You are on page 1of 57

หลักการเขียนหนังสือราชการ

น.อ.ชน กาฬภักดี
ผอ.กสม.สบ.ทอ.
โทร.๒-๑๕๖๙
หลักการเขียนหนังสื อราชการ

๑. ต้ องรู้ว่า ทาหนังสื อจากใคร ติดต่ อไปถึงใคร


หรื อหน่ วยใด เพื่อ
๑.๑ การกาหนดรูปแบบ และชนิดของหนังสื อ
๑.๒ กาหนดส่ วนราชการเจ้ าของหนังสื อ
และส่ วนราชการเจ้ าของเรื่ อง
๑.๓ การใช้ คาเต็ม คาย่ อ

๑.๔ การใช้ คาขึน้ ต้ น คาลงท้ าย สรรพนาม


หลักการเขียนหนังสื อราชการ

๒. อ่านเรื่ องและข้ อมูลความเป็ นมาของเรื่ องนั้น


โดยละเอียด เพื่อ
๒.๑ กาหนดชื่ อเรื่ องได้ ตรงกับสาระสาคัญของเรื่ อง
๒.๒ เขียนได้ ถูกต้ องครบถ้ วนตามความประสงค์

๓. มีอะไรจะต้ องอ้างถึงหรื อไม่


๔. มีอะไรจะส่ งไปพร้ อมหนังสื อที่ร่างหรื อไม่
หลักการเขียนหนังสื อราชการ

๕. ใครจะเป็ นผู้ลงชื่ อในหนังสื อ


๖. ส่ วนราชการเจ้ าของเรื่ อง โทร. หรื อโทรสาร

๗. การร่ างหนังสื อแต่ ละชนิดจะต้ องเป็ นไป


ตามแบบทีก่ ฎหมายกาหนด เช่ น ข้ อบังคับ
ระเบียบ คาสั่ ง แถลงการณ์ ประกาศ
หนังสื อรับรอง รายงานการประชุ ม ฯลฯ
สิ่ งสาคัญในการเขียนหนังสื อราชการ

๑. รู ปแบบ (ความเป็ นมาตรฐานเดียวกัน)


๒. การสื่ อความหมาย (การร่ าง)
หลักการเขียนหนังสื อ 5W 1H
Who – What – When – Where - Why – How
ใคร – ทาอะไร – เมื่อไร – ที่ไหน – ทาไม – อย่ างไร
ประเภทของหนังสื อราชการ
๑. ยกร่ างขึน้ ใหม่
๒. บันทึกต่ อเนื่อง (จากเรื่ องเดิม)

โครงสร้างการเขียนหนังสือราชการ
ประกอบด้วย ๓ ส่วน
ส่วนที่ ๑ ส่วนของเหตุ (5W)
ส่วนที่ ๒ ส่วนของความประสงค์ (1H)
ส่วนที่ ๓ ส่วนสรุป
๑. ส่วนของเหตุ
จะกล่าวถึง นโยบาย หลักการเหตุผล ความจาเป็น ทฤษฎี ภารกิจ
แนวคิด สถิติ ปริมาณงาน รวมทั้งการเขียนอ้างในลักษณะต่าง ๆ ด้วย

โดยปกติจะเขียนไว้ในย่อหน้าแรก หรือข้อ ๑ และใช้คาเริ่มต้นดังนี้


ด้วย... (ใช้ในกรณีที่บอกกล่าวเล่าเหตุ โดยเกริ่นขึ้นมาลอย ๆ)
เนื่องจาก... (ใช้ในกรณีที่อ้างเป็นเหตุอันหนักแน่น ที่จาเป็นต้องมี
หนังสือไป เพื่อให้ผู้รับดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง)
ตาม...(ต่อด้วยนานาม)... นั้น
ตามที่...(ต่อด้วยประโยค)...นั้น
๒. ส่วนของความประสงค์

