You are on page 1of 12

บทที่ 7

ข่ าวทางทหาร

1. กล่าวทัว่ ไป
ข่าวได้ แก่ จดหมาย คําแนะนํา รายงาน คําสัง่ เอกสาร ภาพ แผนที่ เรื่ องราว หรื อ สัญญาณอื่น
ใด ซึง่ ทังหมดนี
้ ้อาจเป็ นข้ อความธรรมดาหรื อข้ อความเข้ าการอักษรลับ หรื ออาจเป็ นความคิดเห็น
ซึง่ แสดงออกในลักษณะที่เหมาะสําหรับส่งด้ วยมัชฌิมการสื่อสารใดๆ ก็ได้
ก. การเขียนข่าวทางทหารนัน้ ต้ องระลึกถึงสิ่งสําคัญ 3 ประการ คือ
1) ความชัดเจน
2) ความกระทัดรัด
3) ความสมบูรณ์
ข. ถ้ าเขียนข่าวได้ ครบลักษณะ 3 ประการนี ้แล้ วจะทําให้ ช่วยส่งเสริ มในเรื่ อง
1) ส่งเสริ มบุคลิกและคุณลักษณะของผู้นํา
2) ส่งเสริ มการปฏิบตั อิ ย่างได้ ผลต่อผู้รับข่าว
3) ส่งเสริ มให้ สําเร็ จภารกิจง่ายและเร็ วขึ ้น
4) ส่งเสริ มการประหยัดทังเครื ้ ่ องมือและการซ่อมบํารุง
ค. ผู้เกี่ยวข้ องกับข่าวทางทหาร
1) ณ ตําบลต้ นทาง
1.1 ผู้ให้ ขา่ วหรื อเจ้ าของข่าว
1.2 ผู้ร่างข่าวหรื อผู้เขียนข่าว
1.3 เจ้ าหน้ าที่ศนู ย์รับ-ส่ง
1.4 นายทหารอนุมตั ขิ า่ ว
1.5 เจ้ าหน้ าที่สื่อสารหรื อเจ้ าหน้ าที่ทหารสื่อสาร
2) ณ ตําบลปลายทาง
2.1 เจ้ าหน้ าที่สื่อสารหรื อเจ้ าหน้ าที่ทหารสื่อสาร
2.2 เจ้ าหน้ าที่ศนู ย์รับ – ส่ง
2.3 ผู้รับ
ง. คําแนะนําทัว่ ไปในการเขียวข่าว
1)เขียนบนวัสดุที่อา่ นง่ายซึง่ อาจเป็ นแบบฟอร์ มที่ทางการกําหนดไว้ หรื อบน
กระดาษอื่นใดก็ได้
หน้ าที่ 7 - 2

2)บรรจุหรื อกรอกข้ อความที่จําเป็ นให้ ครบบริ บรู ณ์ ตามคําแนะนําในการใช้


แบบฟอร์ ม
3)เขียนให้ อา่ นง่าย ชัดเจน หรื อถ้ าใช้ พิมพ์ดีดได้ ก็จะเป็ นการดีมาก
4)ตัวเลขที่ชวนสงสัยให้ เขียนเป็ นตัวอักษร เช่น ปลย.11 ยี่สิบกระบอก
5)ย่อที่ผ้ รู ับเข้ าใจ
6)ผู้รับข่าว ผู้สง่ ข่าว ให้ ใช้ ตําแหน่งเสมอ ห้ ามใช้ ยศ – ชื่อ
7)เมื่อจบข้ อความของข่าว ห้ ามลงชื่อเจ้ าของข่าวอย่างที่ใช้ ในกิจการ
พลเรื อนควรปิ ดข้ อความของข่าวด้ วยคําว่า “จบ”
8)ถ้ าเป็ นข่าวที่เตรี ยมขึ ้นเพื่อใช้ ในการฝึ ก ให้ เขียนคําว่าฝึ กไว้ ข้างต้ นและ
ตอนท้ ายของข่าว
9)ใช้ ความเร่งด่วนและประเภทเอกสารที่พอเหมาะ
10)เมื่อเขียนข่าวเสร็ จ ต้ องให้ นายทหารอนุมตั ขิ ่าวลงลายมือชื่อ จึงจะถือว่าเป็ น
ข่าวที่สมบูรณ์
จ. แบบฟอร์ มกระดาษเขียนข่าว
1. แบบ ทบ. 463 – 007
2. แบบ ทบ. 463 - 008
3. กระดาษเขียนข่าวร่วม
4. กระดาษอื่นๆ
การที่จะกรอกข้ อความอย่างไรลงไปในกระดาษเขียนข่าว โปรดดูคําอธิบายวิธีใช้ ซึ่งอยู่
ด้ านในของบก
ฉ. คําแนะนําการเขียนข่าวบนวัสดุอื่นๆ นอกเหนือจากแบบฟอร์ มที่ใช้
1. หมู่ วัน เวลา ของข่าว
2. ตําแหน่งผู้สง่
3. ตําแหน่งผู้รับ
4. ใจความของข่าว
5. ลายเซ็นต์ผ้ เู ขียนข่าว
6. ลายเซ็นต์นายทหารอนุมตั ขิ ่าว
7. ลําดับที่ของข่าว
8. ความเร่งด่วนของข่าว
9. ประเภทเอกสาร
หน้ าที่ 7 - 3

