You are on page 1of 3

1

DC: VC-016

การอ้างอิงเอกสาร
ผูเ้ ขียน: วิจิตร ณัฏฐการณิ ก ค.บ., ศษ.ม. ครู ช ำนาญการพิเศษ โรงเรี ยนหอวัง

เมื่อสิ้ นสุ ดการศึกษาค้นคว้า ผูศ้ ึกษาค้นคว้าต้องนำเสนอผลงานในรู ปแบบของรายงานทางวิชาการ


จำนวน 1 เล่ม ที่เรี ยกว่า “รายงานการค้นคว้าอิสระ” ซึ่ งภายในเล่มมักจะมีการรวบรวมประเด็น คัดลอกหรื อ
ตัดต่อข้อความนำมาเรี ยบเรี ยง สรุ ปเรื่ องราวจากเอกสารที่เกี่ยวข้องต่างๆ มาไว้ในรายงาน พร้อมทั้งต้อง
แสดงแหล่งที่มาของข้อมูลที่เรี ยกว่า “การอ้างอิง (Citation)” แทรกไว้ในเนื้ อหา เรี ยก “การอ้างอิงแทรกใน
เนื้อหา” พร้อมทั้งจัดทำบัญชีรายชื่อเอกสารที่น ำมาใช้อา้ งอิง (References) ไว้ทา้ ยเล่ม เรี ยก “บรรณานุกรม
(Bibliography)”

ทำไมต้ องอ้ างอิง


การอ้างอิงเอกสาร
1. มารยาททางวิชาการที่ไม่ควรละเลย
2. ยกย่องให้เกียรติแก่ผเู้ ขียนอันเป็ นเจ้าของลิขสิ ทธิ์ เดิม
3. หลีกเลี่ยงการกระทำที่เรี ยกว่า “ละเมิดลิขสิ ทธิ์”
4. หลีกเลี่ยงความผิดในข้อหา “โจรกรรมวรรณกรรม”1
4. ช่วยให้ผอู้ ่านทราบถึงแหล่งข้อมูลหรื อเอกสารที่ถูกอ้างถึงในขณะอ่านงานเขียน
5. ช่วยให้การหาเอกสารนั้นได้พบจากรายการอ้างอิงที่รวบรวมไว้ในตอนท้ายของงานเขียน

การอ้ างอิงเอกสารในเนือ้ หา
เมื่อนำข้อความหรื อความคิดเห็นของผูอ้ ื่นมาใช้ในงานเขียน ผูเ้ ขียนต้องอ้างอิงข้อความนั้นเสมอ ซึ่ ง
วิธีการอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อความดังกล่าวมีอยู่ 2 แบบ คือ
1. เชิงอรรถ (Foot note) เป็ นรู ปแบบการอ้างอิงเอสารที่น ำข้อความมากล่าวอ้างไว้ตอนท้ายของ
หน้า นิยมใช้กบั งานเขียนที่ท ำการพิมพ์เป็ นเล่มจากโรงพิมพ์หรื อสำนักพิมพ์ (ไม่ นิยมใช้ กับการเขียนรายงาน
ทางวิชาการ) เช่น

เชิ งอรรถอ้ างอิง: วิจิตร ณัฏฐการณิ ก. การอ้ างอิงเชิงวิชาการ. 2552. 20-21.


เชิ งอรรถโยง: 2 ด.
3
ล.ด. หน้า 25.
ในเชิงอรรถอ้างอิงจะมีรายการข้อมูลต่างๆ คือ ผูแ้ ต่ง. ชื่อเรื่อง. ปี ที่พิมพ์. เลขหน้า.
เชิงอรรถโยง 2 ด. เขียนได้กต็ ่อเมื่อ อ้างอิงเอกสารเดิม หน้าเดิม (เคยอ้างอิงไว้ถดั ขึ้นไปข้างบน) แต่
หากมิใช่หน้าเดิมให้ใช้ ล.ด. ตามด้วยเลขหน้า เช่น 3 ล.ด. หน้า 25. ดังข้างต้น

1
โจรกรรมวรรณกรรม หมายถึง หรื อ การขโมยความคิด (Plagiarism) หมายถึง การลอกงานเขียน ความคิดหรื องานสร้างสรรค์ด้ ังเดิม
ทั้งหมดหรื อบางส่ วนที่เหมือนหรื อเกือบเหมือนงานดั้งเดิมของผูอ้ ื่นมาแอบอ้างเป็ นงานดั้งเดิมของตนเองในวงวิชาการโจรกรรมทางวรรณกรรมโดย
นิสิตนักศึกษา อาจารย์ หรื อนักวิจยั ถือเป็ น “ความไม่สุจริ ตทางวิชาการ” (Academic dishonesty) หรื อ “การฉ้อฉลทางวิชาการ” (Academic fraud) ผู้
กระทำผิดจะต้องถูกตำหนิทางวิชาการ (Academic censure) โจรกรรมทางวรรณกรรมในงานสื่ อสารมวลชนถือเป็ นละเมิดจรรยาบรรณทาง
วารสารศาสตร์ (Journalistic ethics) นักข่าวที่ถูกจับได้โดยทัว่ ไปจะถูกลงโทษทางวินยั ตั้งแต่พกั งานถึงการถูกให้ออกจากงาน
2