จะสื่อให้ทราบถึง สิ่งที่เราต้องการจะได้ หรือที่ต้องการจะให้


โดยระบุจานวน ปริมาณ คุณลักษณะเฉพาะ วัน เวลา และ
สถานที่ ให้ชัดเจน
๓. ส่วนสรุป
จะบอกให้รู้ว่า หน่วยหรือผู้รับหนังสือจะต้องดาเนินการ
ต่อไปอย่างไร (จะเขียนไว้ย่อหน้าสุดท้าย และไม่ใส่เลขข้อ)
เช่น
จึงเรียนมาเพือ่ ทราบ
จึงเรียนมาเพื่ออนุมัติ
จึงเรียนมาเพื่อสั่งการให้ นกข.ดาเนินการต่อไปด้วย
จึงเรียนมาเพื่อลงชื่อในหนังสือที่แนบให้ต่อไปด้วย
จึงเสนอมาเพือ่ ดาเนินการต่อไป
ตัวอย่างการเขียน ส่วนเหตุ ความประสงค์ และส่วนสรุป
เรื่อง ขออนุมัติใช้ปฏิทินการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ ๖๒
เรียน จก.สบ.ทอ.
(ส่วนเหตุ) ๑. ด้วย กสม.สบ.ทอ.ได้จัดทาปฏิทินการปฏิบัติราชการ
ประจาปีงบประมาณ ๖๒ เพื่อใช้เป็นแผนงานในการปฏิบัติงานของ
หน่วย รายละเอียดตามบัญชีที่แนบ
(ความประสงค์) ๒. กสม.สบ.ทอ.พิจารณาแล้ว เพื่อให้การปฏิบัติงาน
เป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงขออนุมัติใช้ปฏิทินการปฏิบัติราชการ
ตามข้อ ๑ และแจ้งให้ นขต.สบ.ทอ.ทราบ
(ส่วนสรุป) จึงเรียนมาเพื่ออนุมัติตามข้อ ๒ ให้ต่อไปด้วย

10
ตัวอย่างการเขียน ส่วนเหตุ ความประสงค์ และส่วนสรุป
เรื่อง ขอให้ตรวจร่างระเบียบ ทอ.ว่าด้วยบุคคลดีเด่น พ.ศ. ...
เสนอ สบ.ทอ.
(ส่วนเหตุ) ๑. ด้วย กพ.ทอ.ได้พิจารณาจัดทาร่างระเบียบ ทอ.
ว่าด้วยบุคคลดีเด่น พ.ศ. … โดยมีการปรับปรุงแก้ไขเกี่ยวกับ.......
(ความประสงค์) ๒. กพ.ทอ.พิจารณาแล้ว เพื่อให้การบังคับใช้ระเบียบ
ทอ.ดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและถูกต้อง จึงขอให้ สบ.ทอ.
ตรวจร่างระเบียบ ทอ.ตามข้อ ๑ ที่แนบมาพร้อมนี้ให้ต่อไปด้วย
(ส่วนสรุป) จึงเสนอมาเพื่อดาเนินการให้ต่อไป

11
การเขียนหนังสือ
ประเภท บันทึก
หนังสือราชการ มี ๖ ชนิด
๑. หนังสือภายนอก
๒. หนังสือภายใน
๓. หนังสือประทับตรา
๔. หนังสือสั่งการ (ข้อบังคับ ระเบียบ และคาสั่ง)
๕. หนังสือประชาสัมพันธ์ (แถลงการณ์ ประกาศ และข่าว)
๖. หนังสือที่ จนท.ทาขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ
(บันทึก หนังสือรับรอง รายงานการประชุม และหนังสืออื่น)
บันทึก
คือ ข้อความที่ผู้ใต้บังคับบัญชาเสนอต่อ ผบช.หรือ ผบช.สั่งการ
แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือข้อความที่ จนท.หรือหน่วยงานต่ากว่า
ส่วนราชการระดับกรมติดต่อกันในการปฏิบัติราชการ
องค์ประกอบของบันทึก
๑. ข้อความที่ผู้ใต้บังคับบัญชา นาเรียนต่อ ผบช.
(บันทึกย่อเรื่อง บันทึกความเห็น บันทึกรายงาน)
๒. ข้อความที่ ผบช.สั่งการแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา
(บันทึกสั่งการ)
๓. ข้อความที่ จนท.หรือหน่วยงานต่ากว่าส่วนราชการ
ระดับกรมติดต่อกันในการปฏิบัติราชการ
(บันทึกติดต่อ)
องค์ประกอบของบันทึก (ต่อ)
๔. ใช้ได้ทั้งกระดาษบันทึกข้อความ และกระดาษตราครุฑ
๕. หากใช้กระดาษบันทึกข้อความ รูปแบบการจัดทาเหมือน
หนังสือภายใน เว้นแต่ไม่มีวงเล็บชื่อ แต่ถ้าเป็นการติดต่อกัน
ระหว่างหน่วยขึ้นตรงของ นขต.กห.และเหล่าทัพ เช่น สบ.ทอ.
ติดต่อกับ สบ.ทบ.ก็ให้มีวงเล็บชื่อใต้ลายมือชื่อ
๖. หากใช้กระดาษตราครุฑ รูปแบบการจัดทาเหมือนหนังสือ
ภายนอก เว้นแต่ให้ใช้คาย่อตามระเบียบ ฯ ได้
ประเภทของบันทึก
๑. บันทึกย่อเรื่อง (การเขียนสรุป)
๒. บันทึกรายงาน
๓. บันทึกความเห็น
๔. บันทึกสั่งการ
๕. บันทึกติดต่อ

