริมาณ
• ด้านการเผยแพร่
• ด้านจริยธรรม กฎหมาย
องค์ประกอบในตารา

หน้าปก ตัวย่อและสัญลักษณ์ / อภิธานศัพท์ (ถ้ามี)


ปกใน ผู้นิพนธ์ เรียงตามอักษร
ชื่อ หนังสือ/ ตารา เนื้อหา
หน้าลิขสิทธิ์ เอกสารอ้างอิง / บรรณานุกรม
คาอุทิศ (Dedicate) ภาคผนวก (Appendix)
สารบัญ ดัชนี หรือ ดรรชนี (Index)
คานิยม (ถ้ามี) ( 2 nd, 1 st) ประวัตินักเขียน
คานา ( 2 nd, 1 st) ปกหลัง
กิติกรรมประกาศ(Acknowledgement) (ถ้ามี) สันหนังสือ
หนังสือ
ประกาศ ก.พ.อ. 2564
เป็นงานที่นักวิชาการเขียนทั้งเล่ม (Authored Book) หรือ เป็นส่วนหนึ่งในหนังสือที่มี
รูปแบบ ผู้เขียนหลายคน (Book Chapter)
โดยรูปเล่มประกอบด้วย คานา สารบัญ เนื้อเรื่อง การวิเคราะห์ การสรุป
การอ้างอิง บรรณานุกรม และดัชนีค้นคา

ต้องแสดงหลักฐานว่าได้ผ่านการประเมินคุณภาพโดย peer review


ที่มาจากหลากหลายสถาบัน และเผยเแพร่รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ดังนี้
การเผยแพร่ 1. วิธีการพิมพ์
2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ซีดีรอม
3. E-book โดยสานักพิมพ์ซึ่งเป็นที่ยอมรับ
คุณภาพ
• ความถูกต้อง
• ความทันสมัย
⚬ กาหนดเวลาที่จะเสร็จ
• สอดแทรกความคิดและประสบการณ์
⚬ อ้างอิงตนเอง เมื่อมีโอกาสเหมาะสม
• การอ้างอิง
⚬ ตนเอง
⚬ คนไทย
⚬ งานวิจัยใหม่ที่มีคุณภาพเชื่อถือได้
⚬ Classical papers
• ลีลาการเขียน
⚬ ต้องแบ่งเวลาในการเขียนให้เพียงพอ สม่าเสมอ
หลักการเขียน
การเขียนตารา จาเป็นต้องคานึงหลักการ 3 ประการ ดังนี้
The purpose: why are you writing?
ต้องมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน

The audience: who are you writing for?


ต้องรู้ว่าเขียนขึ้นเพื่อใคร หรือใครเป็นผู้อ่าน

The types of writing: how would you describe the writing?


