You are on page 1of 55

วิชา 000 156 พหุ

วัฒนธรรม
หน่วยที่ 3 Basic Concept (การ
สื่อสารระหว่างวัฒนธรรม)

จำนวนชั่วโมงเรียน 3 ชั่วโมง
(ผศ.ดร.วิยุทธ์ จำรัสพันธุ)์
Intercultural Communication
วัตถุประสงค์ การเรียนรู้ การสื่ อสารระหว่ างวัฒนธรรม
1. เพือ่ ให้ นักศึกษาสามารถอธิบายความหมายของการสื่ อสาร
การสื่ อสารระหว่ างและการสื่ อสารข้ ามวัฒนธรรม
2. เพือ่ ให้ นักศึกษาเข้ าใจและประยุกต์ ใช้ ความหมาย ทักษะ
จริยธรรม ของการสื่ อสารระหว่ างวัฒนธรรมใน
สถานการณ์ สื่อสารต่ างๆ ตลอดถึงปัญหาในการสื่ อสาร
ระหว่ างวัฒนธรรม
3. เพือ่ ให้ นักศึกษาสามารถกำหนดแนวทางการเตรียมตัว
และการปรับตัว ในสถานการณ์ ต่างๆ ทีต่ ้ องมีการสื่ อสาร
ระหว่ างวัฒนธรรม
กิจกรรมการเรียนรู้
1. การบรรยาย
2. การชม วีดที ศั น์ เรื่อง เขมรถิน่ ไทย
3. การสนทนากลุ่มตามประเด็นทีก่ ำหนด
4. การนำเสนอข้ อสรุ ปของกลุ่ม
สื่ อการเรียนรู้ และวิธีประเมินผล
สื่อการเรียนรู้
1. สื่อ Power point
2. ใบงาน
การประเมินผล
1. ประเมินผลจากการทำงานร่วมกัน
2. ประเมินผลกิจกรรมกลุ่ม
1. ความคิดพืน้ ฐานเกีย่ วกับการสื่ อสาร
1.1 ความหมายของการสื่ อสาร “การติดต่ อระหว่ างมนุษย์ อย่ าง
น้ อยสองฝ่ าย ซึ่งฝ่ ายหนึ่งเป็ นผ้ สู ่ ง(Sender) ข่ าวสาร (Message)
ผ่ านช่ องทางการสื่อสาร (Channels) (เช่ น สื่ อบุคคล โทรศัพท์
โทรทัศน์ เป็ นต้ น) ไปยังผ้ รู ั บสาร(Receiver) ซึ่งเมือ่ ตีความและ
เข้ าใจข่ าวสารทีส่ ่ งมาแล้ ว ก็จะตอบสนอง (Response) ต่ อ
ข่ าวสารนั้น ด้ วยการกระทำอย่ างใดอย่ างหนึ่งหรือหลายๆ อย่ าง
ปู่ ม่ าน ย่ าม่ านสื่ อสาร: ภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดภูมนิ ทร์ จังหวัดน่ าน
1.2 องค์ ประกอบของการสื่ อสาร
1. ผู้ส่งสาร (Sender)
2. ข่ าวสาร (Message)
3. ช่ องทางการสื่ อสาร (Channels)
4. ผู้รับสาร (Receivers)
5. การตอบสนอง (Responses)
องค์ ประกอบของการสื่ อสาร