17
ลักษณะการเขียนบันทึก
บันทึกย่อเรื่อง (การเขียนสรุป)
๑. สรุปประเด็นสาคัญจากเรื่องเดิม ต้องสั้น ชัดเจน
ครบถ้วน และถูกต้อง
๒. เนื้อหาสาระของเรื่องเดิมต้องไม่เปลี่ยนแปลง
มีการเรียงลาดับขั้นตอน สมเหตุสมผล
๓. สอดคล้องกับแบบธรรมเนียมที่เกี่ยวข้อง
๔. ไม่ใช้วิธีตัดต่อ แต่เรียบเรียงใหม่
๕. ใช้ถ้อยคาสานวนของผู้เขียนเอง
18
ลักษณะการเขียนบันทึก
บันทึกรายงาน
๏ เขียนรายงานที่ปฏิบัติ หรือพบเห็น หรือเรื่องที่ได้รับ
นาเสนอต่อผู้บังคับบัญชา
๏ จะเป็นงานในหน้าที่ หรือเรื่องที่ได้รับมอบหมาย
หรือเรื่องที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม
๏ ให้ระบุคาสั่ง ผลการสอบสวน ผลการปฏิบัติ
หรือผลงาน
19
ลักษณะการเขียนบันทึก
บันทึกความเห็น
๏ ข้อความที่แสดงข้อคิดเห็นเสนอต่อ ผบช.
๏ อ้างหลักฐานแบบธรรมเนียมที่เกี่ยวข้อง
๏ อาจเป็นข้อหนึ่งของบันทึกย่อเรื่อง บันทึกรายงาน
ก็ได้

20
ลักษณะการเขียนบันทึก
บันทึกสั่งการ

- ข้อความที่ ผบช.สั่งการแก่ใต้บังคับบัญชา
หรือหน่วยในบังคับบัญชา
- ไม่ใช่รูปแบบของหนังสือสั่งการ (ประเภทคาสั่ง)

21
ลักษณะการเขียนบันทึก
บันทึกติดต่อ
- เป็นการเขียนข้อความติดต่อระหว่างส่วนราชการ
ตั้งแต่ระดับ นขต.ทอ.ลงมา
หรือระหว่างข้าราชการในหน่วยเดียวกัน

22
การเขียนหัวข้อต่าง ๆ ของบันทึก
แบบที่ใช้
“กระดาษบันทึกข้อความ”

23
หัวข้อของบันทึกที่ใช้กระดาษบันทึกข้อความ

ส่วนราชการ : การเขียนมีหลายลักษณะ เช่น

๑. ส่วนราชการ สบ.ทอ.(กสม.โทร.๒-๑๕๗๖)
๒. ส่วนราชการ บน.๗ (บก.โทร.๖-๕๒๐๓)
๓. ส่วนราชการ บน.๗ (นธน.โทร.๖-๕๒๑๓)
๔. ส่วนราชการ กบ.ทอ.(นงป.โทร.๒-๑๔๘๗)
๕. ส่วนราชการ คณก.สวัสดิการ ทอ.(เลขานุการ โทร.๒-๓๘๐๗)

24
หัวข้อของบันทึกที่ใช้กระดาษบันทึกข้อความ (ต่อ)

ส่วนราชการ : การเขียนมีหลายลักษณะ (ต่อ)

๖. ส่วนราชการ นธน.บน.๗ (โทร.๖-๕๒๑๓)