เขียนอย่างไรดีผู้อ่านจึงจะเข้าใจและบรรลุ วัตถุประสงค์ของการอ่าน
เขียนเรื่องอะไรดี?
• ต้องมีพื้นฐานของความเป็นศาสตร์ สาขานั้นๆ ผนวกกับประสบการณ์ของผู้เขียนใน
ศาสตร์ สาขานั้นๆ โดยใช้ศิลปในการถ่ายทอดการเขียน เพื่อสื่อสารถึงผู้อ่านให้เกิด
ความรู้ความเข้าใจ มีจินตนาการ ไปกับผู้เขียนในการนาเสนอเนื้อหา เพื่อจะให้ได้
บทความ หรือตาราที่มีความสมบูรณ์
• เขียน เชิงลึก หรือ กว้าง
• เขียนคนเดียว หรือหลายคน
คุณภาพ
• ชื่อบท ไม่ควรเกิน 1 บรรทัด และเป็นวลี
• เขียนแบบต่อเนื่อง
• ให้ผู้อื่นช่วย อ่านและComment
• ห้ามแปลทีละประโยค, ทีละย่อหน้า, ทีละบท ให้เขียนด้วยลีลาของเราเอง
• ภาษาไทย ไม่ใช้คา กรรมวาจก
• ไม่ควรขึ้นต้น paragraph ด้วยภาษาอังกฤษ ยกเว้นชื่อเฉพาะ
• ใช้ พ.ศ. หรือ ค.ศ.
การใช้หัวข้อ
หัวข้อย่อย ไม่ควรเกิน 3 ระดับ ถ้ามากกว่าใช้อักษร ก. ข. ค. มาเสริม
หรือปรับระดับความสาคัญของเนื้อหา
บทที่ 1. ..................
1.1 ...............................
1.1.1 ...............................
1.1.2 ...............................
1.2 ................................
1.2.1 ...............................
1.2.2 ...............................
บทที่ 2. ..................
2.1 ...............................
2.1.1 ...............................
2.1.2 ...............................
2.2 ................................
2.2.1 ...............................
2.2.2 ...............................
รายละเอียดอื่น
• ใช้ภาพ ช่วยอธิบายความ
• ใช้ภาพ ไดอะแกรม ตาราง กราฟ ทดแทนการเขียนอธิบายความ
• ต้องมีที่ว่างให้พักสายตา
• อย่าเอาภาพขนาดเล็ก ไม่ละเอียดมาขยาย
ปกมีความสาคัญ
สันปก
ปริมาณ
• จานวนไม่พอ
• พยายามใช้เทคนิค เพื่อเพิ่มจานวนหน้าจนดูน่าเกลียด
• เขียนเป็นบท แยกกันอยู่ในหนังสือหลายเล่ม
การเผยแพร่
• พิมพ์เป็นเล่ม แบบมาตรฐาน ระบุสถานที่พิมพ์,ปี,จานวน, ISBN, ข้อมูลสาหรับบรรณารักษ์
⚬ หน้ายก คือ การแสดงขนาดของหนังสือ และความหนาของหนังสือตามปริมาณกระดาษ โดยการพิมพ์
หนังสือเล่ม จะพิมพ์ลงกระดาษแผ่นใหญ่ในแม่พิมพ์หรือเพลททีละกรอบ ซึ่งกระดาษแต่ละแผ่นจัดหน้า
จานวนกี่หน้า ก็นับจานวนหน้าใน 1 เพลทเป็น 1 ยก ทั้งนี้หน้ายก อาจจะต้องมีตัวเลขนาหน้าเสมอ เพื่อ
แสดงว่าหนังสือเล่มนัน้ มีขนาดเท่าใด เช่น 8 หน้ายก, 16 หน้ายก, 32 หน้ายก, 64 หน้ายก แต่ก็ขึ้นอยู่กับ
ขนาดกระดาษ และการพับด้วย
⚬ การพับแผ่นพิมพ์ 1 แผ่น ซึ่งมีขนาด 15.5 x 21.5 นิ้ว หรือ 17.5 x 24 นิ้ว หากพับ 1 ครั้งได้ 4 หน้า
เรียก 4 หน้ายก, หากพับ 2 ครั้งได้ 8 หน้า เรียก 8 หน้ายก, หากพับ 3 ครั้งได้ 16 หน้า เรียก 16 หน้ายก
และหากพับ 4 ครั้งได้ 32 หน้า เรียก 32 หน้ายก
• สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ เช่น ซีดีรอม
• E Book โดยสานักพิมพ์ซึ่งเป็นที่ยอมรับ

แสดง 8 หน้ายก
สานักพิมพ์ซึ่งเป็นที่ยอมรับ
เผยแพร่ใน website หรือจัดพิมพ์โดย คณะ, โครงการตารา, ภาควิชา ได้หรือไม่?