Responses
1.3 ความสำคัญของการสื่ อสาร
การสื่ อสารมีความสำคัญต่ อมนุษย์ 4 ประการ คือ
1) ความสำคัญต่ อชีวติ ประจำวัน
2) ความสำคัญต่ อความเป็ นสั งคม
3) ความสำคัญต่ อการเมืองการปกครอง
4) ความสำคัญต่ อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
1.4 ประเภทและลักษณะของการสื่ อสาร
แบ่ งตามเกณฑ์ จำนวนผู้เข้ าร่ วมในการสื่ อสาร
1. การสื่ อสารภายในบุคคล เช่ น การพูดกับตัวเอง
2. การสื่ อสารระหว่ างบุคคล เช่ น การพูดคุยกับเพือ่ น
3. การสื่ อสารกลุ่มใหญ่ เช่ น การหาเสี ยง
4. การสื่ อสารมวลชน เช่ น การสื่ อสารผ่ านโทรทัศน์
การสื่ อสารภายในตัวบุคคล
การสื่ อสารระหว่ างบุคคล
การติดต่ อสื่ อสารกลุ่มใหญ่ : การหาเสี ยงเลือกตั้ง
การสื่ อสารมวลชนผ่ านหนังสื อพิมพ์ TV และ Internet
1.5 ปัญหาของการสื่ อสาร (เกิดได้ ในทุกองค์ ประกอบ)
1. ผู้ส่งสาร (Sender)
2. ข่ าวสาร (Message)
3. ช่ องทางการสื่ อสาร (Channels)
4. ผู้รับสาร (Receivers)
5. สภาพแวดล้ อม (Environment)
2. การสื่ อสารกับวัฒนธรรม (Communication and Culture)
- วัฒนธรรมการสื่ อสาร: แต่ ละวัฒนธรรมมีแบบแผนการ
สื่ อสารทีเ่ ป็ นแบบฉบับของตนเอง เช่ น แบบแผนการใช้
ภาษา (ทั้งภาษาพูดและภาษาท่ าทาง)
- การสื่ อสารทำให้ ได้ เรียนรู้ วฒ
ั นธรรมของสั งคม: เรื่องที่
คนนำมาสื่ อสารกัน มักเกีย่ วกับเรื่องวัฒนธรรม เช่ น การ
ทำมาหากิน ความคิดความเชื่อ ความสั มพันธ์ ทางสั งคม
วัฒนธรรมการทักทาย
วัฒนธรรมการสื่ อสารระหว่ างคนทีม่ สี ถานภาพต่ างกัน
แบบแผนการสื่ อสารระหว่ างคนต่ างสถานภาพ (รุ่นพีร่ ุ่นน้ อง)
ตัวอย่ างแบบแผนการสื่ อสารระหว่ างคนในวัฒนธรรมญีป่ ุ่ น
- สรุปได้ ว่า :
- วัฒนธรรมกับการสื่ อสารหลอมรวมเป็ นกระบวนการ
เดียวกัน
“ในวัฒนธรรมมีการสื่ อสาร ในการสื่ อสารมีวฒ ั นธรรม
(โดยการสื่ อสารเราได้ เรียนรู้ วฒ
ั นธรรม)”
3. การสื่ อสารระหว่ างวัฒนธรรม
3.1 นิยามความหมาย
3.1.1 การสื่อสารภายในวัฒนธรรม (Intra-cultural
Communication) หมายถึง กระบวนการสื่ อสารของคน
หรือกลุ่มคนทีมวี ฒ ั นธรรมเดียวกัน ทำให้ เกิดความ
เข้ าใจ ความซาบซึ้งและความประทับใจของกลุ่มคน
ทีท่ ำการสื่ อสารกัน
เพลงโคราช: สื่ อความบันเทิงทีอ่ ยู่จิตใจชาวโคราช
โนรา: สื่ อสะท้ อนจิตวิญญาณของชาวใต้
3.1.2 การสื่อสารระหว่ างวัฒนธรรม (Intercultural
Communication) หมายถึง กระบวนการสื่ อสารของคน
หรือกลุ่มคนทีมวี ฒ
ั นธรรมแตกต่ างกัน
3.1.3 การสื่อสารข้ ามวัฒนธรรม (Cross-cultural
Communication) หมายถึง กระบวนการสื่ อสารของคน
หรือกลุ่มคนทีมภี ูมหิ ลังทางวัฒนธรรมแตกต่ างกัน โดย
เน้ นศึกษาความสั มพันธ์ และการเรียนรู้ ระหว่ างกัน
สถานการณ์ การสื่ อสารระหว่ างวัฒนธรรม
(Intercultural Communication)
สถานการณ์การสื่ อสารข้ามวัฒนธรรม
(Cross- Cultural Communication)
ชมวีดที ศั น์ เรื่องเขมรถิน่ ไทย
ควรมีการสรุ ปเพือ่ การเรียนรู้ ร่วมกันเกีย่ วกับการสื่ อสาร
ระหว่ างและข้ ามวัฒนธรรมจากวีดที ศั น์
ความเข้ าใจเบือ้ งต้ นเกีย่ วกับการสื่ อสารระหว่ างวัฒนธรรม