๗. ส่วนราชการ นงป.กบ.ทอ.(โทร.๒-๑๔๘๗)
๘. ส่วนราชการ ผธก.บก.บน.๒ (โทร.๕-๐๔๐๕)

25
หัวข้อของบันทึกที่ใช้กระดาษบันทึกข้อความ (ต่อ)

ที่ : การเขียนมีหลายลักษณะ เช่น


๑. ที่ กห ๐๖๐๓.๓/๑๒๓๔
๒. ที่ (ต่อ สบ.ทอ.เลขรับ ๒๓๔/๖๒)
๓. ที่ ๒๓๔/๖๒

26
หัวข้อของบันทึกที่ใช้กระดาษบันทึกข้อความ (ต่อ)

วันที่ : ให้ลงตัวเลขของวันที่ ชื่อย่อของเดือน


และเลขสองตัวหลังของปีพุทธศักราช
เช่น ๕ ม.ค.๖๒

27
หัวข้อของบันทึกที่ใช้กระดาษบันทึกข้อความ (ต่อ)

เรื่อง : ให้ลงเรื่องย่อที่เป็นใจความสั้นที่สุด
และตรงกับสาระสาคัญ หรือความประสงค์
ของหนังสือฉบับนั้น

28
หัวข้อของบันทึกที่ใช้กระดาษบันทึกข้อความ (ต่อ)

คาขึ้นต้น : การเขียนมีหลายลักษณะ เช่น :


๑. เรียน จก.สบ.ทอ.
๒. เรียน พล.อ.อ.ศักดิ์พินิต พร้อมเทพ
๓. เสนอ สบ.ทอ.
๔. ถึง สบ.ทอ. หรือ ถึง จก.สบ.ทอ.
หรือ ถึง พล.อ.อ.ศักดิ์พินิต พร้อมเทพ
๕. เรียน ประธานกรรมการสวัสดิการ ทอ.
29
หัวข้อของบันทึกที่ใช้กระดาษบันทึกข้อความ (ต่อ)

ข้อความ : ประกอบด้วย ๓ ส่วน คือ


ส่วนของเหตุ ส่วนความประสงค์ และส่วนสรุป
ในกรณีมีสิ่งที่อ้างถึง หรือสิ่งที่ส่งมาด้วย ให้เขียนไว้ในส่วน
ของข้อความนี้ โดย
อ้างถึง จะเขียนไว้ในย่อหน้าแรกหรือข้อ ๑
สิ่งที่ส่งมาด้วย จะเขียนไว้ในส่วนเหตุหรือ
ส่วนความประสงค์ก็ได้ตามความเหมาะสม

30
การเขียนอ้างถึงในลักษณะต่าง ๆ

๑. กรณีตอบหนังสือที่ได้รับ เช่น
ตามหนังสือ กพ.ทอ.ลับ ด่วนมาก ที่ กห ๐๖๐๔.๒/๑๒๓
ลง ๕ มี.ค.๖๒ ขอให้ สบ.ทอ.พิจารณา…..นั้น

๒. กรณีที่ ผบช.ยังไม่ได้มีการสั่งการในเรื่องที่ได้รับ เช่น


กพ.ทอ.มีหนังสือ ลับ ด่วนมาก ที่ กห ๐๖๐๔.๒/๑๒๓
ลง ๕ มี.ค.๖๒ (สบ.ทอ.เลขรับ ๓๔๕/๖๒) เสนอ สบ.ทอ.
ขอให้พจิ ารณา… …… รายละเอียดตามเรื่องที่แนบ
31
การเขียนอ้างถึงในลักษณะต่าง ๆ (ต่อ)

๓. กรณีอ้างสั่งการของ ผบช.ในหนังสือที่ในหัวข้อ“ที”่
ใช้รหัสพยัญชนะฯ(ที่ กห ๐๖.....) เช่น
ตามอนุมัติ ผบ.ทอ.(รอง ผบ.ทอ.รับคาสั่ง ฯ)
เมื่อ ๗ พ.ค.๖๒ ท้ายหนังสือ กพ.ทอ. ลับ ด่วนมาก
ที่ กห ๐๖๐๔.๒/๑๒๓ ลง ๒ พ.ค.๖๒ ให้ สบ.ทอ.
ดาเนินการ………..นั้น