2. ประเภทของข่าว
ข่าวต่างๆ จะแบ่งออกได้ 6 ประเภท คือ
ก. แบ่งตามลักษณะการจ่าหน้ า ซึง่ แบ่งออกได้ เป็ น 4 ชนิด คือ
1) ข่าวจ่าหน้ าเดี่ยว (จด.) ได้ แก่ ข่าวที่จา่ หน้ าถึงผู้รับเพียงคนเดียว
2) ข่าวจ่าหน้ ารวม (จร.) ได้ แก่ ข่าวที่จ่าหน้ าถึงผู้รับตังแต่
้ สองคนขึ ้นไป
เมื่อเจ้ าของข่าวได้ พิจารณาเห็นว่า ฉบับนันควรจะให้
้ ผ้ อู ื่นตังแต่
้ 2 คนขึ ้นไปได้ รับด้ วย และ เจ้ าของ
ข่าวประสงค์จะให้ ผ้ รู ับทุกคนทราบว่ามีใครบ้ างที่ได้ รับข่าวนัน้ (ผู้รับแต่ละคนทราบเรื่ องเหมือนกัน
และรู้วา่ ใครบ้ างที่ได้ รับข่าวนัน)

3) ข่าวจ่าหน้ าแยกผู้รับ (จย.) ได้ แก่ขา่ วที่จา่ หน้ าถึงผู้รับตังแต่
้ สองคนขึ ้นไป ในเมื่อ
เจ้ าของข่าวได้ พิจารณาเห็นว่าข่าวฉบับนัน้ ควรจะให้ ผ้ อู ื่นตังแต่ ้ สองคนขึ ้นไปได้ รับด้ วย แต่เจ้ าของ
ข่าวไม่ประสงค์ให้ ผ้ รู ับแต่ละคนทราบว่ามีใครบ้ างที่ได้ รับข่าวนัน้ (ผู้รับแต่ละคนทราบเรื่ อง
เหมือนกัน แต่ไม่ร้ ูว่าใครบ้ างที่ได้ รับข่าวนัน)

4) ข่าวทัว่ ไป (ทป.) เป็ นข่าวที่มีการแจกจ่ายตามมาตรฐานออกไปอย่างกว้ างขวาง
ข่าวชนิดนี ้จะได้ กําหนดให้ มีชื่อเขียนไว้ โดยเฉพาะและมักมีเลขลําดับที่เรี ยงกัน
หมายเหตุ ผู้เขียนหรื อผู้ร่างข่าว ต้ องแสดงความประสงค์ไว้ ในช่อง “คําแนะนํา” ของ
กระดาษเขียนข่าว
ข. แบ่งตามลักษณะประเภทเอกสาร ซึง่ จะแบ่งออกได้ เป็ น ชนิด
1) ข่าวที่ไม่มีการแย่งประเภท จะต้ องกําหนดไว้ โดยการประทับตราด้ วยคํา
ว่า “ไม่ลบั ” ข่าวชนิดนี ้ไม่ต้องดําเนินกรรมวิธีการอักษรลับ
2) ข่าวที่มีการแบ่งประเภท จะต้ องกําหนดประเภทเอกสาร โดยการ
ประทับตราด้ วยคําว่า ลับที่สดุ ลับมาก ลับ หรื อปกปิ ดอย่างใดอย่างหนึง่ ข่าวชนิดนี ้ต้ องดําเนิน
กรรมวิะการอักษรลับและให้ การพิทกั ษ์ รักษาเป็ นพิเศษ
ค. แบ่งตามลักษณะความเร่ งด่วน ซึง่ จะแบ่งออกได้ เป็ น 4 ชนิด
1) ข่าวด่วนที่สดุ
2) ข่าวด่วนมาก
3) ข่าวด่วน
4) ข่าวปกติ
ความเร่งด่วน “ด่วนที่สดุ ” กําหนดสําหรับรายงานการปะทะข้ าศึกครัง้ แรก สถานการณ์
ฉุกเฉินเป็ นพิเศษ (เช่นการปะทะครัง้ แรก) ป้องกันการทิ ้งระเบิดหรื อการปะทะของฝ่ ายเดียวกัน
การเตือนการเข้ าตีขนาดใหญ่
หน้ าที่ 7 - 4