2. การอ้างอิงแทรกในเนือ้ หา (In-text citations) เป็ นรู ปแบบการเขียนรายการอ้างอิงแทรกปนลง


ไปในเนื้อหา นิยมใช้กบั การเขียนรายงานทางวิชาการ พบเห็นนิยมเขียนข้อมูลการอ้างอิงเป็ นระบบ “นาม-ปี
(Name-Year System)” ซึ่ งเป็ นวิธีที่ง่ายต่อการทำความเข้าใจ ทั้งยังสะดวกในการติดตามเอกสารจากรายการ
อ้างอิงอย่างมีหลักการ มีรายละเอียดการลงรายการดังตัวอย่าง เช่น
อ้ างอิงแทรกในเนือ้ : วิจิตร ณัฏฐการณิ ก (2549: 20-21) ได้กล่าวว่า ............................................ข้อความที่คดั ลอกมา
ข้อความที่คดั ลอกมา
(อ้ างปฐมภูมิ) ตอนต้ น .............................................................................................................
ตอนท้ าย .....................................................................................................................
............................................................ (วิจิตร ณัฏฐการณิ ก, 2549: 20-21)

อ้ างอิงแทรกในเนือ้ : วิจิตร ณัฏฐการณิ ก (อ้างถึงใน สมชาย บุญถนอม, 2553: 11) ได้คน้ พบว่า
(อ้ างทุติยภูมิ) ตอนต้ น ข้..............................................................................................................
อความที่คดั ลอกมา
ตอนท้ าย .....................................................................................................................
ข้อความที่คดั ลอกมา
........................ (วิจิตร ณัฏฐการณิ ก อ้างถึงใน สมชาย บุญถนอม, 2552: 11)

การอ้างอิงแทรกในเนื้ อหา (In-text citations) ตามรู ปแบบในข้อ 2 นี้ เป็ นรู ปแบบที่ใช้ในการเขียน
รายงานทางวิชาการอันเป็ นผลงานจากการค้นคว้าอิสระ (ดูเพิ่มเติมวิธีการเขียน “การอ้างอิงแทรกในเนื้ อหา”
อย่างละเอียดได้ที่ library.horwang.ac.th/)
ข้ อมูลที่ใช้ เขียนอ้างอิงแทรกในเนือ้ หา:
ประกอบด้วยข้อมูล 3 รายการ คือ
ผูแ้ ต่ง (ปี ที่พิมพ์: เลขหน้า) = อ้างอิงตอนต้น
อ้างปฐมภูมิ (จากแหล่งที่ 1)
(ผูแ้ ต่ง, ปี ที่พิมพ์: เลขหน้า) = อ้างอิงตอนท้าย
ผูแ้ ต่ง (อ้างถึงใน ผูค้ ดั ลอก, ปี ที่พิมพ์: เลขหน้า) = อ้างอิงตอนต้น
อ้างทุติยภูมิ (จากแหล่งที่ 2)
(ผูแ้ ต่ง อ้างถึงใน ผูค้ ดั ลอก, ปี ที่พิมพ์: เลขหน้า) = อ้างอิงตอนท้าย

การอ้ างอิงท้ ายเล่ ม


3

เอกสารใดที่เคยมีการกล่าวถึง หรื อมีการอ้างอิงแทรกไว้ในส่ วนที่เป็ นเนื้ อหาแล้ว เอกสารชิ้นนั้นจะ


ถูกนำมาเขียนเป็ นบัญชีรายการเอกสารที่ใช้อา้ งอิงไว้ในส่ วนท้าย เรี ยก “บรรณานุกรม (Bibliographies)”
ดังตัวอย่างเช่น
บรรณานุกรม: MLA วิจิตร ณัฏฐการณิ ก. การอ้ างอิงเชิงวิชาการ. พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุ ง.
(ศิลป์ ) กรุ งเทพมหานคร: วัฒนาพานิช, 2555.
บรรณานุกรม: APA วิจิตร ณัฏฐการณิ ก. (2555). การอ้ างอิงเชิงวิชาการ. พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุ ง.
(วิทย์ ) กรุ งเทพมหานคร: วัฒนาพานิช.
ข้ อมูลที่ใช้ เขียนบรรณานุกรม:
ประกอบด้วยข้อมูล 6 รายการ คือ
ผูแ้ ต่ง. (ปี ที่พิมพ์). ชื่อเรื่อง. ครั้งที่พิมพ์. สถานที่พิมพ์: สำนักพิมพ์. = แบบ APA
ผูแ้ ต่ง. ชื่อเรื่อง. ครั้งที่พิมพ์. สถานที่พิมพ์: สำนักพิมพ์, ปี ที่พิมพ์. = แบบ MLA

[โปรดดูรายละเอียดจาก “การค้นคว้าอิสระ (Independent Study)” ใน library.horwang.ac.th/ ประกอบ]

[ติดต่อผูเ้ ขียน: krunathv@gmail.com]

You might also like