32
การเขียนอ้างถึงในลักษณะต่าง ๆ (ต่อ)

๔. กรณีอ้างสั่งการของ ผบช.ในหนังสือที่ในหัวข้อ“ที”่
ใช้เลขที่ของหนังสือฉบับเดิม (ต่อ สบ.ทอ.เลขรับ
๒๔๓/๖๒) เช่น
ตามอนุมัติ ผบ.ทอ.(รอง ผบ.ทอ.รับคาสั่ง ฯ)
เมื่อ ๗ พ.ค.๖๒ ท้ายหนังสือ สบ.ทอ. ลับ ด่วนมาก
ลง ๒ พ.ค.๖๒ (ต่อ สบ.ทอ.เลขรับ ๒๔๓/๖๒)
ให้ สบ.ทอ.ดาเนินการ…….......…..นั้น
33
การเขียนอ้างถึงในลักษณะต่าง ๆ (ต่อ)

๕. กรณีอ้างสั่งการของ ผบช.ในหนังสือ “บันทึกสั่งการ”


เช่น
ตามสั่งการ ผอ.สวบ.ทอ. เมื่อ ๘ มี.ค.๖๒
ในหนังสือ สวบ.ทอ. ลับ ด่วนมาก ที่ กห ๐๖๔๑.๑/๑๓
ให้……......... นั้น

34
การเขียนอ้างถึงในลักษณะต่าง ๆ (ต่อ)

๖. กรณีอ้างมติที่ประชุม หรือการสั่งการในที่ประชุม
เช่น
๖.๑ ตามมติที่ประชุม คณก.มูลนิธิบุพการี ทอ.ครั้งที่ ๑/๖๒
เมื่อ ๒๓ ก.พ.๖๒ ข้อ ๓ ให้................นั้น
๖.๒ ตามสั่งการประธานในการประชุม คณก.โครงการ
ศึกษาของ สบ.ทอ.ครั้งที่ ๑/๖๒ เมื่อ ๒๓ มี.ค.๖๒ ข้อ ๕
ให้................นั้น
35
การเขียนอ้างถึงในลักษณะต่าง ๆ (ต่อ)
๗. กรณีสั่งการด้วยวาจา เช่น
ตามสั่งการ ผบ.บน.๕๖ ด้วยวาจา เมื่อ ๗ พ.ค.๖๒
ให้ ผสก.บน.๕๖ ตรวจสอบ และดาเนินการ………..นั้น
หรือ ตามสั่งการ เสธ.บน.๕๖ ด้วยวาจา เมื่อ ๗ พ.ค.๖๒
ให้ ผสก.บน.๕๖ ตรวจสอบ และดาเนินการ………..นั้น

หมายเหตุ กรณีเป็นการสั่งการด้วยวาจา เมื่อผู้รับคาสั่ง


ได้ดาเนินการตามสั่งการนั้นแล้ว การรายงานผล ให้นาเรียน
ผู้ที่สั่งการด้วยวาจาโดยตรง
36
การเขียนอ้างถึงในลักษณะต่าง ๆ (ต่อ)

๘. กรณีอ้างถึงวิทยุ(กระดาษเขียนข่าว) ที่ได้รับ เช่น


ตาม ว. ศปก.ทอ. ลับ ด่วนมาก ที่ ๓/๒ ลง ๙ ก.พ.๖๒
ขอให้ บน.๕๖ เตรียมดาเนินการ………..นั้น

37
การเขียนอ้างถึงในลักษณะต่าง ๆ (ต่อ)
๙. กรณีอ้างคาสั่ง ประกาศ และระเบียบ
๙.๑ คาสั่ง เช่น ตามคาสั่ง สบ.ทอ.(เฉพาะ) ที่ ๕/๖๒
ลง ๑๐ ก.พ.๖๒ เรื่อง แต่งตั้ง คณก.ควบคุมภายใน
ของ สบ.ทอ. ให้..............นั้น
๙.๒ ประกาศ เช่น ตามประกาศ ทอ. ลง ๓ พ.ค.๖๒
เรื่อง ชมเชยข้าราชการ ได้ประกาศว่า.............นั้น
๙.๓ ระเบียบ เช่น ตามระเบียบ ทอ.ว่าด้วยระบบสารบรรณ
อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.๒๕๕๖ ข้อ ๕ ให้..........นั้น
38
การเขียนอ้างถึงในลักษณะต่าง ๆ (ต่อ)