“ด่วนมาก” กําหนดสําหรับสถานการณ์ที่กระทบกระเทือนต่อการยุทธในขณะนัน้ และเป็ น


อันตรายต่อความปลอดภัยของชาติ การประสบภัย การรายงานเพิ่มเติม การปะทะครัง้ แรก (เช่น
ข้ าศึกเคลื่อนกําลังขนาดใหญ่ สัง่ ใช้ กองหนุนเข้ าตี ข้ าศึกตีโต้ ตอบ ข้ าศึกต้ านทานอย่างเหนียวแน่น
ขอให้ ยิงช่วยหรื อขอกําลังทางอากาศโดยด่วน เตือนข้ าศึกเข้ าตี ข่าวกรองการยุทธที่สําคัญ)
“ด่วน” กําหนดสําหรับข่าวที่สําคัญที่ควรได้ รับความเร่งด่วนสูงกว่าข่าวปกติ ต้ องส่งมอบ
ให้ ผ้ รู ับโดยทันที เป็ นความเร่ งด่วนสูงสุดของข่าวธุรการ
“ปกติ” ข่าวทุกชนิดที่ไม่ทีความเร่งรี บถึงกับจะต้ องจัดให้ มีความเร่งด่วนที่สงู กว่า แต่
จะต้ องส่งมอบให้ ผ้ รู ับโดยไม่ชกั ช้ า
ง. แบ่งตามลักษณะการเกี่ยวข้ องกับศูนย์การสื่อสาร ซึง่ จะแบ่งออกได้ เป็ น ชนิด
1) ข่าวเข้ า ได้ แก่ ข่าวที่เข้ ามายังศูนย์การสื่อสารหรื อศูนย์ขา่ ว เพื่อแจกจ่าย
ไปยังผู้รับที่อยูภ่ ายในบริ เวณที่ตงข่ ั ้ าวเหล่านี ้มาจากศูนย์การสื่อสาร หรื อจากศูนย์ขา่ วอื่นๆ หรื อมา
จากส่วนต่างๆ ของกองบัญชาการหรื อกองบังคับการ หรื อจากส่วนของกองบังคับการที่อยูห่ ่าง
ออกไป
2) ข่าวออก ได้ แก่ ข่าวที่มาจากองบัญชาการหรื อกองบังคับการที่ศนู ย์นนั ้
ประจําอยู่ ข่าวเช่นนี ้จะถูกส่งออกไปยังศูนย์การสื่อสารหรื อศูนย์ขา่ ว หน่วยหรื อบุคคลอื่นๆ ซึง่ พล
นําสารภายในที่ตงอาจไปไม่
ั้ ถึง
3) ข่าวถ่ายทอดหรื อส่งต่อ ได้ แก่ ข่าวที่มาจากศูนย์การสื่อสารหรื อศูนย์ขา่ ว
แห่งหนึง่ เพื่อส่งต่อ หรื อถ่ายทอดไปยังศูนย์การสื่อสารหรื อศูนย์ขา่ วอีกแห่งหนึง่ ในเมื่อศูนย์การ
สื่อสารหรื อศูนย์ขา่ วนันไม่ ้ สามารถทําการสื่อสารกันได้ โดยตรง
4) ข่าวภายในที่ตงั ้ ได้ แก่ ข่าวสําหรับแจกจ่ายในกองบัญชาการหรื อกง
บังคับการที่อยูใ่ นบริ เวณเดียวกัน และการให้ ข่าวกระทําจากกองบัญชาการหรื อกองบังคับการ
นัน่ เอง ตามปกติศนู ย์การสื่อสารหรื อศูนย์ข่าวไม่เกี่ยวข้ องกับข่าวเหล่านี ้ เว้ นแต่เมื่อมีความ
ต้ องการบันทึกไว้ เท่านัน้
จ. แบ่งตามลักษณะการเกี่ยวข้ องในทางทหาร ซึง่ จะแบ่งออกได้ ชนิด
1) ข่าวราชการ ได้ แก่ ข่าวของกองบัญชาการหรื อกองบังคับการที่ผ้ บู งั คับบัญชา
หรื อผู้ได้ รับอนุมตั ไิ ด้ เริ่ มขึ ้นสําหรับส่งผ่านมัชฌิมการสื่อสารของกองบัญชาการหรื อกองบังคับการ
เช่น ข่าวทางยุทธการ ข่าวทางการช่วยรบ เป็ นต้ น
2) ข่าวกึ่งราชการ ได้ แก่ ข่าวขององค์การหรื อราชการอื่นนอกกองบัญชาการ
หรื อกองบังคับการ และได้ รับอนุมตั ใิ ห้ สง่ ผ่านมัชฌิมการสื่อสารของกองบัญชาการหรื อกองบังคับ
การ เช่น ข่าวของผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์ ข่าวของสภากาชาดและข่าวในราชการตํารวจ เป็ นต้ น
หน้ าที่ 7 - 5