1.คุณสมบัตพิ นื้ ฐานของผู้ทจี่ ะสื่ อสารระหว่ าง


วัฒนธรรม
1) การเคารพวัฒนธรรมอืน่ ๆ ทีแ่ ตกต่ าง
2) ความอดทนอดกลั้น ต่ อ ความแตกต่ างทาง
วัฒนธรรม
2. เป้าหมายหรือ ค่ านิยมหลักของการสื่ อสารระหว่ าง
วัฒนธรรม คือ การอยู่ร่วมกันอย่ างสั นติ หรือ
สั นติภาพ
(Peace is the key value underlining intercultural
communication.)
3. จากความหมาย “การสื่ อสารระหว่ างวัฒนธรรม : การ
สื่ อสารของคนทีม่ ีความแตกต่ างทางวัฒนธรรม”
- วัฒนธรรมทีแ่ ตกต่ างกันนี้ อาจจะเป็ นวัฒนธรรม
ของกลุ่มคนต่ างชนชั้น ต่ างศาสนาหรือ กลุ่มชาติพนั ธุ์
ทีอ่ ยู่ในประเทศเดียวกัน หรือ อาจเป็ นวัฒนธรรมทีต่ ่ าง
กัน ของแต่ ละประเทศก็ได้
3. 2 ทักษะการสื่ อสารระหว่ างวัฒนธรรม
1. ความเข้ มแข็งด้ านบุคลิกภาพ (Personality Strength)
ความมัน่ คงและการควบคุมอารมณ์ ทีด่ ี
2. ความสามารถในการปรับตัว (Psychological
Adjustment) ให้ เข้ ากับสถานการณ์ ใหม่ ๆได้ ทั้งใน
สถานการณ์ ทเี่ ป็ นทางการและไม่ เป็ นทางการ
3. ทักษะด้ านการสื่ อสาร (Communication Skills)
- ความชำนาญด้ านข่ าวสาร (Message Skills)
- ความยืดหยุ่นด้ านพฤติกรรม (Behavioral
Flexibility)
- การจัดการด้ านปฏิสัมพันธ์ (Interaction
Management)
- ทักษะทางสั งคม (Social Skills)
4. ความตระหนักด้ านวัฒนธรรม (Cultural Awareness)
- เข้ าใจแบบแผนการสื่ อสารตามวัฒนธรรมของผู้ทเี่ รา
สื่ อสารด้ วย เช่ น
- การใช้ ภาษาในการสื่ อสารในโอกาสต่ างๆ
- ความเหมาะสมของเนือ้ หาทีจ่ ะนำมาสื่ อสาร
- ช่ องทางการสื่ อสารทีเ่ หมาะสม
- ความหมายของสาร บนพืน้ ฐานของวัฒนธรรมนั้นๆ
3. 3 จริยธรรมการสื่ อสารระหว่ างวัฒนธรรม
1. มองหาความเหมือน มากกว่ าเน้ นย้ำความต่ าง
2. ส่ งเสริมให้ ผ้ ูมวี ฒ
ั นธรรมต่ างออกไป ได้ สื่อสารตามแบบแผนทาง
วัฒนธรรมของเขา ให้ มากทีส่ ุ ด
3. ตีความหมายและเข้ าใจ ความจริง (การกระทำ ปรากฏการณ์ )
ภายใต้ บริบทของวัฒนธรรมนั้นๆ
4. แสดงออกถึงความเคารพในวัฒนธรรมอืน่
3. 4 สื่ อหรือช่ องทางการสื่ อสารระหว่ างวัฒนธรรม
1. สื่ อบุคคล เช่ น นักเรียนแลกเปลีย่ น นักธุรกิจ นักการทูต
2. การเขียนจดหมาย (Letter Writing)
3. สื่ อสิ่ งพิมพ์ เช่ น หนังสื อ หนังสื อพิมพ์ นิตยสาร
4. สื่ อวิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ เพลง
5. สื่ ออีเลกทรอนิกส์
6. สื่ อการจัดแสดง (Exhibition)
3. 5 สถานการณ์ การสื่ อสารระหว่ างวัฒนธรรม
1. การท่ องเทีย่ ว
2. การทำงาน เช่ น แรงงานข้ ามชาติ ,Work and Travel
3. การแต่ งงาน/การตั้งถิน่ ฐานของครอบครัว
4. การศึกษา
5. การติดต่ อธุรกิจ
นักศึกษาแลกเปลีย่ น
ฝรั่งทำงาน/อยู่อาศัยต่ างแดน
นักท่ องเทีย่ ว