ข้อควรจา
- การเขียนอ้างคาสั่ง และประกาศ ต้องใส่ชื่อเรื่อง
ของคาสั่งและประกาศนั้นด้วย
- การเขียนอ้างหนังสือ หรืออนุมัติ หรือสั่งการของ
ผบช. ไม่ต้องใส่ชื่อเรื่องของหนังสือ

39
การเขียน สิ่งที่ส่งมาด้วย ในบันทึกที่ใช้กระดาษบันทึกข้อความ
สิ่งที่ส่งมาด้วย จะเขียนไว้ในส่วนเหตุ หรือส่วนความประสงค์
ก็ได้ตามความเหมาะสม ตัวอย่างเช่นในส่วนเหตุ
เรียน จก.สบ.ทอ.
๑. ด้วย กสม.สบ.ทอ.ได้จัดทาปฏิทินการปฏิบัติราชการ
ประจาปีงบประมาณ ๖๒ เพื่อใช้เป็นแผนงานในการปฏิบัติงานของ
หน่วย รายละเอียดตามแนบ
๒. กสม.สบ.ทอ.พิจารณาแล้ว เพื่อให้การปฏิบัติงาน
เป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงขออนุมัติใช้ปฏิทินการปฏิบัติราชการฯ
ตามข้อ ๑ และให้ นขต.สบ.ทอ.ทราบ
จึงเรียนมาเพื่ออนุมัติตามข้อ ๒ ให้ต่อไปด้วย
40
การเขียน สิ่งที่ส่งมาด้วย ในบันทึกที่ใช้กระดาษบันทึกข้อความ

สิ่งที่ส่งมาด้วย จะเขียนไว้ในส่วนเหตุ หรือส่วนความประสงค์


ก็ได้ตามความเหมาะสม ตัวอย่างเช่นในส่วนประสงค์
เสนอ สบ.ทอ.
๑. ด้วย กพ.ทอ.ได้พิจารณาจัดทาร่างระเบียบ ทอ.
ว่าด้วยบุคคลดีเด่น (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. …. โดยปรับปรุงแก้ไข.........
๒. กพ.ทอ.พิจารณาแล้ว เพื่อให้การบังคับใช้ระเบียบ ทอ.
ดังกล่าว เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและถูกต้อง จึงขอให้ สบ.ทอ.
ตรวจร่างระเบียบ ทอ.ฯ ที่แนบ ให้ต่อไปด้วย
จึงเสนอมาเพื่อดาเนินการให้ต่อไป
41
หัวข้อของบันทึกที่ใช้กระดาษบันทึกข้อความ (ต่อ)

ลงชื่อ และตาแหน่ง เช่น


พล.อ.ต.
จก.สบ.ทอ.
แต่ถ้าเป็นการทาบันทึกติดต่อ ออกไปนอก ทอ.ให้เขียน
ชื่อตัวและชื่อสกุล ไว้ในวงเล็บใต้ลายมือชื่อด้วย เช่น
พล.อ.ต.
(ไพฑูรย์ ไล้เลิศ)
จก.สบ.ทอ.
42
ข้อพิจารณาในการลงชื่อ และตาแหน่ง

ในกรณีต่อไปนี้
- รักษาราชการ
- รักษาราชการแทน
- ทาการแทน
- รับคาสั่ง .......