3) ข่าวเฉพาะสถานี ได้ แก่ ข่าวที่รับ-ส่ง กันระหว่างสถานีการสื่อสาร เพื่อเป็ น


การแลกเปลี่ยนข่าวสารทางเทคนิคระหว่างกันและกัน ข่าวเฉพาะสถานีนี ้ไม่ถือว่าเป็ นข่าวของทาง
ราชการ และไม่เกี่ยวกับการบังคับบัญชาเลย ข่าวชนิดนี ้ไม่ต้องดําเนินกรรมวิธีใดๆ ที่ศนู ย์การ
สื่อสารหรื อศูนย์ขา่ ว
ฉ. แบ่งตามลักษณะการปฏิบตั ิ ซึง่ จะแบ่งออกได้ เป็ น 2 ชนิด
1) ข่าวจริ ง ได้ แก่ ข่าวที่ผ้ รู ับต้ องทราบหรื อปฏิบตั ิ ให้ บงั เกิดผลอย่างจริ งจังตาม
วัตถุประสงค์ของผู้ให้ ขา่ วหรื อเจ้ าของข่าว
2) ข่าวฝึ ก ได้ แก่ ข่าวที่เตรี ยมขึ ้นเพื่อใช้ ประกอบการฝึ ก ในการเขียนข่าวฝึ กต้ องมี
คําว่า “ฝึ ก” ปรากฏอยู่ตอนเริ่ มต้ น และตอนท้ ายของใจความหรื อข้ อความของข่าวเสมอ

3. หลักการเขียนข่าว
ผู้ที่รับราชการทหารอยูม่ กั จะต้ องเกี่ยวข้ องกับการสื่อสารเสมอ แม้ บางครัง้ เพียงแต่เป็ น
ผู้เขียนหรื อรับข่าว และบางครัง้ ก็อาจจะมีพนั ธะกับการสื่อสารในฐานะของผู้ให้ ข่าว หรื อเจ้ าของ
ข่าว ผู้ร่างข่าวหรื อผู้เขียนข่าว ผู้รับรองหรื อผู้อนุมตั ปิ ล่อยข่าวด้ วยก็ได้ แต่ถ้ายังเป็ นนายทหาร
สื่อสารแล้ ว ก็ย่อมมีโอกาสที่จะต้ องมีพนั ธะบางอย่างในฐานะที่เป็ นเจ้ าหน้ าที่สื่อสาร ฉะนันไม่ ้ วา่
จะต้ องอยูใ่ นตําแหน่งหน้ าที่ใดก็จําเป็ นต้ องรู้ และให้ ความสนใจในหลักของการเขียนข่าวเสมอ
ข่าวทางทหารนันมั ้ กจะล่อแหลมต่ออันตราย เช่น การแสดงความเห็นหรื อการใช้ คําที่
คลุมเคลือ อาจทําให้ การปฏิบตั ผิ ิดทาง อันจะเป็ นผลให้ เกิดความเสียหายอย่างร้ ายแรงในเวลา
ต่อมา และอาจมีการสูญเสียชีวิตจํานวนมากก็ได้
ข่าวทางทหารที่ดีนนตะต้ ั้ องมีความชัดเจน ความกระทัดรัด และความสมบูรณ์
ก. ความชัดเจนมีลกั ษณะดังนี ้
1) ข้ อความในข่าวนันสามารถตอบคํ
้ าถามได้ วา่ ใคร อะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อใด
ทําไม
2) มีการใช้ สํานวนง่ายและเป็ นสํานวนที่ค้ นุ หูกนั
3) การใช้ ถ้อยคําและวรรคตอนในข่าวนัน้ ไม่ทําให้ ผ้ เู กี่ยวข้ องตีความหมายเป็ นอย่าง
อื่น
4) ผู้ที่ได้ รับข่าวนัน้ สามารถเข้ าใจและปฏิบตั ิตามข่าวนันได้ ้ โดยไม่ต้องขอคําชี ้แจง
เพิ่มเติม
5) ต้ องมัน่ ใจว่า คําย่อต่างๆ ที่นํามาใช้ นนั ้ ผู้เกี่ยวข้ องสามารถเข้ าใจได้ โดยตลอด
หน้ าที่ 7 - 6

ข. ความกระทัดรัดมีลกั ษณะดังนี ้
1) ให้ ใช้ คําย่อที่ทางราชกากรได้ กําหนดไว้ และประกาศให้ ใช้ แล้ ว หรื อเป็ นคําย่อที่
ทราบกันอยู่โดยทัว่ ไป
2) ไม่ใช้ คําย่อที่ฟมเฟื ุ่ อย หรื อคําที่มีความหมายซํ ้าๆ กัน
3) ไม่ใช้ ถ้อยคําที่เป็ นสํานวนโวหาร
4) ถ้ าหากไม่จําเป็ นแล้ ว ไม่ควรเขียนข่าวให้ เกิน 1 หน้ า ของกระดาษเขียนข่าว
แบบนันๆ