3. 6 กลุ่มคนทีอ่ าจสื่ อสารระหว่ างวัฒนธรรม
1. กลุ่มทีเ่ ดินทางไปต่ างประเทศชั่วคราว
2. กลุ่มทีเ่ ข้ าไปตั้งรกรากในต่ างประเทศ
3. กลุ่มทีต่ ้ องปรับตัวในประเทศของตนเอง เนื่องจากการเปลีย่ นแปลง
ทางวัฒนธรรม
4. กลุ่มทีต่ ้ องปรับตัวเนื่องจากการเปลีย่ นแปลงในสั งคม
5. กลุ่มทีม่ กี ารปรับเปลีย่ นสถานะทางสั งคม
4. ปัญหาการสื่ อสารระหว่ างวัฒนธรรม
1. ความตระหนกทางวัฒนธรรม (Culture Shock)
“ความรู้ สึกกังวลใจ สั บสน ไม่ มนั่ ใจว่ าจะกระทำอย่ างไร ใน
การสื่ อสารกับคนต่ างวัฒนธรรม”
- มักเกิดขึน้ ในช่ วงแรกๆ ทีบ่ ุคคลต้ องจาก วัฒนธรรมเดิมของ
ตนทีค่ ุ้นเคย เข้ าสู่ วฒ
ั นธรรมใหม่ ทแี่ ตกต่ างอย่ างฉับพลัน
Who are you? Why? How ?? What are you doing?
2. ปัญหาเชื้อชาตินิยมและความรังเกียจเดียดฉันท์ (Racism
and Prejudice)
3. ความสามารถด้ านภาษา (Language Proficiency) และ
ความคล่ องแคล่ วด้ านการใช้ ภาษา (Language Fluency)
- ทั้งภาษาสากล เช่ น ภาษาอังกฤษ จีน สเปน และภาษาที่
ต้ องใช้ ในการทำงาน หรือ ภาษาในท้ องถิน่ ทีต่ ้ องใช้ ชีวติ
5. แนวทางการเตรียมตัวและปรับตัวในการสื่ อสารระหว่ างวัฒนธรรม
1. ทำความเข้ าใจความแตกต่ างทางวัฒนธรรม
2. ทำความเข้ าใจในสิ่ งต่ างๆรอบตัว โดยเรียนรู้ ภาษา
3. พยายามเรียนรู้ และกล้ าติดต่ อสั มพันธ์ กบั คนท้ องถิน่
4. มองพฤติกรรมของคนท้ องถิน่ ด้ วยความเข้ าใจ
5. อดทนกับความรู้ สึกอึดอัดเกีย่ วกับวัฒนธรรมทีแ่ ตกต่ าง
6. พยายามเรียนรู้ และปรับเปลีย่ นพฤติกรรมของตนเอง
6. เคล็ดลับในการสื่ อสารระหว่ างวัฒนธรรม
1. พูดช้ าๆ (Slow down)
2. ถามทีละคำถาม (Separate Questions)
3. หลีกเลีย่ งคำถามเชิงปฏิเสธ (Avoid negative questions)
4. เป็ นทั้งผู้พูดและผู้ฟัง (Take Turn)
5. ถ้ าพูดแล้วอีกฝ่ ายไม่ เข้ าใจให้ เขียน (Write it down)
6. เคล็ดลับในการสื่ อสารระหว่ างวัฒนธรรม (ต่ อ)
6. สนับสนุนให้ กำลังใจซึ่งกันและกัน (Be supportive)
7. ตรวจสอบความหมาย (Check Meanings)
8. หลีกเลีย่ งคำแสลง (Avoid Slangs)
9. ระวังเรื่องอารมณ์ ขนั (Watch out for Humor)
10. มีมารยาทในการสื่ อสาร (Maintain Etiquette)
กิจกรรมการเรียนรู้
ใบงานที่ 3 (1.5 ชั่วโมง)
1. ให้นักศึกษาทำงานเป็ นกลุ่มเพื่อวางแผนเกี่ยว
กับการแสดงบทบาทสมมุติ (Role play) ที่
แสดงออกถึง Intercultural communication
ในรูปแบบต่างๆ เช่น การแสดงบทบาทเป็ น
มัคคุเทศก์ นักท่องเที่ยว ครูชาวต่างชาติ แอร์
โฮสเตส เป็ นต้น (5 คะแนน)
2. ให้นักศึกษาสรุปผลการเรียนรู้ จากการแสดง
บทบาทสมมุติ เกี่ยวกับองค์ความรู้ด้าน
Intercultural communication/Cross-
Thank you for your attention!

You might also like