43
ข้อบังคับ กห.ว่าด้วยการสั่งการและประชาสัมพันธ์ พ.ศ.๒๕๒๗

การบริหารงาน และการสั่งการ จะต้องทาในนาม


ของ หน.ส่วนราชการ

รักษาราชการ หมายถึง ตาแหน่งว่าง และยังไม่ได้แต่งตั้งผู้ใด


ผบช.จะมอบหมายให้ผู้ใดผู้หนึ่ง รักษาราชการในตาแหน่งนั้น
ก็ได้
รักษาราชการแทน หมายถึง มีผู้ดารงตาแหน่ง แต่ไม่สามารถ
ปฏิบัติหน้าที่ได้เป็นครั้งคราว ผบช.จะมอบหมายให้ผู้ใดผู้หนึ่ง
รักษาราชการแทนในตาแหน่งนั้นก็ได้
44
ข้อบังคับ กห.ว่าด้วยการสั่งการและประชาสัมพันธ์ (ต่อ)
ทาการแทน
กรณี หน.ส่วนราชการ ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ผู้ดารงตาแหน่ง
รอง ผู้ช่วย หรือ เสธ.ของส่วนราชการนั้น ทาการแทนได้เป็นการชั่วคราว
(หรือที่มักเรียกกันว่า “ทาการแทน โดยอัตโนมัต)ิ
กรณีนี้การบันทึกทั้งที่มีการสั่งการ และไม่มีการสั่งการ
ให้บันทึกว่า ทาการแทน อย่างเดียว เช่น
น.อ.
รอง จก.สบ.ทอ.ทาการแทน
จก.สบ.ทอ.
พ.ค.๖๒
45
ข้อบังคับ กห.ว่าด้วยการสั่งการและประชาสัมพันธ์ (ต่อ)

กรณีมีการมอบอานาจเป็นลายลักษณ์อักษรให้
รอง ผู้ช่วย หรือ เสธ.ของส่วนราชการนั้น
ทาการแทนหรือสั่งการแทนในนามของ หน.ส่วนราชการ
เช่น จก.สบ.ทอ.มอบอานาจให้ รอง จก.สบ.ทอ.
สั่งการแทนและทาการแทนในเรื่องการบอกบุญเรี่ยไร

การบันทึกตาแหน่งจะมี ๒ ลักษณะ ดังนี้

46
ข้อบังคับ กห.ว่าด้วยการสั่งการและประชาสัมพันธ์ (ต่อ)

การบันทึก กรณีไม่มีการสั่งการ
เช่น ทราบแล้ว หรือ ลงชื่อให้แล้ว ให้ใช้ทาการแทน

น.อ.
รอง จก.สบ.ทอ.ทาการแทน
จก.สบ.ทอ.
พ.ค.๖๓

47
ข้อบังคับ กห.ว่าด้วยการสั่งการและประชาสัมพันธ์ (ต่อ)

การบันทึก กรณีมีการสั่งการหรือการอนุมัติ
ให้ใช้ “รับคาสั่ง ...” เช่น
- อนุมัติ
- นกข.ดาเนินการต่อไป
รับคาสั่ง จก.สบ.ทอ.
น.อ.
รอง จก.สบ.ทอ.
พ.ค.๖๓ 48
ข้อบังคับ กห.ว่าด้วยการสั่งการและประชาสัมพันธ์ (ต่อ)

กรณีมีการมอบอานาจให้ หน.ส่วนราชการ ทาการแทนหรือ


สั่งการในอานาจของ ผบช. แต่ปรากฎว่า หน.ส่วนราชการนั้น
ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้เป็นครั้งคราว ให้ รอง ผู้ช่วย หรือ
เสธ.ของส่วนราชการนั้น ทาการแทนหรือสั่งการแทนได้
เช่น ผบ.ทอ.มอบอานาจให้ จก.ขส.ทอ.สั่งการและทาการแทน
ในเรื่องการอนุญาตให้หน่วยงานนอก ทอ.ใช้รถยนต์โดยสาร
ปรับอากาศ หาก จก.ขส.ทอ.ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้เป็นครั้ง
คราว ก็ให้ รอง จก.ขส.ทอ.ทาการแทน จก.ขส.ทอ. และสั่งการ
ในอานาจของ ผบ.ทอ.ได้
49
ข้อบังคับ กห.ว่าด้วยการสั่งการและประชาสัมพันธ์ (ต่อ)