ค. ความสมบูรณ์มีลกั ษณะดังนี ้
1) มีเรื่ องที่ต้องการบรรจุไว้ ครบถ้ วน

4. หมู่วนั เวลาของข่าว
หมูว่ นั เวลานี ้แสดงเวลาที่ทําการเตรี ยมข่าว หมู่วนั เวลาประกอบด้ วยเลข 6 ตําแหน่ง
ตามหลังด้ วยอักษรกําลังเขตเวลาเลข 2 ตําแหน่งแรกเป็ นวันที่ของเดือนนัน้ และเลขอีก 2 ตําแหน่ง
ต่อมาบอกชัว่ โมงและเลขสองตําแหน่งสุดท้ ายบอกนาที หมูว่ นั เวลาในข่าวอาจเป็ นข้ ออ้ างอิงข่าว
ฉบับนันได้้ การกําหนดเขตเวลาจะมีอยูใ่ นคําแนะนําการประสานงาน ข่าวที่มีผลบังคับเฉพาะ
ภายในท้ องถิ่นเดียวกัน ไม่ต้องใช้ อกั ษรกํากับเขตเวลา ส่วนข่าวที่มีผลบังคับในท้ องถิ่นต่างเขตเวลา
ก็ให้ ใช้ อกั ษรกํากับเขตเวลาประกอบด้ วยเช่น ถ้ าส่งข่าวฉบับหนึง่ ในเวลา 0830 ในวันที่ 8 ของเดือน
นัน้ ใช้ เวลาของเมืองกรี นิช ให้ เขียนหมูว่ นั เวลาดังนี ้ 080830Z

5. การกําหนดความเร่งด่วน
ข่าวทางทหาร ต้ องมีการกําหนดความเร่งด่วนด้ วยการประทับตรา หรื อเขียนให้ เด่นสะดุด
ตาเสมอ เนื ้อหาของข่าวและระยะเวลาที่เกี่ยวข้ องจะเป็ นข้ อพิจารณาในการกําหนดความเร่งด่วน
ให้ กบั ข่าว
ผู้ให้ ขา่ ว ผู้เขียนข่าว ตลอดจนผู้อนุมตั ขิ ่าวมีความรับผิดชอบในการกําหนดความเร่งด่วน
ให้ กบั ข่าวแต่ละฉบับ ข่าวฉบับเดียวที่ถึงผู้รับหลายๆ คน อาจกําหนดความเร่งด่วนต่างกันสําหรับ
ผู้รับแต่ละคนก็ได้
ความเร่งด่วนของข่าวทางราชการกําหนดไว้ 4 ประการด้ วยกัน คือ ด่วนที่สดุ (ดส.) ด่วน
มาก (ดม.) ด่วน (ด.) และ ปกติ (ป.) รายละเอียดกล่าวไว้ ใน รส.24-1
หน้ าที่ 7 - 7

6. การกําหนดชันความลั ้ บ
ข่าวทางทหารต้ องมีการกําหนดชันความลั ้ บ หรื อประเภทเอกสาร คําถามที่วา่ “ข่าวนี ้จะ
เป็ นประโยชน์ตอ่ ข้ าศึกเพียงใด” จะเป็ นข้ อพิจารณาในการกําหนดชันความลั ้ บให้ กบั ข่าวแต่ละ
ฉบับ
ผู้ให้ ขา่ ว ผู้เขียนข่าว ตลอดจนผู้อนุมตั ขิ า่ ว มีความรับผิดชอบในการกําหนดชันความลั
้ บ
ให้ กบั ข่าวแต่ละฉบับ
การกําหนดชันความลั ้ บให้ กบั ข่าว ย่อมมีผลต่อผู้เกี่ยวข้ องกับข่าวนันทุ
้ กคน คือทําให้
ผู้เกี่ยวข้ องกับข่าวนันทุ ้ กคนให้ ความสนใจ ในการพิทกั ษ์ รักษาความปลอดภัยในการสื่อสาร
ชันความลั
้ บที่กําหนดให้ กบั ข่าว ต้ องประทับตราหรื อเขียนให้ เด่นเป็ นที่สะดุดตากับ
ผู้เกี่ยวข้ อง ข่าวที่พิจารณาแล้ วไม่ควรกําหนดชันความลั
้ บก็ต้องประทับตรา หรื อเขียนให้ เด่นสะดุด
ตาด้ วยคําว่า “ไม่ลบั ”
การกําหนดชันความลั้ บนี ้ ทางราชการกําหนดไว้ 4 อย่างด้ วยกัน คือ ลับที่สดุ ลับมาก ลับ
ปกปิ ด รายละเอียดเกี่ยวกับเรื่ องนี ้กําหนดไว้ ใน ระเบียบว่าด้ วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ
พ.ศ.2517

7. กระดาษเขียนข่าวสนามแบบ สส.7 (ทบ.463 – 008)