การมี ISBN ไม่ได้แสดงถึงการมีคุณภาพของ หนังสือ/ตารา

จาก paperyardbooks
จรรยาบรรณ,ลิขสิทธิ,์ กฎหมาย
• การใช้ภาพ, Infographics ช่วยสื่อความหมาย
⚬ อินโฟกราฟิกส์ (Infographics) หมายถึง การนาข้อมูลหรือความรู้มาสรุปเป็นสารสนเทศในลักษณะของ
ข้อมูลและกราฟิกที่อาจเป็นลายเส้น สัญลักษณ์ กราฟ แผนภูมิ ไดอะแกรม แผนที่ ฯลฯ ที่ออกแบบเป็น
ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว ดูแล้วเข้าใจง่ายในเวลารวดเร็วและชัดเจน สามารถสื่อให้เข้าใจความหมายของ
ข้อมูลทั้งหมดได้โดยไม่จาเป็นต้องใช้ข้อความช่วยขยายความเข้าใจอีก
• ภาพถ่าย, ถ่ายเอง, ภาพของเราเองที่ส่งไปลงตีพิมพ์ในวารสารต้องตรวจสอบลิขสิทธิ์ก่อน
• ใช้ภาพจาก Internet ต้องตรวจสอบลิขสิทธิ์ก่อน
• การถ่ายภาพผู้ป่วย, อาสาสมัคร ต้องขออนุญาต ระบุให้ชัดเจนว่าจะมีการนามาทาหนังสือ และนาเสนอเท่าที่
จาเป็น ไม่ให้สื่อได้ว่าเป็นผู้ใด
• ภาพเอ็กซเรย์ ต้องลบเลขประจาตัวผู้ป่วย วันที่ เวลา
• ตาราง, ไดอะแกรม ห้ามลอกมาทั้งหมด เพราะgraphic design มีลิขสิทธิ์ ให้เอาcontent มาทาตารางใหม่ แล้ว
อ้างอิง
• การแปลจากอังกฤษเป็นไทย ยังถือว่าเป็นการลอก
ลิขสิทธิ์
ลิขสิทธิ์ภาพ: กฎหมายจะให้ความคุ้มครองทันที โดยที่ไม่ต้องจดทะเบียนใดๆ แต่ถ้าอยากจดแจ้ง
ลิขสิทธิ์ สามารถไปที่กรมทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อบ่งบอกว่างานชิ้นนี้ เราเป็นผู้สร้างสรรค์ขึ้นมา
ก่อน หลังจากที่เจ้าของผลงานลงมือสร้างสรรค์งานตั้งแต่คิดค้น ออกแบบ ประดิษฐ์จนกลายเป็น
งานชิ้นหนึ่งที่เสร็จสมบูรณ์ และเจ้าของลิขสิทธิ์จะมีสิทธิ์แต่เพียงผู้เดียว ในการทาซ้า ดัดแปลง
เผยแพร่ต่อสาธารณชน อีกทั้ง กฎหมายจะคุ้มครองตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ผลงาน และคงอยู่
ต่อไปอีก 50 ปี นับตั้งแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
• Freeware – นาไปใช้ได้ฟรี และนาไปแชร์ต่อได้ แต่ไม่สามารถแก้ไขหรือเอาไปขายต่อได้โดยไม่ได้รับ
อนุญาต
• Shareware – นาไปใช้ได้ฟรี แต่ถ้าจะใช้ในระยะยาวต้องบริจาคเงิน สามารถนาไปแชร์ได้แต่ต้องให้
เครดิตทุกครั้งโดยไม่ต้องขออนุญาต
• Fair Use – สามารถนาไปใช้ได้เพื่อการศึกษาและเขียนวิจารณ์ โดยไม่ต้องขออนุญาต
• Creative Commons – นาไปใช้ได้ฟรี แต่ต้องอยู่ในกฏที่ลิขสิทธิ์กาหนดไว้ ต้องให้เครดิตเจ้าของ
เนื้อหาทุกครั้ง โดยเจ้าของเนื้อหาเป็นผู้กาหนดว่า อนุญาตให้แก้ไขได้หรือไม่
• Editorial use: อนุญาตให้ใช้งานในบทความ, หนังสือพิมพ์, แม็กกาซีน, นิตยสารและสื่อสิ่งพิมพ์
• Commercial use: อนุญาตให้ใช้ในงานเชิงพาณิชย์ ในสื่อโฆษณา เพื่อโปรโมตสินค้าและบริการของ
ธุรกิจ เช่นนาไปใช้ทาโฆษณาบนโปสเตอร์
• Public Domain เป็นลิขสิทธิ์ที่เราสามารถนาไปใช้ได้ฟรี โดยไม่ต้องขออนุญาต ครอบคลุมเนื้อหา
พวกเรื่องที่เป็นความจริง (เช่น โลกเป็นทรงกลม / ทะเลสีฟ้า) , ไอเดีย, ขั้นตอนการทางาน และยัง
ครอบคลุมงานที่ลิขสิทธิ์หมดอายุไปแล้วด้วย
• Royalty-free หมายถึง ผู้ซื้อสามารถซื้อ License แบบ royalty-free และสามารถใช้รูปของได้
แบบไม่จากัดเวลา ไม่จากัดครั้งในการใช้งาน ใช้ได้เรื่อย ๆ
• Rights-managed (Pay per use) หมายถึง เป็นลิขสิทธิ์ที่ไม่ใช่การซื้อขาดแบบ Royalty-free แต่
มีข้อสัญญาที่แนบตามมาด้วย เช่น จะต้องจ่ายค่าบริการเป็นรายเดือน, จ่ายเงินทุกครั้งที่ใช้รูปภาพนี้
แนวทางการเขียนบทความอย่างไม่ละเมิดลิขสิทธิ์