การบันทึก กรณีไม่มีการสั่งการ
เช่น
ทราบแล้ว
หรือ ลงชื่อให้แล้ว
น.อ.
รอง จก.ขส.ทอ.ทาการแทน
จก.ขส.ทอ.ทาการแทน
ผบ.ทอ.
พ.ค.๖๓ 50
ข้อบังคับ กห.ว่าด้วยการสั่งการและประชาสัมพันธ์ (ต่อ)
การบันทึก กรณีมีการสั่งการ
- อนุมัติ
- นกข.ดาเนินการต่อไป
รับคาสั่ง ผบ.ทอ.
น.อ.
รอง จก.ขส.ทอ.ทาการแทน
จก.ขส.ทอ.
พ.ค.๖๓
51
การลงชื่อและตาแหน่ง ของผู้ไปช่วยปฏิบัติราชการ
ผบ.ทอ.อนุมัติเมื่อ ๒๒ เม.ย.๑๑ ท้ายหนังสือ กพ.ทอ.ที่ กห ๐๓๗๖/๔๑๖๘
ลง ๒๒ เม.ย.๑๑
- ไม่มีอานาจในการลงชื่อสั่งการ หรือลงชื่อทาการแทน ตลอดจนการ
ลงชื่อใด ๆ ในหนังสือราชการของหน่วยที่ไปช่วยปฏิบัติราชการ
- หากมีความจาเป็นต้องลงชื่อ เช่น การรับทราบ และการลงชื่อใน
เรื่องสิทธิของตนเอง ให้ลงชื่อกับตาแหน่งที่ตนสังกัดในปัจจุบันเท่านั้น
ตัวอย่างเช่น น.อ.เก่งกาจ ชาตินักรบ ประจา กพ.ทอ.ไปช่วย
ปฏิบัติราชการที่ สบ.ทอ. ให้ลงชื่อดังนี้
น.อ.
ประจา กพ.ทอ.
(ทั้งนี้ เนื่องจากการช่วยปฏิบัติราชการ มิใช่เป็นตาแหน่งทางราชการ) 52
การเขียน “ผ่าน” กรณีต่าง ๆ
การเขียน (ผ่าน...) หลังคาขึ้นต้น ด้วยหมึก/พิมพ์
เรียน ผบ.ทอ.(ผ่าน จก.สบ.ทอ.)
หมายความว่า ตาแหน่งที่อยู่ในวงเล็บ ได้รับมอบอานาจ
ให้ ทาการแทนหรือสั่งการ ในนามของตาแหน่งที่อยู่หน้าวงเล็บ
กรณีนี้คือ จก.สบ.ทอ.ได้รับมอบอานาจจาก ผบ.ทอ. และ
จะต้องมีข้อตรวจสอบคาสั่งหรือหลักฐานการมอบอานาจในเรื่อง
นั้น ๆ ไว้เป็นหลักฐานด้วย

53
การเขียน “ผ่าน” ด้วยดินสอดาไว้ท้ายข้อความ
เรียน ผบ.ทอ.
ข้อความ
พล.อ.ท.
จก.กบ.ทอ.
ผ่าน - รอง เสธ.ทอ.(กบ.)
- เสธ.ทอ.
เรียน จก.กพ.ทอ.
ข้อความ
น.ท.
หน.ผธก.กพ.ทอ.
ผ่าน รอง จก.กพ.ทอ. 54
การเขียน “ผ่าน” ด้วยดินสอดาไว้ท้ายข้อความ (ต่อ)
หมายความว่า ตาแหน่งที่มีการเขียนผ่านด้วยดินสอดา
ไว้ท้ายข้อความ เป็นตาแหน่งที่จะต้องพิจารณาในเรื่องนั้น ๆ ก่อน
ที่จะนาเสนอถึงผู้มีอานาจสั่งการ หากไม่มีความเห็นเพิ่มเติม
ก็ให้ลงชื่อ ตาแหน่ง พร้อมวันเดือนปีที่พิจารณาไว้เป็นหลักฐาน
เช่น พล.อ.ท.
รอง เสธ.ทอ.
พ.ค.๖๓
หรือ พล.อ.ต.
รอง จก.กพ.ทอ.
พ.ค.๖๓
55
การเขียน “ผ่าน” ด้วยดินสอดาไว้ท้ายข้อความ (ต่อ)
เรียน ผบ.บน.๗
ข้อความ
น.ท.
ผบ.พัน.อย.บน.๗
ผ่าน ผกพ.

หมายความว่า ชื่อหน่วยที่เขียนไว้ท้ายข้อความในลักษณะนี้
เป็นหน่วยที่จะต้องพิจารณาในเรื่องนั้น ๆ โดยตรงก่อน และหลังจากพิจารณา
เรื่องนั้นแล้ว จึงจะเสนอเรื่องขึ้นมาตามลาดับชั้น
- เป็นการลดขั้นตอนการปฏิบัติ
- ให้นาส่งเรือ่ งนั้นให้แก่หน่วยที่เขียนผ่านไว้ท้ายข้อความได้โดยตรง
56
ซักถาม

You might also like