จัดทําขึ ้นเพื่อใช้ กบั หน่วยในสนาม สําหรับปฏิบตั งิ านทางยุทธวิธี กระดาษเขียนข่าวนี ้จัดไว้
เป็ นชุดๆ ละ 3 แผ่น ประกอบด้ วยกระดาษเขม่าเพื่อทําสําเนาคูฉ่ บับ กระดาษเขียนข่าวแบบนี ้ มี
คําอธิบายวิธีเขียนอยูใ่ นปกด้ านในทังปกหน้
้ าและปกหลัง
หน้ าที่ 7 - 8

ทบ.463 – 008
แบบ สส.7
ช่องนี้สาํ หรับศูนย์ข่าว
รับข่าวเวลา ที่ของศูนย์ข่าว ส่งอย่างไร

ความเร่ วด่วน ประเภทเอกสาร

ข่าว (ส่งให้ศูนย์ข่าวพร้อมทั้งสําเนา)
ที่ วันที่
ถึง

ตําแหน่งผูใ้ ห้ข่าว เขียนเวลา


อนุมตั ิให้ส่งเป็ น
ข้อความธรรมดา ลายมือชื่อนายทหาร ชื่อผูเ้ ขียนข่าว

คําแนะนําวิธีใช้ กระดาษเขียนข่าว แบบ สส.7


( ทบ. 463 – 008)
1. การเขียนข่าวต้ องมีสําเนา 2 ชุด ต้ นฉบับและสําเนา 1 ชุด ส่งให้ ศนู ย์ข่าว สําเนาอีกหนึง่ ชุด
เหลือไว้ สําหรับเป็ นสําเนาของผู้เขียนข่าว
2. เขียนให้ ชดั เจน (เว้ นลายมือของผู้เขียนข่าว) เขียนชื่อต่างๆ ให้ ถกู ต้ องและหมูป่ ระมวลลับหรื อ
รหัสให้ เขียนตัวบรรจง
3. เขียนข่าวให้ สนั ้ ใช้ เครื่ องหมายวรรคตอนเฉพาะที่จําเป็ น เพื่อให้ เข้ าใจความหมายของข่าว
4. ใช้ คําย่อตามที่ทางราชการกําหนดเท่านัน้ ถ้ าผู้รับมิใช่ทหารไม่ควรใช้ คําย่อ
5. ลงลําดับความเร่งด่วน ให้ เขียนตัวบรรจงในช่องที่กําหนด
หน้ าที่ 7 - 9

6. “ช่องนี ้สําหรับศูนย์ขา่ ว” ผู้เขียนข่าวไม่ต้องเขียน ช่องนี ้สําหรับเจ้ าหน้ าที่ศนู ย์ข่าวใช้ โดยเฉพาะ


ถ้ าใช้ กระดาษเปล่า ก็ให้ เว้ นที่วา่ งสําหรับที่ไว้ ให้ เพียงพอ
7. “ที่” ลงลําดับที่ของข่าวที่กําหนดให้ ขา่ วนัน้ เมื่อผู้ให้ ขา่ วต้ องการ
8. “วันที่” ให้ ลงวันที่ เดือน ปี ตามลําดับ (เช่น 23 ก.พ.99)
9. “ถึง” ลงตําแหน่งผู้รับ เฉพาะเมื่อจําเป็ นเพื่อให้ สง่ ข่าวถึงผู้รับได้ โดยแน่นอน เขียนที่ตงที ั ้ ่แท้ จริ ง
ของผู้รับด้ วย อย่าใช้ หมายเลขโทรศัพท์แทนตําแหน่งผู้รับ (เช่น ผบ.ร.1)
10. “ประเภทเอกสาร” ลงประเภทเอกสารที่กําหนดให้ แก่ขา่ วนัน้ เมื่อไม่เป็ นข่าวลับให้ เขียนว่า “ไม่
ลับ”
11. ในยามสงครามหรื อในยามฉุกเฉิน ข่าวที่สง่ ทางวิทยุหรื อวิธีการสื่อสารใดก็ตาม ต้ องเข้ ารหัส
หรื อประมวลลับเสมอ เว้ นแต่ ผบ.หน่วยหรื อผู้แทนที่ได้ รับมอบอํานาจ อนุมตั ใิ ห้ สง่ เป็ น
ข้ อความธรรมดาได้ ให้ นายทหารผู้อนุมตั ลิ งลายมือชื่อไว้ ที่มมุ ล่างซ้ าย
12. “ความเร่งด่วน” ลงลําดับความเร่งด่วนที่กําหนดให้ ข่าวนัน้
13. “ตําแหน่งผู้ให้ ขา่ ว” ลงตําแหน่งผู้ให้ ขา่ ว (ผบ.ร.1 พัน.1)
14. “เขียนเวลา” ต้ องลงไว้ เสมอ ตามระบบการเขียนเวลา 24 นาฬิกา
15. “ชื่อผู้เขียนข่าว” ผู้เขียนข่าวหรื อผู้ได้ รับมอบอํานาจให้ เขียนข่าวเป็ นผู้ลงลายมือชื่อ
16. กระดาษเขม่า 1 ชุด (2 แผ่น) ใช้ ในการเขียนข่าว 5 ครัง้ แล้ วทําลายด้ วยการเผา ระวังอย่าทํา
กระดาษเขม่าหาย
หน้ าที่ 7 - 10