• กรณีที่คัดลอกข้อความหรือประโยคบางส่วนมาจากต้นฉบับโดยไม่มีการดัดแปลงใดๆ เนื่องจากหากมีการ
ดัดแปลงหรือเรียบเรียงใหม่แล้วอาจสื่อความหมายไม่ชัดเจนเท่าต้นฉบับ ควรใส่เครื่องหมาย “..” ครอบคลุม
ทั้งข้อความ และใส่แหล่งอ้างอิงหรือแหล่งทีม่ าของข้อมูลให้ชัดเจน

• กรณีที่ต้องการเขียนข้อมูลหรือบอกเล่าเกี่ยวกับงานเขียนดังกล่าว ควรอ่านทาความเข้าใจบทความดังกล่าว
ให้กระจ่าง และทาการเรียบเรียงประโยคใหม่ทั้งหมดด้วยรูปแบบการเขียนที่เป็นของตนเอง โดยไม่ทาให้
ใจความสาคัญและการสื่อความหมายในบทความเดิมไม่ผิดเพี้ยนไป และที่สาคัญจะต้องแสดงแหล่งอ้างอิง
หรือแหล่งที่มาของบทความที่นามาเป็นต้นฉบับในการเรียบเรียงใหม่ให้ชัดเจน เพื่อแสดงเจตนาความ
บริสุทธิ์ของท่านเองและยังแสดงถึงการให้เกียรติและให้ความเคารพต่อสิทธิ์ความเป็นเจ้าของแก่ผู้เป็นเจ้า
ของเดิม
PDPA คือ พระราชบัญญัติคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562
PDPA ย่อมาจาก Personal Data Protection Act B.E.
2562 (2019)
เป็นกฎหมายว่าด้วยการให้สิทธิ์กับเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
สร้างมาตรฐานการรักษาข้อมูลส่วนบุคคลให้ปลอดภัย
และนาไปใช้ให้ถูกวัตถุประสงค์ตามคายินยอมที่เจ้าของ
ข้อมูลส่วนบุคคลอนุญาต โดยกฎหมาย PDPA Thailand
(พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล)
ได้ประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม
OT-reg 2562 และปัจจุบันได้ถูกเลื่อนให้มีผลบังคับใช้ในวันที่
1 มิถุนายน 2565

You might also like