8. กระดาษเขียนข่าวแบบ สส.6 (ทบ.463 – 007)


กระดาษเขียนข่าวแบบนี ้ใช้ สําหรับข่าวต่างๆ ทางธุรการ ข่าวทางส่งกําลังบํารุง และข่าวที่
เขียนขาก บก.ของหน่วยทหารขนาดใหญ่ ชุดหนึง่ มี 4 แผ่น ประกอบด้ วยกระดาษเขม่าเพื่อทํา
สําเนาคุฉ่ บับ กระดาษเขียนข่าวแบบนี ้มีคําอธิบายวิธีเขียนอยูท่ ี่ปกด้ านในทังปกหน้
้ าและปกหลัง

ทบ.463 – 007
กระดาษเขียนข่าว ที่……………………………….
แบบ สส.6
สําหรับเจ้าหน้าที่ศูนย์การสื่ อสาร…………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
ความเร่ งด่วน-ผูร้ ับปฏิบตั ิ ความเร่ งด่วน-ผูร้ ับทราบ หมู่ วัน-เวลา คําแนะนํา
จาก หมู/่ คํา
ถึง ผูร้ ับปฏิบตั ิ………………………………………………………… ประเภทเอกสาร
ผูร้ ับทราบ…………………………………………………………..
…………………………………………………….. ……………… ที่ของผูใ้ ห้ข่าว
……………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...

อ้างถึงข่าว ชื่อผูเ้ ขียนข่าว หน่วย โทร.


หน้า ใน หน้า
จัดประเภทเอกสาร
จัด ไม่

สํา รับ วัน เวลา ระบบ ชื่อ ส่ง วัน เวลา ระบบ ชื่อ รับรองว่าเป็ น
หรับ เมื่อ ที่ เครื่ อง พนัก เสร็ จ ที่ เครื่ อง พนัก ข่าวราชการ
พนัก สือ่ สา งาน สือ่ สา งาน …………..
งาน ร ร นายทหาร
อนุมตั ิขา่ ว
หน้ าที่ 7 - 11

คําแนะนําวิธีใช้ กระดาษเขียนข่าวแบบ สส.6


(ทบ. 463 – 007)
1. การเขียนข่าวต้ องมีสําเนา 3 ชุด ต้ นฉบับและสําเนา 2 ชุด ส่งให้ ศนู ย์ขา่ ว สําเนาอีกหนึ่งชุด
เหลือไว้ สําหรับเป็ นสําเนาของผู้เขียนข่าว
2. เขียนให้ ชดั เจน (เว้ นลายมือชื่อผู้เขียนข่าวและนายทหารอนุมตั ขิ า่ ว) เขียนชื่อต่างๆ ให้ ถกู ต้ อง
และหมูป่ ระมวลลับหรื อรหัสให้ เขียนตัวบรรจง
3. เขียนข่าวให้ สนั ้ ใช้ เครื่ องหมายวรรคตอนเฉพาะที่จําเป็ น เพื่อให้ เข้ าใจความหมายของข่าว
4. ใช้ คําย่อตามที่ทางราชการกําหนดเท่านัน้ ถ้ าผู้รับมิใช่ทหารไม่ควรใช้ คําย่อ
5. ลงลําดับความเร่งด่วน ให้ เขียนตัวบรรจงหรื อตัวพิมพ์ในช่องที่กําหนด
6. “สําหรับเจ้ าหน้ าที่ศนู ย์การสื่อสาร” ผู้เขียนข่าวไม่ต้องเขียน ช่องนี ้สําหรับเจ้ าหน้ าที่ศนู ย์การ
สื่อสารใช้ โดยเฉพาะ ถ้ าใช้ กระดาษเปล่า ก็ให้ เว้ นที่วา่ งสําหรับที่ไว้ ให้ เพียงพอ
7. “คําแนะนํา” เขียนคําแนะนําพิเศษสําหรับเจ้ าหน้ าที่ศนู ย์การสื่อสาร (เช่นข่าวจ่าหน้ ารวม)
8. “จาก” ลงตําแหน่งของผู้ให้ ข่าว
9. “ถึง ผู้รับปฏิบตั แิ ละผู้รับทราบ” ผู้รับอาจกําหนดให้ เป็ นผู้รับปฏิบตั หิ รื อผู้รับทราบก็ได้ เฉพาะ
เมื่อจําเป็ นเพื่อให้ สง่ ข่าวถึงผู้รับได้ โดยแน่นอน ให้ เขียนที่ตงหน่
ั ้ วยที่แท้ จริ งของผู้รับด้ วย อย่าใช้
หมายเลขโทรศัพท์แทนตําแหน่งผู้รับ
ก. “ถึงผู้ปฏิบตั ”ิ เมื่อกําหนดให้ เป็ นผู้รับปฏิบตั ิ ให้ ลงตําแหน่งของผู้รับปฏิบตั ไิ ว้ ในช่องนี ้
ข. “ถึงผู้ทราบ” เมื่อกําหนดให้ เป็ นผู้รับทราบ ให้ ลงตําแหน่งของผู้รับทราบไว้ ในช่องนี ้
10. “ประเภทเอกสาร”
ก. ลงประเภทเอกสารที่กําหนดให้ แก่ขา่ ว เมื่อไม่เป็ นข่าวลับให้ เขียนว่า “ไม่ลบั ”
ข. ถ้ ามีขา่ วลับแต่จําเป็ นต้ องส่งโดยไม่เข้ ารหัสหรื อประมวลลับให้ เขียนว่า “ข้ อความ
ธรรมดา” ในช่องนี ้
11. “ความเร่งด่วน” ลงลําดับความเร่งด่วนที่กําหนดให้ สง่ ข่าวนัน้
ก. “ความเร่งด่วน – ผู้รับปฏิบตั ”ิ ลงความเร่งด่วนที่กําหนดให้ แก่ผ้ รู ับปฏิบตั ิ
ค. “ความเร่งด่วน – ผู้รับทราบ” ลงความเร่งด่วนที่กําหนดให้ แก่ผ้ รู ับปฏิบตั ิ
12. “ที่ของผู้ให้ ขา่ ว” ลงลําดับที่ของข่าวที่กําหนดให้ ขา่ วนัน้ เมื่อผู้ให้ ขา่ วต้ องการ
13. “หน้ า…..ใน……หน้ า” ลงจํานวนหน้ าของข่าวนัน้ (เช่น หน้ า 1 ใน 1 หน้ า)
14. “อ้ างถึงข่าว” ถ้ าข่าวนันอ้ ้ างถึงข่าวอื่น ให้ ลงลําดับที่ของข่าวที่อ้างถึงในช่องนี ้
15. “จัดประเภทเอกสาร – จัดหรื อไม่” ให้ ลงเครื่ องหมายกากะบาท (X) ในช่อง “จัด”
เมื่อข่าวที่อ้างถึงเป็ นข่าวลับหรื อในช่อง “ไม่” เมื่อข่าวที่อ้างถึงไม่จดั เป็ นข่าวลับ
16. “ชื่อผู้เขียนข่าว” ผู้เขียนข่าวหรื อผู้ได้ รับมอบอํานาจให้ เขียนข่าวเป็ นผู้ลงลายมือชื่อ
หน้ าที่ 7 - 12

17. “หน่วย” ลงชื่อหน่วยของผู้เขียนข่าว


18. “โทร” ลงหมายเลขโทรศัพท์ของผู้เขียนข่าว
19. “หมู่ วัน-เวลา” เขียนหมูเ่ ลข 6 ตัว เลขคูแ่ รกแสดงวันที่ เลขคูท่ ี่สองแสดงชัว่ โมง และเลขคูท่ ี่
สามแสดงนาที
20. “รับรองว่าเป็ นข่าวราชการ” นายทหารอนุมตั ขิ า่ วเป็ นผู้ลงลายมือชื่อ
21. “สําหรับพนักงาน” ผู้เขียนข่าวไม่ต้องเขียน ช่องนี ้สําหรับพนักงานโดยเฉพาะ
22. กระดาษเขม่า 2 ชุด (3 แผ่น) ใช้ ในการเขียนข่าว 5 ครัง้ แล้ วทําลายด้ วยการเผา ระวังอย่าให้
กระดาษเขม่าหาย

9. การเขียนข่าวบนกระดาษอื่นๆ
ในกรณีที่ขาดแคลนกระดาษเขียนข่าว ก็อาจใช้ กระดาษอื่นสําหรับเขียนข่าวก็ได้ เพียงแต่
ให้ เป็ นกระดาษที่พอจะเขียนให้ อา่ นได้ บางครัง้ ปรากฏว่าขณะอยูใ่ นแนวรบอาจใช้ แม้ แต่กระดาษ
ซองบุหรี่
เมื่อจําเป็ นต้ องเขียนข่าวกระดาษอื่นที่ไม่มีแบบเอกสาร ดังที่เคยปฏิบตั ิอยูก่ ็ควรมีการเขียน
ตามเค้ าโครงของแบบกระดาษเขียนข่าวเท่าที่จําเป็ น เช่น
1. ประเภทเอกสาร
2. ความเร่งด่วน
3. หมูว่ นั เวลาที่เขียนข่าว
4. ที่ของข่าว
5. ผู้รับ
6. ผู้ให้ ขา่ วหรื อเจ้ าของข่าว
7. ข้ อความของข่าว
8. ชื่อผู้ร่างหรื อผู้เขียนข่าว
9. ชื่อผู้รับรองหรื ออนุมตั ขิ า่ ว

You might also like